เยเรวาน
เยเรวาน Երևան | |
---|---|
สมญา: | |
พิกัด: 40°10′53″N 44°30′52″E / 40.18139°N 44.51444°E | |
ประเทศ | อาร์มีเนีย |
ตั้งถิ่นฐาน (เชนกาวิต)[11] | ป. 3300 ปีก่อน ค.ศ.[12] |
สถาปนาในฐานะเอเรบูนีโดยอาร์กิชตีที่ 1 แห่งอูราร์ตู | 782 ปีก่อน ค.ศ. |
สถานะนครโดยจักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 2 | 1 ตุลาคม ค.ศ. 1879[13][14] |
เมืองหลวงประเทศ | 19 กรกฎาคม ค.ศ. 1918 (โดยพฤตนัย)[15][16] |
เขต | 12 |
การปกครอง | |
• ประเภท | นายกเทศมนตรี–สภา |
• องค์กร | สภานคร |
• นายกเทศมนตรี | ติกรัน อาวินยัน |
พื้นที่ | |
• เมืองหลวง | 223 ตร.กม. (86 ตร.ไมล์) |
ความสูงจุดสูงสุด | 1,390 เมตร (4,560 ฟุต) |
ความสูงจุดต่ำสุด | 865 เมตร (2,838 ฟุต) |
ประชากร (สำมะโน 2011)[17] | |
• เมืองหลวง | 1,060,138 คน |
• ประมาณ (2022[18]) | 1,092,800 คน |
• ความหนาแน่น | 4,824 คน/ตร.กม. (12,490 คน/ตร.ไมล์) |
• รวมปริมณฑล(ประมาณ ค.ศ. 2001)[19] | 1,420,000 คน |
เขตเวลา | UTC+04:00 (เวลาอาร์มีเนีย) |
รหัสพื้นที่ | +374 10 |
ท่าอากาศยานนานาชาติ | ท่าอากาศยานนานาชาติซวาร์ตนอตส์ |
เอชดีไอ (2021) | 0.794[20] สูง · ที่ 1 |
เว็บไซต์ | www |
เยเรวาน (อังกฤษ: Yerevan; อาร์มีเนีย: Երևան[c] [jɛɾɛˈvɑn] ( ฟังเสียง)) บางครั้งสะกดเป็น เอเรวาน (Erevan)[d] เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่สุดของประเทศอาร์มีเนีย และยังเป็นหนึ่งในเมืองที่มีผู้อาศัยต่อเนื่องนานที่สุดในโลก[24] ตั้งอยู่ริมแม่น้ำฮรัซดัน (Hrazdan River) เยเรวานเป็นศูนย์กลางการบริหาร วัฒนธรรม และอุตสาหกรรมของประเทศ ถือเป็นเอกนคร โดยเป็นเมืองหลวงตั้งแต่ ค.ศ. 1918 ซึ่งเป็นเมืองหลวงที่ 14 ในประวัติศาสตร์อาร์มีเนียและเมืองหลวงที่ 7 ที่ตั้งอยู่ในและรอบที่ราบอารารัต นครนี้ยังเป็นเมืองหลักของมุขมณฑลองค์สันตะปาปาอารารัต (Araratian Pontifical Diocese) ซึ่งเป็นมุขมณฑลที่ใหญ่ที่สุดในคริสตจักรอัครทูตอาร์มีเนีย และเป็นหนึ่งในมุขมณฑลที่เก่าแก่ที่สุดในโลก[25]
ประวัติศาสตร์ยุคแรกเริ่มของเมืองนี้ย้อนไปถึงในช่วงศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศักราช โดยมีการตั้งป้อมอูราร์เตียนแห่งเมืองเอเรบูนีเมื่อ 782 ปีก่อนคริสต์ศักราชโดยพระเจ้าอาร์กิชตีที่ 1 แห่งอูราร์ตูที่ปลายตะวันตกสุดของที่ราบอารารัต[26] เอเรบูนี "ได้รับการออกแบบให้เป็นศูนย์กลางการปกครองและศาสนาอันยิ่งใหญ่ ซึ่งเป็นเมืองหลวงที่สมบูรณ์"[27] จากนั้นในช่วงอาณาจักรอาร์มีเนียโบราณตอนปลาย มีการจัดตั้งเมืองหลวงใหม่และเยเรวานจึงลดความสำคัญลง ตัวนครสูญเสียประชากรส่วนใหญ่ในช่วงเกรตซูร์กุนใน ค.ศ. 1603–05 เมื่อจักรวรรดิซาฟาริดบังคับถ่ายโอนประชากรอาร์มีเนียไปยังอิหร่านแสนกว่าคน ต่อมาใน ค.ศ. 1679 ตัวนครส่วนใหญ่ถูกทำลายจากแผ่นดินไหว แล้วมีการสร้างใหม่ในขณาดที่เล็กกว่าเดิม ต่อมาใน ค.ศ. 1828 เยเรวานถูกผนวกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิรัสเซีย ซึ่งนำไปสู่การส่งคืนชาวอาร์มีเนียที่บรรพบุรุษถูกบังคับย้ายออกไปในคริสต์ศตวรรษที่ 17 หลังจากสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เยเรวานกลายเป็นเมืองหลวของสาธารณรัฐอาร์มีเนียที่หนึ่งหลังผู้รอดชีวิตจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอาร์มีเนียพันกว่าคนในจักรวรรดิออตโตมัน เดินทางเข้ายังบริเวณนี้[28] ตัวนครได้รับการขยายอย่างรวดเร็จในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ในขณะที่อาร์มีเนียเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต
เยเรวานผ่านการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่จากการเติบโตของเศรษฐกิจอาร์มีเนีย ทำให้มีการก่อสร้างทั่วนครตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 2000 และมีร้านค้าปลีก เช่น ภัตตาคาร ร้านค้า และร้านกาแฟริมถนน ซึ่งหาได้ยากในสมัยโซเวียต เพิ่มจำนวนขึ้นมาก ข้อมูลเมื่อ 2011[update] ประชากรในเยเรวานมี 1,060,138 คน ซึ่งเทียบเท่าประชากรอาร์มีเนียทั้งหมดมากกว่า 35% ตามข้อมูลจำนวนประมาณการอย่างเป็นทางการใน ค.ศ. 2022 ประชากรในปัจจุบันมี 1,092,800 คน[18] ทางยูเนสโกจัดให้เยเรวานเป็น World Book Capital ประจำปี 2012[29] เยเรวานก็เป็นเมืองสมาชิกใน Eurocities[30]
