205
การแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
Tropicalkitty (คุย | ส่วนร่วม) ล (Reverted 1 edit by 2001:44C8:4517:D70F:1:0:6EBF:B771 (talk) to last revision by EZBELLA. (TW)) ป้ายระบุ: ทำกลับ |
||
{{about|ทวีป|ความหมายอื่น|ยุโรป (แก้ความกำกวม)}}
{{กล่องข้อมูล ทวีป
| ชื่อ = ยุโรป<br />Europe
| ภาพ = [[ไฟล์:Europe orthographic Caucasus Urals boundary (with borders).svg|220px]]
| พื้นที่ = 10,180,000 [[ตารางกิโลเมตร|ตร.กม.]] (อันดับที่ 6)
| ประชากร = {{UN_Population|Europe}} ({{UN_Population|Year}} [[List of continents by population|อันดับ 3]]) {{UN_Population|ref}}
| ความหนาแน่น = 72.9 คน/ตร.กม. (อันดับที่ 2)
| เดมะนิม = [[กลุ่มชาติพันธุ์ในทวีปยุโรป|ชาวยุโรป]] (European)
| ประเทศ = ~[[รายชื่อประเทศและดินแดนในทวีปยุโรป| 44 ประเทศ]]<br /> (รับรองบางส่วน ~[[รายชื่อประเทศและดินแดนในทวีปยุโรป#รัฐที่ได้รับการรับรองบางส่วน|1 ประเทศ]])<!--หมายเหตุ: "~" แสดงจำนวนประมาณ-->
| ดินแดน = {{Collapsible list
| title = [[รายชื่อประเทศและดินแดนในทวีปยุโรป#ดินแดน|4 ดินแดน]]
| list_style = text-align:left;
| {{flag|ยิบรอลตาร์}} | {{flag|เกาะแมน}} | {{flag|เกิร์นซีย์}} | {{flag|เจอร์ซีย์}}
}}<!--หมู่เกาะแฟโรและหมู่เกาะโอลันด์ถือเป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของประเทศ มิใช่ดินแดน-->
|รายชื่อประเทศที่ไม่ใช่สมาชิก UN# 2 ประเทศ
| {{นครรัฐวาติกัน}} | {{คอซอวอ}}
| ภาษา = ~[[ภาษาในทวีปยุโรป|225 ภาษา]]<ref>[http://edl.ecml.at/LanguageFun/LanguageFacts/tabid/1859/Default.aspx Language facts – European day of languages ("ข้อเท็จจริงเรื่องภาษา - วันภาษาแห่งยุโรป")], Council of Europe. สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2559</ref>
| เวลา = [[UTC−01:00|UTC−1]]<!--อะโซร์ส--> ถึง [[UTC+05:00|UTC+5]]<!--รัสเซียและคาซัคสถาน-->
| เมือง = {{collapsible list
| titlestyle = background:transparent;text-align:left;font-weight:normal;
| title = [[รายชื่อชุมชนเมืองในทวีปยุโรป|ชุมชนเมืองที่ใหญ่ที่สุด]]<ref>''[http://esa.un.org/unpd/wup/CD-ROM/WUP2014_XLS_CD_FILES/WUP2014-F22-Cities_Over_300K_Annual.xls Annual Population of Urban Agglomerations with 300,000 Inhabitants or More in 2014, by Country, 1950-2030 (thousands)], [http://esa.un.org/unpd/wup/CD-ROM/ World Urbanization Prospects, the 2014 revision]'', Population Division of the [[United Nations Department of Economic and Social Affairs]]. สืบค้นเมื่อ 21 กันยายน 2559. หมายเหตุ: รายชื่อจากการประมาณค่าในปี 2015 จากปี 2014</ref>
