รายชื่อยุทโธปกรณ์ในกองทัพบกไทย
ต่อไปนี้คือรายชื่ออาวุธยุทโธปกรณ์ในกองทัพบกไทย โดยอาวุธของกองทัพบกไทยจะเน้นอาวุธระบบนาโต้จากกลุ่มประเทศสมาชิก นอกจากนี้ยังมีอาวุธระบบคอมมิวนิสต์และนาโต้จากประเทศรัสเซียและประเทศจีนบางส่วน
อาวุธประจำกาย
[แก้]รูป | ชื่อรุ่น | ประเทศ | หมายเหตุ |
---|---|---|---|
ดาบปลายปืน | |||
M9 Bayonet | สหรัฐ | ดาบปลายปืนมาตรฐาน | |
M7 Bayonet | สหรัฐ | ดาบปลายปืนประกอบเครื่องแบบการเข้าเวรและสวนสนาม |
รูป | ชื่อรุ่น | แบบ | กระสุน | ประเทศ | หมายเหตุ | |
---|---|---|---|---|---|---|
ปืนพก | ||||||
M1911 | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | .45 เอซีพี | สหรัฐ ไทย |
ประเทศไทยได้ซื้อลิขสิทธ์ปืน M1911 จากบริษัท Colt ไปผลิตเองในประเทศภายใต้ชื่อ "ปืนพก แบบ 86" (ปพ.86) | ||
Heckler & Koch USP | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | .45 เอซีพี | เยอรมนี | ใช้ในหน่วยรบพิเศษ | ||
HS2000 | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | โครเอเชีย | ใช้ในหน่วยรบหลัก[1] | ||
CZ 75 | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | เชโกสโลวาเกีย | ใช้ในหน่วยรบพิเศษ | ||
Beretta 92 | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | อิตาลี | |||
Beretta M1951 | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | อิตาลี | ใช้ในหน่วยรบหลัก | ||
FN Five-seven | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | เอฟเอ็น 5.7×28 มม. | เบลเยียม | |||
Browning Hi-Power[2] | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | เบลเยียม | |||
SIG Sauer P226[3] | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | เยอรมนี | |||
Glock 17[4] | ปืนพกกึ่งอัตโนมัติ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | ออสเตรีย | |||
ปืนลูกซอง | ||||||
Remington Model 870 | ปืนลูกซอง | 12 เกจ | สหรัฐ | |||
Remington Model 1100 | ปืนลูกซอง | 12 เกจ | สหรัฐ | |||
Franchi SPAS-12 | ปืนลูกซอง | 12 เกจ | อิตาลี | |||
ปืนกลมือ | ||||||
Heckler & Koch MP5 | ปืนกลมือ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | เยอรมนี | ใช้ในหน่วยรบพิเศษ | ||
UZI | ปืนกลมือ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | อิสราเอล | ใช้ในสารวัตรทหารบก | ||
Heckler & Koch UMP | ปืนกลมือ | 9×19 มม. พาราเบลลัม | เยอรมนี | รุ่น UMP9 ใช้ในหน่วยรบพิเศษเป็นหลัก | ||
FN P90 | ปืนกลมือ | 5.7×28 มม. | เบลเยียม | ใช้ในหน่วยรบพิเศษ | ||
ปืนเล็กยาวจู่โจม | ||||||
IWI Tavor TAR-21 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56x45 มม. นาโต | อิสราเอล | ปืนเล็กยาวจู่โจมมาตรฐานของกองทัพบกไทย ซึ่งมาถูกแทนที่จาก M16A1 ที่ใช้ในสงครามเวียดนาม ในปัจจุบัน 73,000 กระบอกมีใช้ในหน่วยรบหลัก และบางครั้งจะเรียกว่า "ปืนเล็กยาว แบบ 50" (ปลย.50) [5][6] | ||
IWI X95 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56x45 มม. นาโต | อิสราเอล | |||
IWI ACE | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56x45 มม. นาโต | อิสราเอล | |||