ศัพทมูลวิทยา
[แก้]ไม่มีใครทราบต้นกำเนิดของชื่ออย่างชัดเจน ทฤษฎีหนึ่งระบุว่าต้นกำเนิดของชื่อเยเรวานมาจากเยร์วานด์ (โอรอนเตส) ที่ 4 กษัตริย์อาร์มีเนียที่เป็นผู้ปกครองอาร์มีเนียองค์สุดท้ายจากราชวงศ์โอรอนติด และเป็นผู้สถาปนานครเยร์วานดาชาต[32] อย่างไรก็ตาม มีความเป็นไปได้ว่าชื่อนครมาจากป้อมทหารอูราร์ตูแห่งเอเรบูนี ซึ่งจัดตั้งบนพื้นที่เยเรวานในปัจจุบันเมื่อ 782 ปีก่อน ค.ศ. โดยอาร์กิชตีที่ 1[32] "Erebuni" อาจมาจากศัพท์ภาษายูราร์เทียที่แปลว่า “เอา” หรือ “จับ” หมายความว่า ชื่อของป้อมอาจตีความได้เป็น "การจับกุม" "การพิชิต" หรือ "ชัยชนะ"[33] เมื่อองค์ประกอบของภาษายูราร์เทียผสมเข้ากับภาษาอาร์มีเนีย ชื่อนั้นจึงพัฒนาไปเป็น เยเรวาน (Erebuni = Erevani = Erevan = Yerevan)
ผู้บันทึกเหตุการณ์ชาวอาร์มีเนียที่นับถือศาสนาคริสต์ยุคแรกเชื่อมโยงต้นตอชื่อของนครเข้ากับตำนานเรือโนอาห์ หลังตัวเรือจอดบนเขาอารารัตและระดับน้ำได้ลดลงแล้ว กล่าวกันว่าโนอาห์อุทานว่า "Yerevats!" ("มันปรากฏแล้ว!" ในภาษาอาร์มีเนีย) ขณะหาทิศทางของเยเรวาน ซึ่งเป็นที่มาของชื่อเยเรวาน[32]
ในสมัยกลางตอนปลายถึงสมัยใหม่ตอนต้น เมื่อเยเรวานอยู่ภายใต้การปกครองของกลุ่มชนเติร์กและเปอร์เซียในภายหลัง นครนี้เป็นที่รู้จักในภาษาเปอร์เซียว่า อีแรวอน (เปอร์เซีย: ایروان)[34][35] หลังอยู่ภายใต้การปกครองของรัสเซียเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 ถึง ต้นศตวรรษที่ 20 ตัวนครมีชื่อทางการว่า เอรีวัน (รัสเซีย: Эривань) ก่อนที่จะเปลี่ยนชื่อกลับเป็นเยเรวาน (Ереван) ใน ค.ศ. 1936[36]
ประวัติ
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ภูมิประเทศ
[แก้]เยเรวานตั้งอยู่ในความสูงเฉลี่ย 990 เมตร (3,248.03 ฟุต) โดยพื้นที่ต่ำสุดอยู่ที่ 865 เมตร (2,837.93 ฟุต) และพื้นที่สูงสุดอยู่ที่ 1,390 เมตร (4,560.37 ฟุต) เหนือระดับน้ำทะเลในบริเวณตะวันตกเฉียงใต้และตะวันออกเฉียงเหนือ ตามลำดับ[37] นครนี้เป็นหนึ่งในนครที่สูงที่สุด 50 อันดับแรกของโลกที่มีประชากรมากกว่า 1 ล้านคน[38]
ภูมิอากาศ
[แก้]ข้อมูลภูมิอากาศของเยเรวาน (ค.ศ. 1991–2020, สูงสุด ค.ศ. 1885–ปัจจุบัน) | |||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
เดือน | ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | ก.ค. | ส.ค. | ก.ย. | ต.ค. | พ.ย. | ธ.ค. | ทั้งปี |
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | 19.5 (67.1) |
19.6 (67.3) |
27.6 (81.7) |
35.0 (95) |
36.1 (97) |
41.1 (106) |
43.7 (110.7) |
42.0 (107.6) |
40.0 (104) |
34.1 (93.4) |
26.0 (78.8) |
20.0 (68) |
43.7 (110.7) |
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) | 1.7 (35.1) |
6.3 (43.3) |
13.7 (56.7) |
19.8 (67.6) |
25.1 (77.2) |
30.9 (87.6) |
34.5 (94.1) |
34.4 (93.9) |
29.2 (84.6) |
21.6 (70.9) |
12.8 (55) |
4.2 (39.6) |
19.5 (67.1) |
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) | -3.5 (25.7) |
0.0 (32) |
7.0 (44.6) |
12.9 (55.2) |
17.7 (63.9) |
23.1 (73.6) |
26.8 (80.2) |
26.7 (80.1) |
21.4 (70.5) |
14.0 (57.2) |
5.8 (42.4) |
-0.8 (30.6) |
12.6 (54.7) |
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) | -7.8 (18) |
-5.4 (22.3) |
0.9 (33.6) |
6.4 (43.5) |
10.8 (51.4) |
15.1 (59.2) |
19.1 (66.4) |
18.9 (66) |
13.2 (55.8) |
7.1 (44.8) |
0.1 (32.2) |
-4.9 (23.2) |
6.1 (43) |
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) | −27.6 (-17.7) |
−26.0 (-15) |
−19.1 (-2.4) |
−10.2 (13.6) |
−0.6 (30.9) |
3.7 (38.7) |
7.5 (45.5) |
7.9 (46.2) |
0.1 (32.2) |
−6.5 (20.3) |
−14.4 (6.1) |
−28.2 (-18.8) |
−28.2 (−18.8) |
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) | 21 (0.83) |
21 (0.83) |
60 (2.36) |
