รถถังหลัก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถถังเลพเพิร์ด 2เอ5ของกองทัพบกเยอรมัน

รถถังหลัก (อังกฤษ: Main Battle Tank: MBT) คือ รถถังที่เป็นกำลังสำคัญในการรบ องค์ประกอบที่สำคัญคือ อำนาจการยิง(ความแม่นยำ อำนาจการทำลาย ความรวดเร็วในการใช้อาวุธ) ความคล่องตัว และการป้องกันตนเอง(เกราะ) โดยรถถังหลักจะต้องเป็นรถถังที่มีน้ำหนักตั้งแต่ 37-65 ตันขึ้นไป และสามารถติดปืนใหญ่ตั้งแต่ขนาด 90-125 มม.

ประวัติศาสตร์[แก้]

สงครามเย็น[แก้]

สงครามอ่าวเปอร์เซีย[แก้]

สงครามอสมมาตร[แก้]

รายชื่อรถถังหลักแบ่งตามยุค[แก้]

ยุคที่ 1[แก้]

รถถังหลักในยุคแรกจะประกอบไปด้วยรถถังกลางที่ออกแบบและผลิตโดยตรงหลังจากสงครามโลกครั้งที่สอง โดยได้รับการนิยามใหม่ต่อมาเป็นรถถังหลัก

ชื่อรถถัง ปีที่เริ่มประจำการ ผู้ใช้งานเดิม หมายเหตุ
เซ็นจูเรียน[1][2] 1945  สหราชอาณาจักร เป็นรถถังลาดตระเวนที่มีประสิทธิภาพสูงจากสงครามโลกครั้งที่ 2
ที-54[1][2] 1947  สหภาพโซเวียต
เอ็ม48 แพตตัน 1953  สหรัฐ
ที-55[1][2] 1958  สหภาพโซเวียต ปรับปรุงจาก รถถัง T-54
ไทป์ 59[1] 1959  จีน ผลิตภายใต้สิทธิบัตรของรถถัง T-54
ไทป์ 61[1] 1961  ญี่ปุ่น

ยุคที่ 2[แก้]

รถถังหลักในยุคที่สองนั้นได้เพิ่มความสามารถในการต่อสู้ในเวลาคืน

ชื่อรถถัง ปีที่เริ่มประจำการ ผู้ใช้งานเดิม หมายเหตุ
ที-62[1][2] 1961  สหภาพโซเวียต มีพื้นฐานมาจากรถถัง T-55 เป็นรถถังแบบแรกของโลกที่ใช้ปืนใหญ่รถถังแบบลำกล้องเรียบเป็นอาวุธหลัก
เอ็ม60 แพตตัน 1961  สหรัฐ
เลพเพิร์ด 1[1][2] 1965 ธงของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีตะวันตก
แพนเซอร์ 61[1] 1965  สวิตเซอร์แลนด์
ที-64[1] 1966  สหภาพโซเวียต รถถังแบบแรกของโลกที่ใช้เกราะแบบคอมโพสิต
เอเอ็มเอ็กซ์-30[1][2] 1966 ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ชีฟเทน[1][2] 1966  สหราชอาณาจักร ติดอาวุธด้วยปืนใหญ่ขนาด 120 มม. แบบ Royal Ordnance L11A5
วิคเกอร์ เอ็มบีที[1] 1967  สหราชอาณาจักร รถถังที่ร่วมพัฒนาระหว่างอินเดียและสหราชอาณาจักร ในชื่อVijayanta
Stridsvagn 103[1][2] 1968 ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน รถถังหลักแบบไร้ป้อมปืนแบบเดียวในโลก ประจำการโดยสวีเดน
ที-72[ต้องการอ้างอิง] 1973  สหภาพโซเวียต เป็นรถถังที่ได้รับการพัฒนาอยู่ตลอด จึงถูกจัดอยู่ในรถถังยุคที่ 2.5 ในบางตำรา[1]
โอลิแฟนท์[ต้องการอ้างอิง] 1974  แอฟริกาใต้ ปรับปรุงต่อยอดมาจากรถถังเซ็นจูเรี่ยน
ไทป์ 74[ต้องการอ้างอิง] 1975 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
เมอร์คาวา I[ต้องการอ้างอิง] 1978 ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
โอเอฟ-40 1981 ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
Tanque Argentino Mediano[ต้องการอ้างอิง] 1983 ธงของประเทศอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
ไทป์ 69/79 1983  จีน มีพื้นฐานมาจากรถถัง Type 59
เอ็ม-84 1984 ยูโกสลาเวีย รถถังที-72 รุ่นต่อยอดของยูโกสลาเวีย
Ch'onma-ho 1980s  สหภาพโซเวียต /  เกาหลีเหนือ รถถังที่เกาหลีเหนือได้รับสิทธิบัตรการผลิตของ T-62 ต่อมาได้มีออกมาอีกหลายรุ่น
ไทป์ 88 1980s  จีน รวมไปถึงรถถัง Type 80 และ Type 85