M16A1M16A2M16A4 | M16A1/A2/A4 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | สหรัฐ | ปืนเล็กยาวมาตรฐานของกองทัพบก ในขณะนี้กำลังถูกทดแทนโดยปืนเล็กยาว Tavor Tar-21 และ M16A4 | |
Heckler & Koch HK33 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | เยอรมนี ไทย |
ในปัจจุบันกองทัพบกได้ปลดประจำการปืนนี้ในหน่วยรบหลักแล้วได้โอนไปให้นักศึกษาวิชาทหารได้ใช้งานและยังมีใช้หน่วยรบหลักในบางส่วน | ||
Type 11 assault rifle | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | ไทย | ไทยได้ทำการซื้อลิขสิทธ์ปืน Heckler & Koch HK33 ไปผลิตเองในประเทศภายใต้ชื่อว่า "ปืนเล็กยาว แบบ 11" (ปลย.11) และมีรุ่น Bullpup ได้ใช้งาน | ||
Steyr AUG | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | ออสเตรีย | ใช้ในหน่วยรบพิเศษ | ||
G36K
G36KG |
Heckler & Koch G36 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | เยอรมนี | ใช้ในหน่วยรบพิเศษ มีรุ่น G36K, G36KE และG36E | |
SAR 21 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | สิงคโปร์ | ใช้ในหน่วยรบพิเศษ | ||
Type 56/56-1 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 7.62×39 มม. | จีน | ใช้ในหน่วยทหารพราน[ต้องการอ้างอิง] | ||
M4A1 Carbine | ปืนเล็กสั้นจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | สหรัฐ | ใช้ในหน่วยรบพิเศษ, บางส่วนมีรุ่น SOPMOD ได้ใช้งาน | ||
CAR-15 | ปืนเล็กสั้นจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | สหรัฐ | |||
AK-104 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 7.62×39 มม. | รัสเซีย | ใช้ในหน่วยกองกำลังทหารพรานจังหวัดชายแดนภาคใต้ | ||
Galil Ace N23 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | อิสราเอล | ใช้ในหน่วยกองพลทหารราบที่ 9 เพื่อใช้ลาดตระเวนชายแดนไทย–พม่า | ||
FN SCAR-L | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | เบลเยียม | ใช้ในหน่วยกองพลทหารราบที่ 11 | ||
Colt M5 | ปืนเล็กยาวจู่โจม | 5.56×45 มม. นาโต | สหรัฐ | ใช้ในหน่วยรบพิเศษ | ||
ปืนเล็กยาวกึ่งอัตโนมัติ | ||||||
M1 Garand | ปืนเล็กยาวกึ่งอัตโนมัติ | .30-06 สปริงฟิลด์ | สหรัฐ | ใช้ในทหารรักษาพระองค์และนักศึกษาวิชาทหาร บางครั้งจะเรียกว่า "ปืนเล็กยาวบรรจุเอง แบบ 88" (ปลยบ.88) | ||
M1 CarbineM2 Carbine | M1/M2 Carbine | ปืนเล็กสั้นกึ่งอัตโนมัติ | .30 คาร์บิน | สหรัฐ | ใช้ในนักศึกษาวิชาทหาร บางครั้งจะเรียกว่า "ปืนเล็กสั้นบรรจุเอง แบบ 87" (ปสบ.87) | |
ปืนไรเฟิลซุ่มยิง และ ปืนไรเฟิลพลแม่นปืน | ||||||
SIG Sauer SSG 3000 | ปืนไรเฟิลซุ่มยิง | 7.62×51 มม. นาโต | สวิตเซอร์แลนด์ | |||
SR-25 | ปืนไรเฟิลพลแม่นปืน | 7.62×51 มม. นาโต | สหรัฐ | |||
M14 Rifle | ปืนไรเฟิลพลแม่นปืน | 7.62×51 มม. นาโต | สหรัฐ | |||
ปืนกล | ||||||
FN MINIMI | ปืนกลเบา | 5.56×45 มม. นาโต | เบลเยียม | |||
IMI Negev | ปืนเล็กกล | 5.56×45 มม. นาโต | อิสราเอล | กำลังส่งมอบจำนวน 2,000 กระบอก[7] | ||
Heckler & Koch HK21 | ปืนกลเบา | 5.56×45 มม. นาโต | เยอรมนี | |||
Heckler & Koch G36 | ปืนเล็กกล | 5.56×45 มม. นาโต | เยอรมนี | |||
Type 56 LMG | ปืนกลเบา | 7.62×39 มม. | จีน | ใช้ในหน่วยทหารพราน[ต้องการอ้างอิง] | ||