56 (2.2) |
47 (1.85) |
24 (0.94) |
17 (0.67) |
10 (0.39) |
10 (0.39) |
51 (2.01) |
25 (0.98) |
21 (0.83) |
363 (14.29) |
ความชื้นร้อยละ | 75.0 | 67.6 | 58.3 | 55.5 | 54.6 | 46.0 | 42.9 | 41.1 | 45.7 | 57.8 | 68.6 | 77.0 | 57.2 |
วันที่มีฝนตกโดยเฉลี่ย | 2 | 4 | 8 | 12 | 12 | 8 | 5 | 4 | 4 | 8 | 7 | 4 | 78 |
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย | 7 | 7 | 2 | 0.2 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0 | 0.1 | 1 | 5 | 22 |
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด | 104.5 | 136.8 | 186.5 | 206.5 | 267.1 | 326.6 | 353.9 | 333.7 | 291.5 | 217.0 | 159.9 | 91.0 | 2,675.0 |
แหล่งที่มา 1: Pogoda.ru.net[39] | |||||||||||||
แหล่งที่มา 2: องค์การอุตุนิยมวิทยาโลก (ดวงอาทิตย์, ความชื้น 1991–2020)[40] |
การเมืองและรัฐบาล
[แก้]เขตบริหาร
[แก้]เยเรวานได้รับการแบ่งออกเป็น 12 "เขตบริหาร" (վարչական շրջան, varčakan šrĵan)[41] ที่มีหัวหน้าที่ได้รับการเลือกตั้งเป็นของตนเอง ทั้ง 12 เขตของเยเรวานมีพื้นที่รวม 223 ตารางกิโลเมตร (86 ตารางไมล์)[42][43][44]
เขต | ภาษาอาร์มีเนีย | ประชากร (สำมะโน 2011) |
ประชากร (สำมะโน 2016) |
พื้นที่ (ตร.กม.) |
---|---|---|---|---|
อาจัปนยัก | Աջափնյակ | 108,282 | 109,100 | 25.82 |
อารับกีร์ | Արաբկիր | 117,704 | 115,800 | 13.29 |
อาวัน | Ավան | 53,231 | 53,100 | 7.26 |
ดัฟตาเชน | Դավթաշեն | 42,380 | 42,500 | 6.47 |
เอเรบูนี | Էրեբունի | 123,092 | 126,500 | 47.49 |
คานาเกร์-เซย์ตุน | Քանաքեր-Զեյթուն | 73,886 | 74,100 | 7.73 |
เคนตรอน | Կենտրոն | 125,453 | 125,700 | 13.35 |
มาลาเตีย-เซบัสเตีย | Մալաթիա-Սեբաստիա | 132,900 | 135,900 | 25.16 |
นอร์ก-มารัช | Նորք-Մարաշ | 12,049 | 11,800 | 4.76 |
นอร์นอร์ก | Նոր Նորք | 126,065 | 130,300 | 14.11 |
นูบาราเชน | Նուբարաշեն | 9,561 | 9,800 | 17.24 |
เชนกาวิต | Շենգավիթ | 135,535 | 139,100 | 40.6 |
ประชากร
[แก้]ปี | อาร์มีเนีย | อาเซอร์ไบจานa | รัสเซีย | อื่น ๆ | รวม | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ป. 1650[45] | ส่วนใหญ่ | — | — | — | — | ||||
ป. 1725[46] | ส่วนใหญ่ | — | — | — | 20,000 | ||||
1830[47] | 4,132 | 35.7% | 7,331 | 64.3% | 195 | 1.7% | 11,463 | ||
1831[48] | 4,484 | 37.6% | 7,331 | 61.5% | 105 | 0.9% | 11,920 | ||
1873[49] | 5,900 | 50.1% | 5,800 | 48.7% | 150 | 1.3% | 24 | 0.2% | 11,938 |
1886[48] | 7,142 | 48.5% | 7,228 | 49.0% | 368 | 2.5% | 14,738 | ||
1897[50] | 12,523 | 43.2% | 12,359 | 42.6% | 2,765 | 9.5% | 1,359 | 4.7% | 29,006 |
1908[48] | 30,670 | ||||||||
1914[51] | 15,531 | 52.9% | 11,496 | 39.1% | 1,628 | 5.5% | 711 | 2.4% | 29,366[e] |
1916[52] | 37,223 | 72.6% | 12,557 | 24.5% | 1,059 | 2.1% | 447 | 0.9% | 51,286 |
1919[48] | 48,000 | ||||||||
1922[48] | 40,396 | 86.6% | 5,124 | 11.0% | 1,122 | 2.4% | 46,642 | ||
1926[53] | 59,838 | 89.2% | 5,216 | 7.8% | 1,401 | 2.1% | 666 | 1% | 67,121 |
1931[48] | 80,327 | 90.4% | 5,620 | 6.3% | 2,957 | 3.3% | 88,904 | ||
1939[53] | 174,484 | 87.1% | 6,569 | 3.3% | 15,043 | 7.5% | 4,300 | 2.1% | 200,396 |
1959[53] | 473,742 | 93.0% | 3,413 | 0.7% | 22,572 | 4.4% | 9,613 | 1.9% | 509,340 |
1970[54] | 738,045 | 95.2% | 2,721 | 0.4% | 21,802 | 2.8% | 12,460 | 1.6% | 775,028 |
1979[53] | 974,126 | 95.8% | 2,341 | 0.2% | 26,141 | 2.6% | 14,681 | 1.4% | 1,017,289 |
1989[55][56] | 1,100,372 | 96.5% | 897 | 0.0% | 22,216 | 2.0% | 17,507 | 1.5% | 1,201,539 |
2001[57] | 1,088,389 | 98.6% | — | 6,684 | 0.61% | 8,415 | 0.76% | 1,103,488 | |
2011[58] | 1,048,940 | 98.9% | — | 4,940 | 0.5% | 6,258 | 0.6% | 1,060,138 | |
^a ก่อน ค.ศ. 1918 เรียกเป็น ชาวตาตาร์ |
