อูลานบาตาร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
อูลานบาตาร์
เมืองหลวง
การถอดเสียงซีริลลิกทางการ
 • ซีริลลิกมองโกเลียУлаанбаатар
 • การถอดเสียงUlaanbaatar
การถอดเสียงอักษรมองโกเลียตามแบบแผน
 • อักษรมองโกเลียᠤᠯᠠᠭᠠᠨᠪᠠᠭᠠᠲᠤᠷ (Ulaghanbaghatur.svg)
 • การถอดเสียงUlaγanbaγatur
ภาพมองมุมกว้างของกรุงอูลานบาตาร์
ภาพมองมุมกว้างของกรุงอูลานบาตาร์
ธงของอูลานบาตาร์
ธง
ตราราชการของอูลานบาตาร์
ตราอาร์ม
สมญา: 
УБ (UB), Нийслэл (เมืองหลวง), Хот (เมือง), Азийн цагаан дагина (นางฟ้าขาวแห่งเอเชีย)
พิกัด: 47°55′N 106°55′E / 47.917°N 106.917°E / 47.917; 106.917
ประเทศธงของประเทศมองโกเลีย มองโกเลีย
จัดตั้งเป็น Örgöö: ᠥᠭᠦᠭᠡพ.ศ. 2182
สถานที่ปัจจุบันพ.ศ. 2321
เป็นเมืองหลวงของมองโกเลียพ.ศ. 2467
พื้นที่
 • ทั้งหมด4,704.4 ตร.กม. (1,816.3 ตร.ไมล์)
ความสูง1,350 เมตร (4,429 ฟุต)
ประชากร
 (2011-12-30)
 • ทั้งหมด1,206,600 คน
 • ความหนาแน่น235 คน/ตร.กม. (603 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+8 (H)
รหัสไปรษณีย์210 xxx
รหัสพื้นที่+976 (0)11
ป้ายทะเบียนพาหนะУБ_ (_ variable)
ISO 3166-2MN-1
เว็บไซต์www.ulaanbaatar.mn

อูลานบาตาร์[1] (มองโกเลีย: Улаанбаатар, เสียงอ่าน: [ʊɮɑːm.bɑːtʰɑ̆r]) เป็นเมืองหลวงของมองโกเลีย ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 มีการประมาณจำนวนประชากรไว้ที่ 961,900 คน[2]

ชื่อในอดีตของอูลานบาตาร์[แก้]

เมืองอูลานบาตาร์มีชื่อเรียกต่าง ๆ ในประวัติศาสตร์ ระหว่าง พ.ศ. 2182พ.ศ. 2249 มีชื่อว่า อูร์กา Urga (ซึ่งเป็นรูปภาษารัสเซียของคำภาษามองโกเลียว่า: Өргөө [Örgöö] = “กระโจมราชวัง”) และระหว่าง พ.ศ. 2249–พ.ศ. 2454 มีชื่อว่า คูเร Khuree (ภาษามองโกเลีย: Хүрээ [Hüree] = “ค่าย”) และภายหลังเรียกว่า อิคคูเร Ikh Khuree (ภาษามองโกเลีย: Их Хүрээ [Ih Hüree] = “ค่ายใหญ่”) และมีชื่อจีนว่า K'ulun เมื่อได้รับเอกราชพ.ศ. 2454 มีทั้งรัฐบาลและราชวังของบอกด์ ข่าน ชื่อเมืองเปลี่ยนแปลงอีกครั้งเป็น นีสเล็ลคูเร Niislel Khuree (Mongolian: Нийслэл Хүрээ [Niislel Hüree] = “เมืองหลวง”)

เมื่อนีสเล็ลคูเรกลายเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียเมื่อพ.ศ. 2467 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น Улаанбаатар (แปลว่า "วีรบุรุษแดง") เป็นเกียรติแก่วีรบุรุษของมองโกเลียชื่อ ดัมดิน ซุคบาทาร์ ที่ได้ปลดปล่อยมองโกเลียจากกองทัพของอุงแกร์น ฟอน สแตร์นแบร์ก จากการยึดครองของจีน และได้เรียกกองทัพโซเวียตเข้ามา รูปปั้นของเขายังคงตั้งอยู่ที่จัตุรัสกลางของอูลานบาตาร์ ในภาษาอังกฤษ มักเรียกอูลานบาตาร์ว่า Urga (และบางครั้ง Kuren) ก่อน พ.ศ. 2467 และ Ulan Bator หลังจากนั้น

ประวัติศาสตร์[แก้]

ภูมิศาสตร์[แก้]

อูลานบาตาร์ยุคปัจจุบันตั้งอยู่ทางตะวันออกเล็กน้อยของศูนย์กลางของมองโกเลียนอกที่ 47°55′12″N 106°55′12″E / 47.92000°N 106.92000°E / 47.92000; 106.92000 (47.92° เหนือ 106.92° ตะวันออก) บนแม่น้ำโทลก็อล (Туул гол) (หรือโทลา [Tola]) เป็นแม่น้ำแม่น้ำสาขาย่อยของแม่น้ำเซเลงกา ในหุบเขาที่เชิงภูเขาบ็อกโดล (Богд уул)