M1918 BAR | ปืนเล็กกล | 7.62×63 มม. | สหรัฐ | ใช้ในหน่วยทหารพรานบางส่วน | ||
FN MAG-58 | ปืนกล | 7.62×51 มม. นาโต | เบลเยียม | |||
M60 | ปืนกล | 7.62×51 มม. นาโต | สหรัฐ | |||
M2 Browning | ปืนกลหนัก | 12.7×99 มม. นาโต | สหรัฐ | ปืนกลมาตรฐานประจำหมู่ และถูกติดตั้งบนรถถังและเฮลิคอปเตอร์ บางครั้งจะเรียกว่า "ปืนกล แบบ 93" (ปก.93) | ||
M134 Minigun | ปืนกลหนัก | 7.62×51 มม. นาโต | สหรัฐ | ถูกติดตั้งบนเฮลิคอปเตอร์ | ||
Type 54 HMG | ปืนกลหนัก | 12.7×108 มม. | จีน | ติดตั้งบนรถถัง Type 69 และบางส่วนของรถถัง V-150 |
เครื่องยิงลูกระเบิด/จรวดต่อต้านรถถัง
[แก้]ยานพาหนะ
[แก้]รูปภาพ | ชื่อ | ประเภท | ประเทศต้นกำเนิด | จำนวน | รายละเอียด | |
---|---|---|---|---|---|---|
รถถัง | ||||||
T-84 Oplot-M | รถถังหลัก | ยูเครน | 49 | รับมอบแล้ว | ||
VT-4 | รถถังหลัก | จีน | 60 | รับมอบครบตามโครงการแล้ว | ||
M60A1/A3 Patton | รถถังหลัก | สหรัฐ | 178 | ปรับปรุง 38 คัน | ||
M48A5 Patton | รถถังหลัก | สหรัฐ | 105 | |||
M41A3 Walker Bulldog | รถถังเบา | สหรัฐ | 200 | ทยอยปลดประจำการทดแทนด้วย T-84 Oplot-Mและ VT-4 | ||
FV101 Scorpion | รถถังเบา | สหราชอาณาจักร | 154 | |||
Stingray light tank | รถถังเบา | สหรัฐ | 106 | ไทยเป็นผู้ใช้หนึ่งเดียวของโลก | ||
D-iron | UGV | ไทย เอสโตเนีย | ? | อยู่ในระหว่างการทดสอบโดยกองทัพบก |
รถหุ้มเกราะ | |||||
---|---|---|---|---|---|
M1126 Stryker | รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ | สหรัฐ | 130 | ||
VN-1 | รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ | จีน | 111 | ||
V-150 Commando | รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ | สหรัฐ | 162 | ||
V-100 Commando | รถลำเลียงพลหุ้มเกราะ | สหรัฐ | 150 | ||
Type 85 |
|
จีน | 380 | ||
M113A1/A2/A3 |
|
สหรัฐ | 426 [2] | ||
M901A3 ITV | รถสายพานติดอาวุธปล่อยนำวิถีต่อสู้รถถัง | สหรัฐ | 18 | ||
M106A1/A2/A3 | รถสายพานติดเครื่องยิงลูกระเบิด | สหรัฐ | 12 | ||
M125A1/A2/A3 | รถสายพานติดเครื่องยิงลูกระเบิด | สหรัฐ | 21 | ||
M1064A3 | สายพานลำเลียงพล | สหรัฐ | 12 | ||
First Win 4x4 | MRAP | ไทย | 48 | กองทัพบกไทยวางแผนจัดหา 200 คัน | |
Humvee |
|
สหรัฐ | ไม่ปรากฎจำนวน | ||
M50/M50A/M51/M51B | รถยนต์บรรทุกขนาด 1 1/4ตัน | ไทย | ไม่ปรากฎจำนวน | รถยนต์ดัดแปลงจากกระบะเชิงพาณิชย์โดยบริษัทเอกชนในประเทศ | |
REVA 4x4 MKII | MRAP | แอฟริกาใต้ | 85 |
รถทหารช่าง
[แก้]รูปภาพ | ชื่อ | ประเภท | ประเทศต้นกำเนิด | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
M992 | รถสายพานบรรทุกกระสุน | สหรัฐ | ใช้เป็นรถบรรุทุกกระสุนให้กับปืนใหญ่อัตตาจร เอ็ม109 | |
FV105 Sultan | รถสายพานบังคับการ | สหราชอาณาจักร | ||
Bronco ATTC | ยานเกราะสะเทินน้ำสะเทินบก | สิงคโปร์ | เป็นรุ่นสำหรับขนส่งทหาร ถูกใช้โดยทหารช่างภายในกองทัพ | |
Type 84 AVLB | รถสายพานวางสะพาน | จีน | มีแบบมาจากรถถังหลักไทป์ 69, มีขนาดสะพานยาว 18 เมตร | |
Type 79A ribbon bridge | สะพานเครื่องหนุนลอยพับได้ | จีน | ||
M881A1/A2 Hercules | รถสายพานกู้ซ่อม | สหรัฐ | ||