หลังการล่มสลายของสหภาพโซเวียต มีประชากรอพยพออกจากอาร์มีเนียหลายพันคนเนื่องจากปัญหาทางเศรษฐกิจ ส่วนใหญ่เดินทางไปยังรัสเซีย ทวีปอเมริกาเหนือ และยุโรป ประชากรในเยเรวานลดลงจาก 1,250,000 คนใน ค.ศ. 1989[37] ไปเป็น 1,103,488 คนใน ค.ศ. 2001[59] และลดถึง 1,091,235 คนใน ค.ศ. 2003[60] อย่างไรก็ตาม นับจากนั้นประชากรในเยเรวานจึงเริ่มเพิ่มขึ้น โดยใน ค.ศ. 2007 มีประชากรในเยเรวานถึง 1,107,800 คน
กลุ่มชาติพันธุ์
[แก้]ชาวอาร์มีเนียเป็นชนกลุ่มแรกที่เข้าตั้งถิ่นฐานในเยเรวานและยังคงเป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลักในบริเวณนี้จนกระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 15[45][46][61][ต้องการแหล่งอ้างอิงดีกว่านี้] ประชากรป้อมเอรีวันที่สร้างขึ้นในคริสต์ทศวรรษ 1580 ส่วนใหญ่เป็นทหารมุสลิมที่มีจำนวนประมาณ 2 ถึง 3 พันนาย[45] Jean-Baptiste Tavernier นักเดินทางชาวฝรั่งเศส เดินทางเยือนเยเรวานถึง 6 ครั้งในช่วง ค.ศ. 1631 ถึง 1668 ระบุว่านครนี้มีชาวอาร์มีเนียอาศัยอยู่โดยเฉพาะ[62] ถึงแม้ว่ามีการถ่ายโอนประชากรอาร์มีเนียในนครจำนวนมากในคริสต์ศตวรรษที่ 17[63] ตัวนครยังคงมีประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวอาร์มีเนียในช่วงสงครามออตโตมัน–โฮตัก (ค.ศ. 1722–1727)[46] ประชากรในภูมิภาคนี้มีการเปลี่ยนแปลงเนื่องจากชุดสงครามระหว่างจักรวรรดิออตโตมัน อิหร่าน และรัสเซีย ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19 เยเรวานมีประชากรส่วนใหญ่เป็นมุสลิม โดยหลักเป็นชาวอาร์มีเนียและประชากร "ตาตาร์คอเคซัส"[64][65] เอช. เอฟ. บี. ลินช์ นักเดินทาง รายงานว่า ในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษ 1890 ตัวนครมีชาวอาร์มีเนียประมาณ 50% และมุสลิม 50% (อาเซอร์ไบจานและเปอร์เซีย)[66]
หลังการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวอาร์มีเนีย ผู้ลี้ภัยหลายคนจากบริเวณที่ชาวอาร์มีเนียเรียกว่าอาร์มีเนียตะวันตก (ปัจุจบันคือประเทศตุรกี ในเวลานั้นคือจักรวรรดิออตโตมัน) อพยพไปยังอาร์มีเนียตะวันออก โดยใน ค.ศ. 1919 ผู้อพยพชาวอาร์มีเนียประมาณ 75,000 อพยพจากจักรวรรดิออตโตมันไปยังเยเรวาน ส่วนใหญ่มาจากภูมิภาค Vaspurakan (นครวานและพื้นที่โดยรอบ) ผู้ลี้ภัยส่วนใหญ่เสียชีวิตด้วยโรคไข้รากสาดใหญ่และโรคอื่น ๆ[67]
ชาวอาเซอร์ไบจานที่เป็นประชากรในเยเรวานก่อนหน้าการปฏิวัติเดือนตุลาคมถึง 43% มีจำนวนลดลงจนเหลือ 0.7% ใน ค.ศ. 1959 และลดลงอีกจนถึง 0.1% ในความขัดแย้งนากอร์โน-คาราบัคช่วง ค.ศ. 1989[68]
นอกจากนี้ ยังมีประชากรอินเดียในอาร์มีเนีย โดยมีบันทึกพลเมืองในประเทศมากกว่า 22,000 คน ประชากรส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในเยเรวาน ซึ่งมักดำเนินธุรกิจ เปิดร้านอาหารอินเดีย และศึกษาในมหาวิทยาลัยเยเรวาน[69][70]
ศาสนา
[แก้]ส่วนนี้รอเพิ่มเติมข้อมูล คุณสามารถช่วยเพิ่มข้อมูลส่วนนี้ได้ |
ความสัมพันธ์นานาชาติ
[แก้]เมืองพี่น้อง
[แก้]เยเรวานเป็นเมืองพี่น้องกับเมืองดังนี้:[71]
- อัมมาน ประเทศจอร์แดน (2014)
- อันตานานารีโว ประเทศมาดากัสการ์ (1981)
- เบรุต ประเทศเลบานอน (1997)
- บราติสลาวา ประเทศสโลวาเกีย (2001)
- บัวโนสไอเรส ประเทศอาร์เจนตินา (2000)
- เคมบริดจ์ สหรัฐ (1987)
- คาร์รารา ประเทศอิตาลี (1973)
- คีชีเนา ประเทศมอลโดวา (2005)
- ดามัสกัส ประเทศซีเรีย (1997)
- โดฮา ประเทศกาตาร์ (2022)
- เอสแฟฮอน ประเทศอิหร่าน (1995)
- ลอสแองเจลิส สหรัฐ (2007)
- มาร์แซย์ ประเทศฝรั่งเศส (1992)
- มอนทรีออล ประเทศแคนาดา (1998)
- นีซ ประเทศฝรั่งเศส (2007)
- โนโวซีบีสค์ ประเทศรัสเซีย (2014)
- ออแดซา ประเทศยูเครน (1995)
- ชิงเต่า ประเทศจีน (2023)[72]
- รีกา ประเทศลัตเวีย (2013)
- รอสตอฟ-นา-โดนู ประเทศรัสเซีย (2005)
- เซาเปาลู ประเทศบราซิล (2002)
- สตัฟโรปอล ประเทศรัสเซีย (1994)
- ทบิลิซี ประเทศจอร์เจีย (1996)
- เตหะราน ประเทศอิหร่าน (2023)
- เวนิซ ประเทศอิตาลี (2011)
- วอลโกกราด ประเทศรัสเซีย (2015)
เมืองคู่ค้า
[แก้]เยเรวานเป็นเมืองคู่ค้ากับเมืองดังนี้:[73]
- อาชกาบัต ประเทศเติร์กเมนิสถาน (2014)
