รายชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร
รายชื่อโรงพยาบาลในกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานครมีโรงพยาบาลในสังกัดของกรุงเทพมหานครเอง 12 แห่ง(ไม่นับคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช) ศูนย์บริการแพทย์ฉุกเฉินกรุงเทพมหานคร 2 แห่ง ประกอบไปด้วยศูนย์เอราวัณ สังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร และศูนย์นเรนทร สังกัดโรงพยาบาลราชวิถี
โรงพยาบาลเอกชนมีทั้งหมด 112 แห่ง และ โรงพยาบาลของรัฐทั้งหมด 22 แห่ง โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานคร 12 แห่ง โรงพยาบาลสังกัดมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร 1 แห่ง โรงพยาบาลรัฐวิสาหกิจทั้งหมด 3 แห่ง โรงพยาบาลเฉพาะทางโรคไต 1 แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์ รวมโรงพยาบาลและสถานพยาบาลทั้งสิ้น 151 โรงพยาบาล 5 สถานพยาบาล
โรงพยาบาลเฉพาะทางทันตกรรม ได้แก่ โรงพยาบาลทันตกรรม กรุงเทพ อินเตอร์เนชั่นแนล โรงพยาบาลฟันทองหล่อ โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ในส่วนของคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชถือว่าเป็นสังกัดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ไม่ได้ขึ้นอยู่กับกรุงเทพมหานครโดยตรงแต่เป็นโรงพยาบาลในกำกับของกรุงเทพมหานคร
ในปี พ.ศ. 2559 โรงพยาบาลเดชา ถูกกระทรวงสาธารณสุขสั่งปิดกิจการ ต่อมาวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ได้มีประกาศกรุงเทพมหานครโดยเพิ่มโรงพยาบาลบางนากรุงเทพมหานคร เป็นหน่วยงานราชการ สังกัดสำนักการแพทย์ [1]และในวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 โรงพยาบาลวิมุต เปิดทำการ
โรงพยาบาลของเอกชนที่ไม่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]- โรงพยาบาลวิชัยยุทธ 1
- โรงพยาบาลวิชัยยุทธ 2
- โรงพยาบาลวิภาวดี 1
- โรงพยาบาลบีแคร์ เมดิคอลเซ็นเตอร์
- โรงพยาบาลกรุงเทพคริสเตียน
- โรงพยาบาลกรุงเทพ ซอยศูนย์วิจัย
- โรงพยาบาลหัวใจ
- โรงพยาบาลการุญเวช สุขาภิบาล 3
- โรงพยาบาล ซีจีเอช สายไหม
- โรงพยาบาลวัฒโนสถ
- โรงพยาบาลบางมด 3
- โรงพยาบาล บางปะกอก 1
- โรงพยาบาล บางปะกอก-รังสิต 2
- โรงพยาบาลบางโพ
- โรงพยาบาลบ้านแพ้ว (สาขาพร้อมมิตร)
- โรงพยาบาลบีเอ็นเอช
- โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์
- โรงพยาบาลซีจีเอช พหลโยธิน
- โรงพยาบาลเจ้าพระยา
- โรงพยาบาลคลองตัน
- โรงพยาบาลกรุงธน 1
- โรงพยาบาลนครธน
- โรงพยาบาลพญาไท พหลโยธิน
- โรงพยาบาลพญาไท 1
- โรงพยาบาลพญาไท 2
- โรงพยาบาลพญาไท 3
- โรงพยาบาลเพชรเกษม-บางแค
- โรงพยาบาลพระราม 9
- โรงพยาบาลรามคำแหง
- โรงพยาบาลจักษุรัตนิน
- โรงพยาบาลสมิติเวช
- โรงพยาบาลสมิติเวชศรีนครินทร์
- โรงพยาบาลเด็กสมิติเวช ศรีนครินทร์
- โรงพยาบาลสมิติเวชสุขุมวิท
- โรงพยาบาลสมิติเวชธนบุรี
- โรงพยาบาลศรีวิชัย 1
- โรงพยาบาลวิชัยเวช อินเตอร์เนชั่นแนล หนองแขม
- โรงพยาบาลเซนต์หลุยส์
- โรงพยาบาลสุขุมวิท
- โรงพยาบาลสินแพทย์
- โรงพยาบาลไทยนครินทร์
- โรงพยาบาลเทพธารินทร์
- โรงพยาบาลธนบุรี 1
- โรงพยาบาลเวชธานี
- โรงพยาบาล ตาหู จมูก
- โรงพยาบาลกรุณาพิทักษ์
- โรงพยาบาลบางกอกเนอสซิ่งโฮม
- โรงพยาบาลยศเส
- โรงพยาบาลเยาวรักษ์
- โรงพยาบาลศูนย์มะเร็งกรุงเทพฯ
- โรงพยาบาลมนารมย์
- โรงพยาบาลลาดกระบัง เมโมเรียล
- โรงพยาบาลภิรมย์เภสัช
- โรงพยาบาลปิยะเวท
- โรงพยาบาลเสรีรักษ์
- โรงพยาบาลเสนาเวชการ
- โรงพยาบาลอังคทะวาณิช
- โรงพยาบาลจงจินต์มูลนิธิ
- โรงพยาบาล ผิวหนัง อโศก
- โรงพยาบาลวิชัยเวช อินเตอร์เนชั่นแนล แยกไฟฉาย
- โรงพยาบาลกมล ศัลยกรรมตกแต่งและแปลงเพศ
- โรงพยาบาลจักษุ รัตนิน
- โรงพยาบาลสถาบันโรคไตภูมิราชนครินทร์
- โรงพยาบาลเบทเทอร์บีอิ้ง
- โรงพยาบาลกรุงเทพไชน่าทาวน์
- โรงพยาบาลเกษมราษฏร์รัตนาธิเบศร์
- โรงพยาบาลยันฮี
- โรงพยาบาลฮัมซะฮฺ
- โรงพยาบาลชีวา ทรานสิชั่นนัล แคร์
- โรงพยาบาลเอส สไปน์ แอนด์ เนิร์ฟ
- โรงพยาบาลผู้สูงอายุกล้วยน้ำไท 2
- โรงพยาบาลคามิลเลียน