Type 653 | รถสายพานกู้ซ่อม | จีน | ||
FV106 Samson | รถสายพานกู้ซ่อม | สหราชอาณาจักร | ||
M578 LRV | รถสายพานกู้ซ่อม | สหรัฐ |
รถบรรทุก/ขนส่ง
[แก้]ปืนใหญ่
[แก้]เครื่องยิงลูกจรวดหลายลำกล้อง, ปืนใหญ่, ปืนครก, ขีปนาวุธพื้นสู่อากาศ
[แก้]รูปภาพ | ชื่อ | ประเภท | ประเทศต้นกำเนิด | จำนวน | รายละเอียด | |
---|---|---|---|---|---|---|
เครื่องยิงลูกจรวดหลายลำกล้อง | ||||||
DTI-1 | เครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องอัตตาจรขนาด 302 มม. | ไทย | 2 | DTI-1 เป็นเครื่องยิงจรวดหลายลูกที่สร้างโดยคนไทย อาวุธนี้เป็นรุ่นดัดแปลงจาก WS-32 | ||
DTI-1G | เครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องอัตตาจรขนาด 400 มม. | ไทย | 3 | DTI-1G เป็นเครื่องยิงจรวดหลายลูกที่สร้างโดยคนไทย อาวุธนี้ดัดแปลงจาก WS-1B | ||
DTI-2 | เครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องอัตตาจรขนาด 122 มม. | ไทย | 1 | |||
Type 82 | เครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องอัตตาจรขนาด 130 มม. | จีน | 6 | ติดตั้งบนตัวถัง Type 85 อาวุธจะถูกแทนที่ด้วย DTI-2 | ||
SR4 | เครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องอัตตาจรขนาด 122 มม. | จีน | 4 | |||
D11A | เครื่องยิงจรวดหลายลำกล้องอัตตาจรขนาด 122-300 มม. | อิสราเอล ไทย |
0(+12) | พัฒนาร่วมกับบริษัท Elbit System อิสราเอล คาดว่าประจำการปี 2566-67 (อยู่ในระหว่างพัฒนาร่วมกัน)
| ||
ปืนใหญ่ | ||||||
M198 | ปืนใหญ่กลางกระสุนวิถีโค้งแบบลากจูง ขนาด 155 มม. | สหรัฐ | 116 | |||
M114 | ปืนใหญ่กลางกระสุนวิถีโค้งแบบลากจูง ขนาด 155 มม. | สหรัฐ | 56 | สำรอง แทนที่ด้วย M198 howitzer | ||
Soltam M-71 | ปืนใหญ่หนักกระสุนวิถีราบแบบลากจูง ขนาด 155 มม. | อิสราเอล | 32 | ถูกนำไปดัดแปลงเป็นปืนใหญ่อัตตาจร แต่ไม่ได้รับการพัฒนาต่อ | ||
GHN-45 | ปืนใหญ่กลางกระสุนวิถีโค้งแบบลากจูง ขนาด 155 มม. | ออสเตรีย | 42 | |||
M758 ATMG | ปืนใหญ่อัตตาจร ขนาด 155 มม. | อิสราเอล ไทย |
24 | ปี 2022 ทั้งหมด 24 ระบบ ผลิตภายในประเทศไทยและกำหนดชื่อเป็น M758 ATMG ติดตั้งบนรถบรรทุก Tatra ขนาด 6×6 10 ตัน | ||
M109A5 | ปืนใหญ่อัตตาจร ขนาด 155 มม. | สหรัฐ | 20 | |||
CAESAR | ปืนใหญ่อัตตาจร ขนาด 155 มม. | ฝรั่งเศส | 6 | |||
Type 59-1 | ปืนใหญ่ลากจูง ขนาด 130 มม. | จีน | ไม่ทราบจำนวน | สำรอง | ||
M101A1 MOD | ปืนใหญ่เบาลากจูง ขนาด 105 มม. | สหรัฐ | 285 | 285 guns improve the Nexter LG1 calibre | ||
L119 | ปืนใหญ่เบาลากจูง ขนาด 105 มม. | สหราชอาณาจักร ไทย |
60 | L119 ปืนใหญ่ผลิตภายใต้ใบอนุญาต | ||
GIAT LG1 | ปืนใหญ่เบาลากจูง ขนาด 105 มม. | ฝรั่งเศส | ไม่ทราบจำนวน | MkIII | ||
M56 | ปืนใหญ่เบาลากจูง ขนาด 105 มม. | อิตาลี | ไม่ทราบจำนวน | |||
M102 | ปืนใหญ่เบาลากจูง ขนาด 105 มม. | สหรัฐ | ไม่ทราบจำนวน | สำรอง | ||
M618A2 | ปืนใหญ่ลากจูง ขนาด 105 มม. | ไทย | ไม่ทราบจำนวน | สำรอง | ||
M425 | ปืนใหญ่ลากจูง ขนาด 105 มม. | ไทย | ไม่ทราบจำนวน | สำรอง | ||
ปืนครก | ||||||
M361 ATMM | เครื่องยิงลูกระเบิดวิถีโค้งขนาด 120 มม. อัตตาจร | อิสราเอล ไทย | 22 | |||
M29 mortar | เครื่องยิงลูกระเบิดวิถีโค้งขนาด 81 มม. | สหรัฐ | ไม่ทราบจำนวน | |||