- เอเธนส์ ประเทศกรีซ (1993)
- ปักกิ่ง ประเทศจีน (2009)
- บูคาเรสต์ ประเทศโรมาเนีย (2013)
- เดลี ประเทศอินเดีย (2008)
- แคว้นอีล-เดอ-ฟร็องส์ ประเทศฝรั่งเศส (2011)
- ฮันตี-มันซิสค์ ประเทศรัสเซีย (2014)
- ลียง ประเทศฝรั่งเศส (1993)
- คาลินินกราด ประเทศรัสเซีย (2009)
- เคียฟ ประเทศยูเครน (1995)
- ครัสโนดาร์ ประเทศรัสเซีย (2014)
- มินสก์ ประเทศเบลารุส (2002)
- มอสโก ประเทศรัสเซีย (1995)
- ปารีส ประเทศฝรั่งเศส (2011)
- เปซาโร ประเทศอิตาลี (2017)
- พอดกอรีตซา ประเทศมอนเตเนโกร (1974)
- แกซวีน ประเทศอิหร่าน (2014)
- รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล (2007)
- เซนต์ปีเตอส์เบิร์ก ประเทศรัสเซีย (1997)
- โซเฟีย ประเทศบัลแกเรีย (2008)
- สเตพานาแกร์ต อาร์ตซัค (2012)
- ตอสคานา ประเทศอิตาลี (1996)
- วอร์ซอ ประเทศโปแลนด์ (2013)
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ อาร์มีเนีย: վարդագույն քաղաք[5] vardaguyn k’aghak’, แปลว่า "นครสีกุหลาบ"[6]
- ↑ แปลตรงตัวจาก "เมืองหลวง" (մայրաքաղաք, mayrak’aghak’) ในภาษาอาร์มีเนีย[9] หรือ อาร์มีเนีย: քաղաքամայր, k’aghak’amayr ประโยคอีกแบบที่มีความหมายดียวกัน[10]
- ↑ รูปสะกดแบบเดิม: Երեւան; ใน ค.ศ. 1922 ถึง 1940 สะกดเป็น Յերեվան[21]
- ↑ บางครั้งออกเสียงตามท้องถิ่นเป็น [ɛɾɛˈvɑn] ซึ่งสะกดเป็น Էրևան,[22][23] Ērevan
- ↑ ปรากฏเป็น 29,766 ในรายการสถานที่ที่มีประชากรในคอเคซัสในหน้า 213 ของ Caucasian Calendar ฉบับ ค.ศ. 1915
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Billock, Jennifer (28 December 2016). "How Ancient Volcanoes Created Armenia's Pink City". Smithsonian. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 January 2017. สืบค้นเมื่อ 2 January 2017.
- ↑ Hovasapyan, Zara (1 August 2012). "When in Armenia, Go Where the Armenians Go". Armenian National Committee of America. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 October 2014. สืบค้นเมื่อ 28 October 2014.
Made of local pink tufa stones, it gives Yerevan the nickname of "the Pink City.
- ↑ Dunn, Ashley (21 February 1988). "Pink Rock Comes as Gift From Homeland in Answer to Armenian College's Dreams". Los Angeles Times. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 December 2014. สืบค้นเมื่อ 28 October 2014.
To Armenians, though, the stone is unique. They often refer to Yerevan, the capital of their homeland, as "Vartakouyn Kaghak," or the "Pink City" because of the extensive use of the stone, which can vary from pink to a light purple.
- ↑ [1][2][3]
- ↑ "Տուֆ [Tuff]". encyclopedia.am (ภาษาอาร์เมเนีย). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 15 July 2015. สืบค้นเมื่อ 28 October 2014.
Երևանն անվանում են վարդագույն քաղաք, որովհետև մեր մայրաքաղաքը կառուցապատված է վարդագույն գեղեցիկ տուֆե շենքերով:
- ↑ "Old Yerevan". yerevan.am. Yerevan Municipality. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 October 2014. สืบค้นเมื่อ 28 October 2014.
Since this construction material gave a unique vividness and specific tint to the city, Yerevan was called "Rosy city".
- ↑ "the Maison des étudiants arméniens". Cité internationale universitaire de Paris.
...built a new “Mother-City”, Yerevan, to make it the capital of Armenia.
- ↑ Shagoyan, Gayane (2011). "The Second City as the First City". Urban Spaces After Socialism: Ethnographies of Public Places in Eurasian Cities. Campus Verlag. p. 69. ISBN 9783593393841.
When curfew was declared in Yerevan in 1988, it was announced at the rally held in Leninakan that the center of the Karabakh Movement would be moving from the capital (Mother City in Armenian) to the Father City.