- โรงพยาบาลบางปะกอก 9 อินเตอร์เนชั่นแนล
- โรงพยาบาลบางขุนเทียน 1
- โรงพยาบาลไทยจักษุ พระราม 3
- โรงพยาบาลธนบุรี บำรุงเมือง
- โรงพยาบาลบาโนบากิ
- โรงพยาบาลวิมุต
- โรงพยาบาลมาสเตอร์พีช
- โรงพยาบาลศัลยกรรมตกแต่งเฉพาะทาง ไอดีแอล
- Dr. Chen Surgery Hospital International Center
- โรงพยาบาลสหวิทยาการมะลิ
- โรงพยาบาลธนบุรีทวีวัฒนา
- โรงพยาบาลราชเวชอนุสาวรีย์ชัย
สถานพยาบาลของเอกชนที่ไม่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขและกรมสนับสนุนบริการสุขภาพให้ถือว่าโรงพยาบาลเหล่านี้เป็นสถานพยาบาล[2]
- โรงพยาบาลกว๋องสิวมูลนิธิ ชื่อทางการตามกระทรวงสาธารณสุข สถานพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรังกว๋องสิวมูลนิธิ[3]
- โรงพยาบาลโกลเด้นเยียส์ ชื่อทางการตามกระทรวงสาธารณสุข โกลเด้นเยียร์ สถานพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรัง
- โรงพยาบาลเดอะซีเนียร์ ชื่อทางการตามกระทรวงสาธารณสุข สถานพยาบาลเดอะซีเนียร์ สาขารัชดาภิเษก
- โรงพยาบาลเจตนิน ชื่อทางการตามกระทรวงสาธารณสุข สถานพยาบาลเจตนิน
โรงพยาบาลทันตกรรมที่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]ผู้ประกันตน กับสำนักงานประกันสังคม สามารถใช้บริการขัดฟัน ขูดหินปูน อุดฟัน และ ผ่าฟันคุดได้ ปีละ 900 บาท ที่ศูนย์ทันตกรรมหรือคลินิกทันตกรรม
- โรงพยาบาลฟันทองหล่อ ของ บริษัท โรงพยาบาลฟันทองหล่อ จำกัด
- โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- โรงพยาบาลทันตกรรม กรุงเทพ อินเตอร์เนชั่นแนล ของ บริษัท เดนทัล คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
- โรงพยาบาลคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- โรงพยาบาลทันตกรรม คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
โรงพยาบาลของเอกชนที่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]- โรงพยาบาลกล้วยน้ำไท
- โรงพยาบาลเกษมราษฏร์บางแค
- โรงพยาบาลเกษมราษฏร์ประชาชื่น
- โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ รามคำแหง
- โรงพยาบาลนวมินทร์
- โรงพยาบาลนวมินทร์ 9
- โรงพยาบาลบางนา 1
- โรงพยาบาลบางประกอก 8
- โรงพยาบาลบางไผ่
- โรงพยาบาลบางมด
- โรงพยาบาลบี.แคร์ เมดิคอลเซ็นเตอร์
- โรงพยาบาลเปาโล โชคชัย 4
- โรงพยาบาลเปาโล เกษตร
- โรงพยาบาลพีเอ็มจี
- โรงพยาบาลมิตรประชา
- โรงพยาบาลเพชรเวช
- โรงพยาบาลแพทย์ปัญญา
- โรงพยาบาลพญาไท นวมินทร์
- โรงพยาบาลมงกุฎวัฒนะ
- โรงพยาบาลมิชชั่น
- โรงพยาบาลราษฎร์บูรณะ
- โรงพยาบาลลาดพร้าว
- โรงพยาบาลวิภาราม
- โรงพยาบาลศิครินทร์
- โรงพยาบาลสุขสวัสดิ์
- โรงพยาบาลหัวเฉียว
- โรงพยาบาล ไอเอ็มเอช ธนบุรี
- โรงพยาบาล ไอเอ็มเอช สีลม
โรงพยาบาลของรัฐบาลที่ไม่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]- โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน (สังกัดคณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหาวิทยาลัยมหิดล)
- โรงพยาบาลนวุติสมเด็จย่า (สังกัดโรงพยาบาลตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ)
- โรงพยาบาลประสานมิตร (สังกัดกระทรวงสาธารณสุข)
- โรงพยาบาลทหารเรือกรุงเทพ (สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม)
- โรงพยาบาลมูลนิธิมิราเคิล ออฟไลฟ์ (สังกัดมูลนิธิมิราเคิล ออฟไลฟ์ ดำเนินการโดยเครือข่ายโรงพยาบาลราชวิถี)
- โรงพยาบาลราชทัณฑ์ (สังกัดกรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม)[4]
- โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ (สังกัดวิทยาลัยวิทยาศาสตร์การแพทย์เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์)
- โรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่ลูก
- โรงพยาบาลเด็ก (สังกัดสถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข)
- โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ (สังกัดคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล)
- โรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
- โรงพยาบาลแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน (สังกัดกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก)
โรงพยาบาลของรัฐวิสาหกิจที่ไม่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]- โรงพยาบาลการไฟฟ้านครหลวง
- ศูนย์การแพทย์ปัญญานันทภิกขุ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- โรงพยาบาลสวนเบญจกิติเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา เดิมชื่อ โรงพยาบาลยาสูบ[5]
โรงพยาบาลรัฐบาลสังกัดกรุงเทพมหานครที่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]โรงพยาบาลของรัฐที่สังกัดกรุงเทพมหานครผู้ประกันตนสามารถเข้ารักษาพยาบาลได้ในทุกโรงพยาบาลที่สังกัดกรุงเทพมหานคร รวมทั้งคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช รวมทั้งหมด 9 แห่ง โรงพยาบาลรัฐบาลสังกัดกรุงเทพมหานครเปิดโอกาสให้ผู้ที่เลือกได้ใช้บริการรักษาพยาบาลมากที่สุดในขณะนี้หากเทียบกับโรงพยาบาลของรัฐวิสาหกิจและโรงพยาบาลเอกชน เพราะผู้ประกันตนสามารถเข้ารักษาพยาบาลได้มากที่สุดถึง 12 โรงพยาบาลสังกัดกรุงเทพมหานครและสังกัดมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช และใน ปี พ.ศ. 2561 หากผู้ประกันตนเลือก โรงพยาบาลตากสิน จะสามารถรับการรักษาพยาบาลได้ทั้งหมด 12 โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร หากเลือก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช จะไม่สามารถเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอื่นในสังกัด กรุงเทพมหานครได้
- คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (สังกัดคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช)
- โรงพยาบาลกลาง (สังกัดกรุงเทพมหานคร)
- โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ (สังกัดกรุงเทพมหานคร)
- โรงพยาบาลตากสิน (สังกัดกรุงเทพมหานคร)
- โรงพยาบาลราชพิพัฒน์ (สังกัดกรุงเทพมหานคร)
- โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์ (สังกัดกรุงเทพมหานคร)
- โรงพยาบาลสิรินธร (สังกัดกรุงเทพมหานคร)
- โรงพยาบาลหลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินฺธโร อุทิศ (สังกัดกรุงเทพมหานคร)
- โรงพยาบาลนคราภิบาล (สังกัดกรุงเทพมหานคร)
- โรงพยาบาลผู้สูงอายุบางขุนเทียน (สังกัดกรุงเทพมหานคร)
โรงพยาบาลรัฐบาลสังกัดกรุงเทพมหานครที่ไม่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]โรงพยาบาลของรัฐบาลที่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]- โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย (สังกัดสภากาชาดไทย)
- โรงพยาบาลตำรวจ (สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ)
- โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี (สังกัดกระทรวงสาธารณสุข)
- โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า (สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม)
- โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช (สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม)
- โรงพยาบาลราชวิถี (สังกัดกระทรวงสาธารณสุข)
- โรงพยาบาลรามาธิบดี (สังกัดสังกัดคณะแพทยศาสตร์รามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล)
- โรงพยาบาลเลิดสิน (สังกัดกระทรวงสาธารณสุข)
- โรงพยาบาลศิริราช (สังกัดคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล)
- โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า (สังกัดกองบัญชาการกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม)
- โรงพยาบาลเทียนฟ้า มูลนิธิ (สังกัดกระทรวงสาธารณสุข)
สถานพยาบาลของรัฐบาลที่รับบัตรประกันสังคม
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/011/T_0031.PDF
- ↑ https://immigration.go.th/download/1521111545807.pdf
- ↑ สถานพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรังกว๋องสิวมูลนิธิ[ลิงก์เสีย]
- ↑ http://www.hosdoc.com/
- ↑ เปลี่ยนชื่อโรงพยาบาลยาสูบ[ลิงก์เสีย]
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/011/T_0031.PDF