M1 mortar | เครื่องยิงลูกระเบิดวิถีโค้งขนาด 81 มม. | สหรัฐ | ไม่ทราบจำนวน | |||
M2 mortar | เครื่องยิงลูกระเบิดวิถีโค้งขนาด 60 มม. | สหรัฐ | ไม่ทราบจำนวน | |||
M19 mortar | เครื่องยิงลูกระเบิดวิถีโค้งขนาด 60 มม. | สหรัฐ | ไม่ทราบจำนวน | |||
M121 mortar | เครื่องยิงลูกระเบิดวิถีโค้งขนาด 60 มม. | ไทย | ไม่ทราบจำนวน | มีรุ่น M121A1, M121A2, M121A3 Commando | ||
จรวดป้องกันภัยทางอากาศ | ||||||
Starstreak | จรวดป้องกันภัยทางอากาศระยะใกล้ | สหราชอาณาจักร | 8 | |||
VL MICA | จรวดป้องกันภัยทางอากาศระยะกลาง | ฝรั่งเศส | 1 | จัดหารถฐานยิงไม่ครบระบบ ขาดรถยิงอีก 2 คัน | ||
SPADA | จรวดป้องกันภัยทางอากาศ | อิตาลี | ไม่ทราบจำนวน | ปลดประจำการ |
ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน
[แก้]รูปภาพ | ชื่อ | ประเภท | ประเทศต้นกำเนิด | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
Type 59 | ปืนต่อต้านอากาศยานลากจูงขนาด 57 มม. | จีน | ||
M42 Duster | ปืนต่อต้านอากาศยานอัตตาจร 40 มม. | สหรัฐ | ||
BAE Systems EL/70 LVS | ปืนต่อต้านอากาศยานลากจูงขนาด 40 มม. | สหราชอาณาจักร | ||
Bofors L60/70 | ปืนต่อต้านอากาศยานลากจูง 40 มม. | สวีเดน | ||
Oerlikon GDF | ปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยานลากจูงขนาด 35 มม. | สวิตเซอร์แลนด์ | 8 คัน | |
M163 VADS | ปืนต่อสู้อากาศยานอัตตาจรลำกล้องหมุนขนาด 20 มม. | สหรัฐ | ||
M167 VADS | ปืนต่อสู้อากาศยานอัตตาจรลำกล้องหมุนขนาด 20 มม. | สหรัฐ | ||
M45 Quadmount | ปืนกลขนาด .50 BMG จำ นวน 4 กระบอก | สหรัฐ | ||
M16 MGMC | ปืนกลขนาด .50 BMG จำนวน 4 กระบอก | สหรัฐ | อยู่สถานะไกล้ปลดประจำการ |
ระบบเรดาร์
[แก้]เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ, เรดาร์ตรวจการณ์ภาคพื้นดิน
[แก้]รูปภาพ | ชื่อ | ประเภท | ประเทศต้นกำเนิด | รายละเอียด |
---|---|---|---|---|
เรดาร์ตรวจการณ์ทางอากาศ | ||||
TRML-3D/32 | เรดาร์ค้นหาทางอากาศระยะกลาง แบบเคลื่อนที่ | ฝรั่งเศส | ||
Siemens DR-172 ADV | เรดาร์ค้นหาทางอากาศระยะกลาง | สหรัฐ | ||
Lockheed Martins LAADS | เรดาร์ค้นหาทางอากาศระยะกลาง | สหรัฐ | ||
ATAR | เรดาร์ค้นหาทางอากาศระยะกลาง | อิสราเอล | ||
Type 513 | เรดาร์ค้นหาทางอากาศระยะไกล้ | จีน | ||
Skyguard 3 FC | เรดาร์ค้นหาทางอากาศระยะไกล้ เคลื่อนที่ | สวิตเซอร์แลนด์ | ||
เรดาร์ตรวจการณ์ภาคพื้นดิน | ||||
AN/TPQ-36(V)11 | เรดาร์ตรวจการณ์แบตเตอรี่ | สหรัฐ | ||
BL-904A | เรดาร์ตรวจการณ์แบตเตอรี่ | จีน |
อากาศยาน
[แก้]รูปภาพ | ชื่อ | ประเภท | ประเทศต้นกำเนิด | จำนวน | รายละเอียด | |
---|---|---|---|---|---|---|
เฮลิคอปเตอร์ | ||||||
Bell AH-1F Huey Cobra | เฮลิคอปเตอร์โจมตี | สหรัฐ | 3 | |||
Boeing AH-6 | เฮลิคอปเตอร์ลาดตระเวนและโจมตีเบา | สหรัฐ | 0 (+8) | อยู่ในระหว่างการผลิตโดยบริษัท Boeing | ||
Eurocopter Fennec AS550 C3 | เฮลิคอปเตอร์ลาดตระเวณ/โจมตีเบา | ฝรั่งเศส | 8 | |||
Sikorsky UH-60L/M Blackhawk (S-70A-43) | เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป | สหรัฐ | 15 (+9) |
| ||