- ↑ Manougian, Harout (September 14, 2021). "2021 Municipal Elections in Gyumri and Other Cities". EVN Report.
The translation of “capital city” in Armenian is literally “mother city”. It is a common refrain that while Yerevan is Armenia’s mother city...
- ↑ "Քաղաքամայր Երևանը տոնում է 2800-ամյա հոբելյանը. «Էրեբունի-Երևան» տոնակատարությունները մեկնարկում են մարաթոնով" (ภาษาอาร์เมเนีย). Armenpress. 21 October 2018.
- ↑ Smith, Adam T. (2012). ""Yerevan, My Ancient Erebuni"". ใน Hartley, Charles W.; Yazicioğlu, G. Bike; Smith, Adam T. (บ.ก.). The Archaeology of Power and Politics in Eurasia: Regimes and Revolutions. Cambridge University Press. p. 59. ISBN 9781107016521.
A Stratigraphic History of Yerevan [...] the earliest known built settlement in the area is the Early Bronze Age site of Shengavit...
- ↑ Simonyan, Hakob (13 December 2018). "Շենգավիթ՝ Երևանի հնագույն քաղաքատեղին [Shengavit: Yerevan's Most Ancient Settlement]". yhm.am (ภาษาอาร์เมเนีย). Yerevan History Museum. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 November 2020.
... ավելի քան 1200 տարի (Ք. ա. 3300-2100 թթ.) Շենգավիթի անընդմեջ բնակեցմանը [...] Շենգավիթ քաղաքատեղիի շերտերից վերցված փայտածխի՝ ռադիոածխածնային տարրալուծման մեթոդով ստացվող ամենավաղ տարիքը Ք. ա. 3300 թվականն է:
- ↑ Sarukhanyan, Petros (21 September 2011). Շնորհավո՛ր տոնդ, Երեւան դարձած իմ Էրեբունի. Hayastani Hanrapetutyun (ภาษาอาร์เมเนีย). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 July 2019. สืบค้นเมื่อ 1 February 2014.
Պատմական իրադարձությունների բերումով Երեւանին ուշ է հաջողվել քաղաք դառնալ։ Այդ կարգավիճակը նրան տրվել է 1879 թվականին, Ալեքսանդր Երկրորդ ցարի հոկտեմբերի 1—ի հրամանով։
{{cite news}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์)() - ↑ "Երևան [Yerevan]". Encyclopedia of Armenian History (ภาษาอาร์เมเนีย). Institute for Armenian Studies of Yerevan State University. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 April 2021. สืบค้นเมื่อ 5 April 2021.
1870 թ. սահմանված քաղաքային կանոնադրության համաձայն, որը Երևանում կիրառության մեջ է մտել 1879 թ. հոկտեմբերի 1-ից, ստեղծվել են քաղաքային խորհուրդ (դումա), վարչություն և տեղական ինքնակառավարման այլ մարմիններ:
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ Hovannisian, Richard (1971). The Republic of Armenia: The First Year, 1918–1919. University of California Press. p. 41. ISBN 9780520018051.
On July 19 the Armenian cabinet and National Council were greeted at the outskirts of Erevan by Aram, Dro, and General Nazarbekian. Together the entourage rode into the nation's capital.
- ↑ National Academy of Sciences of Armenia (2012). "Երևան [Yerevan]". ใน Ayvazyan, Hovhannes (บ.ก.). Հայաստան Հանրագիտարան [Armenia Encyclopedia] (ภาษาอาร์เมเนีย). Yerevan: Armenian Encyclopedia Publishing. p. 809.
1918-ի հուլիսին Երևան է տեղափոխվել նույն թվականի մայիսի 28-ին Թիֆլիսում հռչակված Հայաստանի Հանրապետության Կառավարությունը։ Երևանը դարձել է Հայաստանի առաջին հանրապետության մայրաքաղաքը։
- ↑ "Population Census 2011: Distribution of De facto and De jure Population (urban, rural) of RA Administrative Units by Sex, Women Table 1.1 according to 2001 and 2011 Population Censuses" (PDF). armstat.am. Statistical Committee of the Republic of Armenia. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 February 2021.
- ↑ 18.0 18.1 "The official estimate of the population in Armenia as of 01.01.2022" (PDF). Armstat. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 12 May 2022.
- ↑ Bell, Imogen (บ.ก.). "Armenia". Eastern Europe, Russia and Central Asia 2003 (3rd ed.). London: Taylor & Francis. p. 84. ISBN 9781857431377.
- ↑ "Sub-national HDI – Area Database – Global Data Lab". hdi.globaldatalab.org (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2018-09-13.
- ↑ Korkotyan, Zaven (1932). Խորհրդային Հայաստանի բնակչությունը վերջին հարյուրամյակում (1831-1931) [The population of Soviet Armenia in the last century (1831–1931)] (PDF) (ภาษาอาร์เมเนีย). Yerevan: Pethrat. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 February 2022.
- ↑ Shekoyan, Armen (24 June 2006). "Ծերունին եւ ծովը Գլուխ հինգերորդ [The Old Man and The Sea. Chapter Five]". Aravot (ภาษาอาร์เมเนีย). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2016. สืบค้นเมื่อ 17 January 2016.
– Ես առավո՛տը ղալաթ արի, որ չգացի Էրեւան,- ասաց Հերոսը.- որ հիմի Էրեւան ըլնեի, դու դժվար թե ըսենց բլբլայիր:
- ↑ "Ես քեզ սիրում եմ",- այս խոսքերը ասում եմ քեզ, ի'մ Էրևան, արժեր հասնել աշխարհի ծերը, որ էս բառերը հասկանամ...». panorama.am (ภาษาอาร์เมเนีย). 21 September 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2016. สืบค้นเมื่อ 17 January 2016.
- ↑ Bournoutian, George A. (2003). A Concise History of the Armenian People: From Ancient Times to the Present (2nd ed.). Costa Mesa, California: Mazda Publishers. ISBN 9781568591414.