ยุคที่ 3[แก้]

รถถังหลักในยุคที่3นั้นสามารถยิงกระสุนจรวดต่อสู้รถถังนำวิถีด้วยแสงเลเซอร์จากลำกล้องปืนใหญ่ได้ ทั้งยังมีระบบควบคุมการยิงแบบดิจิทัล มีกล้องเล็งและตรวจการณ์ทั้งผู้บัญชาการรถ และพลยิงที่ใช้กล้องแบบจับภาพด้วยรังสีความร้อน มีเกราะป้องกันทั้งที่เป็นแบบเชิงรับ สร้างเป็นตัวรถ และป้อมปืน

รถถังแบบต่างๆ ที่ประจำการในแต่ละประเทศ
ชื่อรถถัง ปีที่เริ่มประจำการ ผู้ใช้งานเดิม หมายเหตุ
ที-80[1][3] 1976  สหภาพโซเวียต รถถังที่ใช้เครื่องยนต์เทอร์ไบน์แบบแรกของโลก
เลพเพิร์ด 2[1][3] 1979 ธงของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีตะวันตก
MBT-80 1979  สหราชอาณาจักร เป็นรถถังต้นแบบ แต่ไม่ได้เข้าประจำการ
เอ็ม1 เอบรามส์[1][3] 1980  สหรัฐ
ชาลเลนเจอร์ 1[1][3] 1983  สหราชอาณาจักร
M-84 1984 ยูโกสลาเวีย
อีอี ที1 โอโซริโอ 1985 ธงของประเทศบราซิล บราซิล เป็นรถถังต้นแบบ แต่ไม่ได้เข้าประจำการในกองทัพบกบราซิล
เค1 1987  เกาหลีใต้
เมอร์คาวา III[3] 1989 ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
ไทป์ 90[3] 1990 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
Pokpung-ho 1992 เกาหลีเหนือ
เอเอ็มเอ็กซ์ เลอแคลซ์[3] 1993 ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ซัลฟิการ์ 1993  อิหร่าน รถถังของอิหร่าน ที่ได้รวมความสามารถจากรถถัง T-72 และ M60 Patton. รถถังซุลฟิการ์ 3 คือรุ่นที่รับการพัฒนาสูงสุด
พีที-91[ต้องการอ้างอิง] 1995 ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์
ซี-1 อาเรียเต้[3] 1995 ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
เค1เอ1 1996  เกาหลีใต้
ที-90A[3] 1996 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย พัฒนามาจากรถถังที-72
Stridsvagn 122 1997  สวีเดน พัฒนามาจากรถถังเลพเพิร์ด 2
ไทป์ 96 1997  จีน
ชาลเลนเจอร์ 2[3] 1998  สหราชอาณาจักร
ที-84 1999 ธงของประเทศยูเครน ยูเครน พัฒนามาจากรถถังที-80
ไทป์ 98/99 2001  จีน
อัล-คาลิด 2001  ปากีสถาน/ จีน
Centurion Olifant Mk 2 2003  แอฟริกาใต้ รถถังรุ่นต่อยอดจากรถถัง Olifant Mk 1
T-72M4 CZ[4] 2003 ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย รถถัง ที-72 รุ่นอัพเกรดโดยเช็กเกีย
อาจัน 2004 ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย

ความก้าวหน้ายุคที่ 3 และยุคต่อไป[แก้]

เมื่อรถถังหลักในยุคที่3ไปเปลี่ยนเป็นยุคต่อไป จะทำให้รถถังหลักในยุคที่4 มีระบบขับเคลื่อนที่สามารถเดินหน้าและถอยหลังได้ด้วยความเร็วเท่ากันด้วยระบบ ที่เรียกว่า Continuously Variable Transmission หรือ (CVT) มีระบบโหลดกระสุนอัตโนมัติ มีระบบดูดซับแรงเมื่อทำการยิงที่ดีเยี่ยมทำให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงขณะยิงได้ มีระบบกล้องรอบทิศทางรอบป้อมและรถ 360 องศาโดยไม่มีจุดอับสายตา สามารถใช้โหมดความร้อนและกล้องกลางคืนได้ทุกมุมมองรอบรถถัง และมีระบบโครงข่ายสื่อสารกับศูนย์บัญชาการได้จากในตัวรถถังเอง

Advanced Third Generation and Next Generation

ชื่อรถถัง ปีที่เริ่มประจำการ ผู้ใช้งานเดิม หมายเหตุ
Merkava Mk IVm Windbreaker 2011 ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล Adv. 3rd with Active Protection (operational from 2011)
Type 99A2[5][6] 2009  จีน "Enhanced Third Generation Main Battle Tank"
T-90MS[7] 2011 ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย Adv. 3rd
ไทป์ 10[8][9] 2012 ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 4th Generation
เค2 แบล็คแพนเธอร์[8][10] 2014  เกาหลีใต้ Adv. 3rd
Leopard 2A7+ 2014  เยอรมนี Adv. 3rd
VT-4 2014  จีน 3rd Generation Advanced
T-14 Armata 2015  รัสเซีย 4th Generation of RAF[11] MBT derived from "Armata" modular platform

อยู่ระหว่างการพัฒนา[แก้]

รถถังที่อยู่ระหว่างการพัฒนาเพื่อเข้าประจำการ

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 1.14 1.15 1.16 1.17 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ HilmesPage7
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 Pancerni.net 1 เก็บถาวร 2009-02-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[แหล่งอ้างอิงอาจไม่น่าเชื่อถือ]
  3. 3.00 3.01 3.02 3.03 3.04 3.05 3.06 3.07 3.08 3.09 Pancerni.net 2 เก็บถาวร 2012-02-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน[แหล่งอ้างอิงอาจไม่น่าเชื่อถือ]
  4. "Tank T-72M4 CZ" (ภาษาเช็ก). Army of the Czech Republic official website. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-10-05. สืบค้นเมื่อ December 14, 2015.
  5. "Type 99A2", China military, Global security.
  6. APA PLA AFV, Aus air power.
  7. "T-90MS Tagil Main battle tank". Military-Today.com. สืบค้นเมื่อ December 14, 2015.
  8. 8.0 8.1 "Competition Tank Asian countries: China Satellite Compass may be supported 99A2". Military of China, force comment. August 31, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-23. สืบค้นเมื่อ 2013-10-18.
  9. "The world's top 10 main battle tanks". Army technology. 28 November 2013. สืบค้นเมื่อ February 25, 2014.
  10. "K2 Black Panther Main Battle Tank, South Korea". Army technology. สืบค้นเมื่อ February 28, 2014.
  11. Naryshkin, Alexei (26 January 2015). "Platform Armata and other samples of armored vehicles". Echo. RU: MSK. สืบค้นเมื่อ 8 April 2015.
  12. http://www.defensenews.com/story.php?i=4046009[ลิงก์เสีย]
  13. http://www.janes.com/articles/Janes-Armour-and-Artillery/Chinese-CSU-152-MBT-China.html
  14. http://www.aselsan.com/content.aspx?mid=375&oid=584
  15. http://www.military-today.com/tanks/leopard_2ng.htm
  16. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-08. สืบค้นเมื่อ 2013-10-18.