AgustaWestland AW149 | เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป | อิตาลี | 5 | |||
Bell 212 | เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป | สหรัฐ | 60 | |||
Bell 206 Jet Ranger | เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป | สหรัฐ | 25 | |||
Eurocopter UH-72A Lakota | เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป | สหรัฐ | 5 | |||
Eurocopter EC145 | เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป | ฝรั่งเศส | 6 | |||
AgustaWestland AW139 | เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป | อิตาลี | 6 | |||
Mil Mi-17-V5 | เฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไป | รัสเซีย | 10 | |||
Schweizer S-300C |
|
สหรัฐ | 45 | |||
Enstrom 480B | เฮลิคอปเตอร์ฝึก | สหรัฐ | 16 (-1) | อุบัติเหตุตกไป 1 ลำ | ||
เครื่องบิน | ||||||
CASA C-295W | เครื่องบินลำเลียง | สเปน | 1 | จัดซื้อเพิ่มอีก 3 ลำ | ||
CASA C-212-300 Aviocar | เครื่องบินลำเลียง | สเปน | 1 | |||
Embraer ERJ-135LR | เครื่องบินวีไอพี | บราซิล | 2 | |||
British Aerospace Jetstream 41 | เครื่องบินวีไอพี | สหราชอาณาจักร | 2 | |||
Beechcraft 1900C-1 | เครื่องบินขนส่งวีไอพี | สหรัฐ | 2 | |||
Beechcraft Super King Air 200 | เครื่องบินขนส่งวีไอพี | สหรัฐ | 2 | |||
อากาศยานไร้คนขับ | ||||||
Elbit Hermes 450 | UAV | อิสราเอล | 4 | |||
ATIL DP 20 | UAV | ไทย | 2 | |||
IAI Searcher | UAV | อิสราเอล | ไม่ทราบจำนวน | |||
AeroVironment RQ-11 Raven | UAV | สหรัฐ | ไม่ทราบจำนวน |
ข่าวการจัดหาอาวุธของกองทัพบก
[แก้]อาวุธประจำกาย
[แก้]- ปืนเล็ก, ปืนกล, และจรวดแบบใหม่ - กองทัพบกจัดหาปืนเล็กยาว TAR-21 Tavor จากอิสราเอลจำนวน 15,000 กระบอก และปืนเล็กกล Negev จากอิสราเอลจำนวน 992 กระบอก มูลค่ารวม 43.3 ล้านดอลลาร์สหรัฐ [9]
ในวันที่ 9 ก.ย. 2551, คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้กองทัพบกจัดหาปืนเล็กยาว TAR-21 Tavor จากอิสราเอลจำนวน 15,037 กระบอก และปืนกลเบา Nagev จากอิสราเอลจำนวน 553 กระบอก ซึ่งเป็นการจัดหาในล็อตที่สอง นอกจากนี้ยังอนุมัติให้จัดหาจรวดต่อสู้อากาศยานแบบประทับบ่ารุ่น Igla จำนวน 36 หน่วยจากรัสเซียอีกด้วย[10] ทั้งนี้ ทบ.สั่งซื้อ TAR-21 Tavor ล็อตสามรวม 13,868 กระบอก[11] ในวันที่ 15 ก.ย. 52 ล็อตที่4 ในเดือนเดียวกัน 22 ก.ย. 52 อีก 14,264 กระบอก รวมทั้งหมด 58,206 กระบอก ทบมีความต้องการ ปลย. รุ้นใหม่เพื่อมาทดแทน M16A1 ที่ใช้งานมากว่า 40 ปี ทั้งหมด 106,205 กระบอก
ยุทธยานยนต์
[แก้]- การจัดหารถเกราะล้อยางจากยูเครน - กองทัพบกประกาศจัดซื้อรถเกราะล้อยางซึ่งยังขาดแคลน โดยได้เลือกรถเกราะรุ่น BTR-3E1 จากประเทศยูเครนพร้อมอาวุธ จำนวน 96 คัน ในราคา 4,000 ล้านบาท [12] แต่เกิดข้อสงสัยมากมายเกี่ยวกับความโปร่งใสของกระบวนการการจัดหา จนรัฐมนตรีกลาโหมต้องประกาศพักโครงการและรอรัฐบาลใหม่เข้ามาสานต่อ [13] จนในที่สุดนายสมัคร สุนทรเวชก็ลงนามอนุมัติการจัดหา ซื้อกองทัพบกจะได้รับมอบในปี 2552 แต่เนื่องจากมีปัญหาด้านการจัดหาเครื่องยนต์ ทำให้การจัดส่งล่าช้าและจะได้รับรับในปี 2553 [14]