- ↑ "Qahana.am". Qahana.am. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 October 2014. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ Katsenelinboĭgen, Aron (1990). The Soviet Union: Empire, Nation and Systems. New Brunswick: Transaction Publishers. p. 143. ISBN 0-88738-332-7.
- ↑ R. D. Barnett (1982). "Urartu". ใน John Boardman; I. E. S. Edwards; N. G. L. Hammond; E. Sollberger (บ.ก.). The Cambridge Ancient History, Vol. 3, Part 1: The Prehistory of the Balkans, the Aegean World, Tenth to Eighth Centuries BC (2nd ed.). Cambridge University Press. p. 346. ISBN 978-0521224963.
- ↑ Hovannisian, Richard G. (1971). The Republic of Armenia: The First Year, 1918–1919, Vol. I. Berkeley: University of California Press. pp. 126–127. ISBN 0-520-01984-9.
- ↑ "Yerevan named World Book Capital 2012 by UN cultural agency". UN News. 6 July 2010. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 February 2017. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ "Members List". eurocities.eu. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 June 2015. สืบค้นเมื่อ 8 January 2015.
- ↑ Marie-Félicité Brosset. Rapports sur un voyage archéologique dans la Georgie et dans l'Aarménie exécuté en 1847–1848. — Académie Impériale, 1849. — P. 116
- ↑ 32.0 32.1 32.2 (ในภาษาอาร์มีเนีย) Baghdasaryan A., Simonyan A, et al. "Երևան" (Yerevan). Soviet Armenian Encyclopedia Volume 3. Yerevan, Armenian SSR: Armenian Academy of Sciences, 1977, pp. 548–564.
- ↑ Israelyan, Margarit A. (1971). Էրեբունի: Բերդ-Քաղաքի Պատմություն [Erebuni: The History of a Fortress-City] (ภาษาอาร์เมเนีย). Yerevan: Hayastan Publishing Press. pp. 12–13.
- ↑ Bournoutian, George A. (1982). Eastern Armenia in the Last Decades of Persian Rule, 1807-1828: A Political and Socioeconomic Study of the Khanate of Erevan on the Eve of the Russian Conquest. Undena Publications. p. 3 (note 3). ISBN 978-0890031223.
Erevan is pronounced Yerevan and was called Iravan by Persian sources, and Erivan by Western and Russian sources of the time.
- ↑ Bournoutian, George A. (2021). From the Kur to the Aras: A Military History of Russia's Move into the South Caucasus and the First Russo-Iranian War, 1801-1813. Brill. p. xvii. ISBN 978-90-04-44515-4.
After the sixteenth century, almost all Armenian sources, including manuscripts, consistently refer to the present-day capital of Armenia as Yerevan. Russian sources in the period under discussion call it Erivan and the Iranians Iravan.
- ↑ ЭРИВАНИ Мирза Кадым Мамед-Гусейн оглы ЭРИДА. "ЭРИВАНЬ – это... Что такое ЭРИВАНЬ?". Dic.academic.ru. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2018. สืบค้นเมื่อ 2017-12-11.
- ↑ 37.0 37.1 (ในภาษาอาร์มีเนียและรัสเซีย) V. Azatian et T. Hakopian, Երևան Ереван Yerevan, ИПО Parberakan, Erevan, 1989, p. 284.
- ↑ Wallach, Omri (2020-10-30). "The 50 Highest Cities in the World". Visual Capitalist (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 November 2020. สืบค้นเมื่อ 2020-11-13.
- ↑ "Weather and Climate- The Climate of Yerevan" (ภาษารัสเซีย). Weather and Climate (Погода и климат). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 December 2018. สืบค้นเมื่อ 8 November 2021.
- ↑ "World Meteorological Organization Climate Normals for 1991–2020". World Meteorological Organization. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 October 2021. สืบค้นเมื่อ 9 October 2023.
- ↑ "Վարչական շրջաններ". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 October 2013. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ "Armstat:Yerevan population, 2011 census" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 31 December 2015. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ "Administrative districts of Yerevan". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2018. สืบค้นเมื่อ 9 February 2017.
- ↑ "OVERALL CHARACTERISTICS OF YEREVAN DISTRICT COMMUNITIES FOR 2015" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 17 September 2018. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ 45.0 45.1 45.2 45.3 (ในภาษาอาร์มีเนีย) M. Karapetyan (1986) "The Dynamics of the Number and Ethnic Structure of the Population of Yerevan in 1600–1724 เก็บถาวร 28 กันยายน 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน" Patma-Banasirakan Handes. pp. 95–109. ISSN 0135-0536
- ↑ 46.0 46.1 46.2 (ในภาษาอาร์มีเนีย) M. Karapetyan, Բնակչության էթնիկ կազմը և էթնիկ պրոցեսները Երևանում 1724–1800 թվականներին (Ethnic composition of the population of Yerevan and ethnographic processes in Yerevan from 1724 to 1800) เก็บถาวร 28 กันยายน 2018 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, Patma-Banasirakan Handes, 1987, Yerevan, Armenian National Academy of Sciences, ISSN 0135-0536
- ↑ (ในภาษาอาร์มีเนีย) Երևան քաղաքի բնակչության շարժընթացը 1824–1914թթ. Yerevan History Museum
- ↑ 48.0 48.1 48.2 48.3 48.4 48.5 Korkotyan, Zaven (1932). Խորհրդային Հայաստանի բնակչությունը վերջին հարյուրամյակում (1831-1931) [The population of Soviet Armenia in the last century (1831–1931)] (PDF) (ภาษาอาร์เมเนีย). Yerevan: Pethrat. pp. 164–167. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2 February 2022.
- ↑ (ในภาษารัสเซีย) Эривань // Географическо-статистический словарь Российской империи. Сост. по поручению Русского географического общества действ. член Общества П. Семёнов, при содействии действ. члена В. Зверинского. Т. V. Спб., 1885, с. 870.