เมื่องเก่าตั้งอยู่ที่ 48 20' เหนือ 107 30' ตะวันออก บนแขนงของแม่น้ำตูล

ภูมิอากาศ[แก้]

ภูมิอากาศของอูลานบาตาร์

อูลานบาตาร์เป็นเมืองหลวงที่หนาวที่สุดในโลกโดยมีอุณหภูมิเฉลี่ยทั้งปี −0.4 °C[3]

ข้อมูลภูมิอากาศของอูลานบาตาร์
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -1.9
(28.6)
7.7
(45.9)
18.7
(65.7)
25.5
(77.9)
33.8
(92.8)
34.7
(94.5)
35.1
(95.2)
36.9
(98.4)
30.8
(87.4)
24.1
(75.4)
12.9
(55.2)
-1.5
(29.3)
36.9
(98.4)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) −15.6
(3.9)
−11.4
(11.5)
−2.0
(28.4)
8.3
(46.9)
16.8
(62.2)
21.6
(70.9)
22.7
(72.9)
21.5
(70.7)
15.6
(60.1)
6.8
(44.2)
−4.4
(24.1)
−13.7
(7.3)
5.52
(41.93)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) -24.6
(-12.3)
-20.6
(-5.1)
-9.8
(14.4)
0.3
(32.5)
8.9
(48)
14.6
(58.3)
16.6
(61.9)
14.7
(58.5)
7.3
(45.1)
-1.1
(30)
-13.2
(8.2)
-21.9
(-7.4)
−2.4
(27.68)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) −26.5
(−15.7)
−24.1
(−11.4)
−15.4
(4.3)
−5.8
(21.6)
2.7
(36.9)
8.3
(46.9)
11.2
(52.2)
9.3
(48.7)
2.2
(36)
−6.0
(21.2)
−16.2
(2.8)
−23.8
(−10.8)
−7.01
(19.38)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) -44.2
(-47.6)
-40.6
(-41.1)
-35.1
(-31.2)
-26.1
(-15)
-14.6
(5.7)
-6.4
(20.5)
-3.0
(26.6)
-5.6
(21.9)
-18.0
(-0.4)
-25.3
(-13.5)
-36.0
(-32.8)
-41.6
(-42.9)
−44.2
(−47.6)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 1.1
(0.043)
1.7
(0.067)
2.7
(0.106)
8.3
(0.327)
13.4
(0.528)
41.7
(1.642)
57.6
(2.268)
51.6
(2.031)
26.2
(1.031)
6.4
(0.252)
3.2
(0.126)
2.5
(0.098)
216.4
(8.52)
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย 0.3 0.5 0.7 2.2 3.4 9.9 11.0 13.6 4.5 2.1 1.2 1.5 50.9
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 176.1 204.8 265.2 262.5 299.3 269.0 249.3 258.3 245.7 227.5 177.4 156.4 2,791.5
แหล่งที่มา: NOAA (1961-1990) [4]

เมืองพี่น้อง[แก้]

เสาประทับตราเมืองพี่น้อง[5]
ภาพพาโนรามาเมืองอูลานบาตาร์ ค.ศ. 2009

อ้างอิง[แก้]

  1. "ประกาศสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เรื่อง กำหนดชื่อประเทศ ดินแดน เขตการปกครอง และเมืองหลวง" (PDF). ราชกิจจานุเบกษา. 139 (พิเศษ 205 ง). 1 กันยายน 2565.
  2. "สำเนาที่เก็บถาวร" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2006-10-12. สืบค้นเมื่อ 2006-10-25.
  3. "Climatological Normals of Ulan Bator". Hong Kong Observatory. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-10-23. สืบค้นเมื่อ 2010-04-14.
  4. "Ulan Bator Climate Normals 1961-1990". National Oceanic and Atmospheric Administration. สืบค้นเมื่อ January 14, 2013.
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 "Улаанбаатар хотын ах, дүү хотууд". ub.gov.mn. สืบค้นเมื่อ 2012-04-18.[ลิงก์เสีย]
  6. Seoul Metropolitan Government. "Sister Cities". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-25. สืบค้นเมื่อ 2013-03-20.
  7. Контакты с иностранными городами Внешние связи — официальный сайт администрации города Красноярска แม่แบบ:Ref-ruแม่แบบ:Ref-enแม่แบบ:Ref-de
  8. "Irkutsk sister cities". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-26. สืบค้นเมื่อ 2013-03-20.
  9. "Chairman of the Committee for External Relations of St. Petersburg". Translate.google.com. สืบค้นเมื่อ 2012-04-18.
  10. "Ulan Ude looking for sister cities". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-05-11. สืบค้นเมื่อ 2013-03-20.
  11. "Denver Sister Cities". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-08. สืบค้นเมื่อ 2013-03-20.
  12. "Business Gold Coast. Gold Coast Business News . Business Events . Business Resources - Sister Cities & International Partnerships". BusinessGC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-11-01. สืบค้นเมื่อ 2012-04-18.
  13. "Delhi to London, it's a sister act". The Times Of India. July 7, 2002.