- รถบรรทุก KrAZ-6322 - KrAZ-6322 รถบรรทุกทางทหาร ขนาด 10 ตัน ตามสัญญาการจัดหารถ KrAZ-6322 ชุดใหญ่ ของกองทัพบกไทย ที่ได้มีการลงนามสั่งซื้อจากทางการยูเครน ได้เดินทางมาถึงประเทศไทยแล้วเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2556
จรวดพื้นสู่อากาศ (SAM)
[แก้]จีนเสนอจรวดพื้นสู่อากาศแบบระยะไกล (SAM) - ในงานDefense & Security 2013 จีนคุยกับบริษัทคู่ค้าในไทยเพื่อเสนอจรวดHQ-9ให้กองทัพไทยพิจารณาอีกที และแหล่งข่าวอีกอัน จีนเสนอจรวดและรถเกราะให้กับไทย/กรุงเทพมหานคร – สองบริษัทจากจีนเสนอระบบจรวดและรถเกราะให้กับประเทศไทย โดยนำโมเดลมาจัดแสดงในงาน Defense and Security 2013 โดยบริษัท Poly Technologies เสนอรถเกราะ CS-VP3 ซึ่งเป็นรถเกราะป้องกันกับระเบิด โดยถ้ากองทัพไทยเลือกรถเกราะ CS-VP3 ก็พร้อมที่จะทำการถ่ายทอดเทคโนโลยีและทำการผลิตในประเทศไทย นอกจากนั้นบริษัท China National Precision Machinery Import & Export Corporation หรือ CPMIEC ยังได้เสนอระบบจรวดต่อสู้อากาศยาน HQ-9 หรือรุ่น FD-2000 ซึ่งเป็นรุ่นส่งออก โดยระบบนี้ได้ถูกเลือกโดยกองทัพตุรกีเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 ที่ผ่านมา เพื่อตอบสนองความต้องการด้านการป้องกันภัยทางอากาศของตุรกี โดย CPMIEC พร้อมที่จะถ่ายทอดเทคโนโลยีและเปิดสายการผลิตจรวดในประเทศไทยด้วยเช่นกัน/'s
- จรวดพื้นต่อสู้อากาศแบบระยะปานกลาง ซึ่งก๊อปมาจาก 9K22 Tunguska จากรัสเซีย แต่แตกต่างตรงที่ปล่อยจรวดเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยม(แต่ของรัสเซียที่ปล่อยจรวดเป็นทรงกระบอก) จีนเสนอให้กับกองทัพบกไทยแต่ไม่ได้รับความสนใจจัดหา
อากาศยานทหารบก
[แก้]- เครื่องบินลำเลียงบุคคลสำคัญและส่งกลับสายการแพทย์ - กองทัพบกและกองทัพเรือร่วมกันลงนามในสัญญาจัดหาเครื่องบินแบบ ERJ-135 จากบริษัท Embraer ประเทศบราซิล จำนวน 2 ลำ เหล่าทัพละ 1 ลำ โดยกองทัพบกและกองทัพเรือจะนำไปใช้ในในสนับสนุนการเดินทางของผู้บัญชาการและบุคคลสำคัญ สำหรับเครื่องของกองทัพเรือยังเพิ่มความสามารถในการขนส่งผู้บาดเจ็บจากการสู้รบ MEDEVAC ได้ด้วย ทั้งนี้ เพื่อสนับสนุนภารกิจของทหารเรือในสามจังหวัดชายแดนใต้ [15]
วันที่ 12 มกราคม 2552 กองทัพบกได้ลงนามจัดหาเครื่องบินแบบ ERJ-135 เพิ่มเติมอีก 1 ลำเพื่อใช้ในการสนับสนุนการเดินทางของผู้บัญชาการและบุคคลสำคัญ รวมถึงขนส่งผู้บาดเจ็บจากการสู้รบ (MEDEVAC) [16]
- การจัดหาเฮลิคอปแบล็คฮอก - ในวันที่ 6 สิงหาคม สำนักงานความร่วมมือด้านการทหารและความมั่นคงของสหรัฐได้รายงานต่อสภาคองเกรสว่ากองทัพบกไทยได้จัดหา UH-60L Black Hawk เพิ่มเติมอีก 3 ลำ[17]
การพัฒนาในอนาคต
[แก้]- รถเกราะ
- Tiger I armored car - รถเกราะ โดย พรรษวุฒิ
- Black Widow Spider - รถเกราะ 8x8 โดย สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศและบริษัทปรีชาถาวรอุตสาหกรรม
- First Win-E - รถเกราะ โดย บริษัท ชัยเสรี เมทอล แอนด์ รับเบอร์ จำกัด
- อาวุธประจำกาย
- ปืนใหญ่
- DTI-1G – ระบบจรวดหลายลำกล้อง ขนาด 400 มม. ซึ่งจะคล้ายๆต้นแบบจรวดเว่ยซื่อ 32 โดยสถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ซึ่งต่อยอดจาก DTI-1 โดยเพิ่มระบบนำวิถีเพื่อให้เกิดความแม่นยำสูง คาดว่าจะเสร็จกลางปี พ.ศ. 2557 (2014)
- DTI-2 – ระบบจรวจหลายลำกล้อง ขนาด 122 มม. โดย สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ ซึ่งจะทำคล้ายๆ BM-21ของรัสเซีย