- ↑ "Демоскоп Weekly - Приложение. Справочник статистических показателей". www.demoscope.ru. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 June 2020. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ Кавказский календарь на 1915 год [Caucasian calendar for 1915] (ภาษาRussian) (70th ed.). Tiflis: Tipografiya kantselyarii Ye.I.V. na Kavkaze, kazenny dom. 1915. pp. 254–257. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 November 2021.
{{cite book}}
: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์) - ↑ Кавказский календарь на 1917 год [Caucasian calendar for 1917] (ภาษาRussian) (72nd ed.). Tiflis: Tipografiya kantselyarii Ye.I.V. na Kavkaze, kazenny dom. 1917. pp. 367–370. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 November 2021.
{{cite book}}
: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์) - ↑ 53.0 53.1 53.2 53.3 "население армении". www.ethno-kavkaz.narod.ru. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 July 2015. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ "Демоскоп Weekly - Приложение. Справочник статистических показателей". www.demoscope.ru. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 August 2017. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ "Демоскоп Weekly - Приложение. Справочник статистических показателей". www.demoscope.ru. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 September 2017. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ "Демоскоп Weekly - Приложение. Справочник статистических показателей". www.demoscope.ru. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 January 2012. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021.
- ↑ Yerevan city: Ethnic Structure of De Jure Population เก็บถาวร 19 ตุลาคม 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน National Statistical Service of the Republic of Armenia
- ↑ Demographics of Yerevan 2011 เก็บถาวร 28 พฤษภาคม 2014 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน National Statistical Service of the Republic of Armenia 2011
- ↑ 2001 Census : ArmStat เก็บถาวร 4 มีนาคม 2016 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน.
- ↑ "ArmStat, 2003 Census" (PDF). เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 10 September 2008. สืบค้นเมื่อ 21 March 2008.
- ↑ Ramirez-Faria, Carlos (2007). Concise Encyclopaedia of World History. Atlantic. pp. 42–44. ISBN 978-81-269-0775-5. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 October 2015. สืบค้นเมื่อ 29 October 2015.
- ↑ Tavernier, Jean-Baptiste. Les six voyages en Turquie, en Perse et aux Indes, Volume 1, p. 623 เก็บถาวร 12 กันยายน 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ
<ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อv8f5
- ↑ Bournoutian 1980, p. 13.
- ↑ (ในภาษารัสเซีย) 1897 Census, Erivan City เก็บถาวร 2 พฤษภาคม 2019 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน Demoscope Weekly
- ↑ Kettenhofen, Bournoutian & Hewsen 1998, pp. 542–551.
- ↑ Hovannisian, Richard G. (3 January 1971). "The Republic of Armenia". Berkeley, University of California Press. สืบค้นเมื่อ 3 January 2021 – โดยทาง Internet Archive.
- ↑ Language Policy in the Soviet Union เก็บถาวร 27 พฤษภาคม 2020 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน by Lenore A. Grenoble. Springer: 2003, p.135 ISBN 1-4020-1298-5
- ↑ "Indians in Armenia – why they're coming and what they're doing here". jam-news.net. 21 January 2019. สืบค้นเมื่อ 19 September 2019.
- ↑ "Armenia's migration authorities report unprecedented growth in Indians travelers' number". Tert.am. 1 September 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 1 August 2020. สืบค้นเมื่อ 19 September 2019.
- ↑ "Sister cities". Yerevan Municipality. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 29 March 2017. สืบค้นเมื่อ 2020-06-29.
- ↑ "Yerevan, China's Qingdao twinned". Armenpress News Agency. Yerevan. 20 June 2023. สืบค้นเมื่อ 21 June 2023.
- ↑ "Partner cities". Yerevan Municipality. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 August 2014. สืบค้นเมื่อ 2020-06-29.
บรรณานุกรม
[แก้]- Bournoutian, George (2018). Armenia and Imperial Decline: The Yerevan Province, 1900-1914. Routledge.
- Bournoutian, George A. (1980). "The Population of Persian Armenia Prior to and Immediately Following its Annexation to the Russian Empire: 1826-1832" (PDF). The Wilson Center, Kennan Institute for Advanced Russian Studies.
- Hakopian, T. Kh. "The History of Yerevan." Old Yerevan (2003): 10–39.
- Kettenhofen, Erich; Bournoutian, George A.; Hewsen, Robert H. (1998). "EREVAN". Encyclopaedia Iranica, Vol. VIII, Fasc. 5. pp. 542–551.
- Lindsay, Ian, and Adam T. Smith. "A History of Archaeology in the Republic of Armenia." Journal of field archaeology 31.2 (2006): 165–184. online[ลิงก์เสีย]
- Vardanyan, Sergey. "The capitals of Armenia", Apolo 1995. ISBN 5-8079-0778-7
- G. Zakoyan, M. Sivaslian, V. Navasardian. "My Yerevan," Acnalis 2001. ISBN 99930-902-0-4
- เยเรวาน ที่ GEOnet Names Server
- Evliya Çelebi (1834). "Description of the Town of Erivan". Narrative of Travels in Europe, Asia, and Africa, in the Seventeenth Century. Vol. 2. Translated by Joseph von Hammer-Purgstall. London: Oriental Translation Fund.
แหล่งข้อมูลอื่น
[แก้]- หน้าที่มีสัทอักษรสากลไม่ระบุภาษา
- CS1 แหล่งที่มาภาษาอาร์เมเนีย (hy)
- บทความที่มีข้อความที่อาจล้าสมัยตั้งแต่ 2011
- บทความที่ขาดแหล่งอ้างอิงที่น่าเชื่อถือตั้งแต่June 2018
- บทความที่มีลิงก์เสียตั้งแต่July 2022
- เยเรวาน
- เมืองในประเทศอาร์มีเนีย
- เมืองหลวงในทวีปยุโรป
- เมืองหลวงในทวีปเอเชีย
- บทความเกี่ยวกับ ประเทศและเขตการปกครอง ที่ยังไม่สมบูรณ์