- วิจัยปืนใหญ่อัตตาจร ขนาด 155 มม. โดย สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
- ระบบจรวด
- วิจัยระบบจรวดต่อต้านรถถัง โดย สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
- อากาศยาน
- UAV RD01 - อากาศยานไร้คนขับ โดย สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
ยุทโธปกรณ์ที่กำลังพัฒนา
[แก้]Name | Origin | Type | Notes |
---|---|---|---|
UAV RD01 | ไทย | โดรน | |
DP-20A | ไทย จีน | โดรนโจมตี | |
DTI 8×8 | ไทย | ยานเกราะ | |
D-Lion | ไทย | ยานเกราะ | |
DTI-7 | ไทย | ปืนเล็กสั้นจู่โจม | |
MOD-2020 | ไทย | ปืนเล็กยาวจู่โจม | |
Kocha Singha-20 (ปืนคชสีห์ 20) | ไทย | ปืนเล็กยาวจู่โจม | |
D-11A | ไทย อิสราเอล | จรวดหลายลำกล้อง | |
D-Iron UGV | ไทย | ยานรบไร้คนขับ | |
FFG-472 | ไทย เกาหลีใต้ | เรือฟริเกต | ต่อเองในประเทศร่วมกับเกาหลีใต้ |
ยุทโธปกรณ์ที่ปลดประจำการแล้ว
[แก้]อ้างอิง
[แก้]- ↑ "HS Produkt" (PDF). Hrvatski vojnik (ภาษาโครเอเชีย) (337/338): 20. 28 มีนาคม 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 7 ตุลาคม 2012. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2013.
- ↑ "อาวุธประจำกาย และอาวุธธประจำกายทหารราบ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-24. สืบค้นเมื่อ 2019-09-28.
- ↑ "อาวุธประจำกาย และอาวุธธประจำกายทหารราบ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-24. สืบค้นเมื่อ 2019-09-28.
- ↑ "อาวุธประจำกาย และอาวุธธประจำกายทหารราบ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-03-24. สืบค้นเมื่อ 2019-09-28.
- ↑ Patrick Winn (12 September 2009). "Thailand Plans $191.3M Arms Purchase".[ลิงก์เสีย]
- ↑ "Cabinet nod for buying Israeli rfiles". Bangkok Post. 15 September 2009.
- ↑ [1] เก็บถาวร 2 มีนาคม 2012 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ 8.0 8.1 "SIPRI Trade Register". Stockholm International Peace Research Institute. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-05-13. สืบค้นเมื่อ 2019-09-28.
- ↑ Defensenews.com[ลิงก์เสีย] Thai Cabinet Approves Defense Equipment Buys
- ↑ DefenseNews.com[ลิงก์เสีย] Thailand Plans $191.3M Arms Purchase
- ↑ Thairath กห.ชงครม. ซื้อปืนยิว พันล้านให้ทบ.
- ↑ Ukrainian Observer Online เก็บถาวร 2016-03-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Ukraine Snags Large Armored Personnel Carrier Deal in Thailand
- ↑ The Nation เก็บถาวร 2008-12-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Army required to clear doubt of auditor-general over APCs purchase first: Boonrawd
- ↑ Skyman Blogทบ. ลงนามจัดหา BTR-3E1 จากยูเครน: ข้อวิจารณ์และบทเรียนสำคัญต่อกองทัพไทย
- ↑ Embraer Press Release Embraer sign contracts with the Royal Thai Army and the Royal Thai Navy
- ↑ Flight International Thailand buys third ERJ-135
- ↑ DSCA เก็บถาวร 2013-05-16 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนUH-60L Black Hawk Helicopter