<!--1-->|{{flagicon|TUR}} [[อิสตันบูล]]<!--14,163,989--><br />{{small| (ข้ามทวีป)}}<ref group=หมายเหตุ>[[อิสตันบูล]]ถือเป็นเมืองข้ามทวีป (เอเชียและยุโรป) ซึ่งศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจของเมืองรวมทั้งประชากรเมืองราว 2 ใน 3 อาศัยอยู่ในฝั่งทวีปยุโรป ส่วนประชากรอีกราว 1 ใน 3 อาศัยอยู่ในฝั่งทวีปเอเชีย</ref>
<!--2-->|{{flagicon|RUS}} [[มอสโก]]<!--12,165,704-->
<!--3-->|{{flagicon|FRA}} [[ปารีส]]<!--10,843,285-->
<!--4-->|{{flagicon|UK}} [[ลอนดอน]]<!--10,313,307-->
<!--5-->|{{flagicon|ESP}} [[มาดริด]]<!--6,199,254-->
<!--6-->|{{flagicon|ESP}} [[บาร์เซโลนา]]<!--5,258,319-->
<!--7-->|{{flagicon|RUS}} [[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]]<!--4,992,991-->
<!--8-->|{{flagicon|ITA}} [[โรม]]<!--3,717,956-->
<!--9-->|{{flagicon|GER}} [[เบอร์ลิน]]<!--3,563,194-->
}}
}}
'''ทวีปยุโรป''' (อ่านว่า "ยุ-โหฺรบ") เป็น[[ทวีป]]ที่ตั้งอยู่ใน[[ซีกโลกเหนือ]]และส่วนมากอยู่ใน[[ซีกโลกตะวันออก]] ทางเหนือติดกับ[[มหาสมุทรอาร์กติก]] ทางใต้ติดกับ[[ทะเลเมดิเตอร์เรเนียน]] ทางตะวันออกติดกับ[[ทวีปเอเชีย]] ทางตะวันตกติดกับ[[มหาสมุทรแอตแลนติก]] เป็นอนุทวีปทางด้านตะวันตกของ[[ทวีปยูเรเชีย]]
ตั้งแต่ประมาณ 1850 การ[[Borders of the continents#Europe and Asia|แบ่งยุโรปกับเอเชีย]]มักยึดตาม[[สันปันน้ำ]]ของ[[เทือกเขายูรัล]]และ[[เทือกเขาคอเคซัส]] [[ แม่น้ำยูรัล]] [[ทะเลแคสเปียน]] [[ทะเลดำ]]และ[[ช่องแคบตุรกี]]<ref name="NatlGeoAtlas">{{Cite book|title=National Geographic Atlas of the World|edition=7th|year=1999|location=Washington, DC|publisher=[[National Geographic Society|National Geographic]]|isbn=0-7922-7528-4}} "Europe" (pp. 68–69) ; "Asia" (pp. 90–91) : "A commonly accepted division between Asia and Europe ... is formed by the Ural Mountains, Ural River, Caspian Sea, Caucasus Mountains, and the Black Sea with its outlets, the Bosporus and Dardanelles."</ref> แม้คำว่า "ทวีป" จะหมายถึง[[ภูมิศาสตร์กายภาพ]]ของผืนดินขนาดใหญ่ที่ไม่มีการแบ่งอย่างแน่นอนและชัดเจน จึงมีการโยกย้ายติดต่อกันในช่วงสมัยคลาสสิก ทำให้บริเวณชายแดนยุโรปกับเอเชียของยูเรเชียนั้นแสดงให้เห็นความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรม ภาษา ความแตกต่างทางชาติพันธุ์ของตะวันออกกับตะวันตกและแบ่งจากกันอย่างเด่นชัดกว่าการขีดเส้นแบ่งเขตแดน เส้นแบ่งเขตแดนของทวีปไม่ได้แบ่งตามเส้นแบ่งเขตแดนทางการเมืองทำให้[[ตุรกี]] [[รัสเซีย]]และ[[คาซัคสถาน]]เป็น[[ประเทศข้ามทวีป]]
ยุโรปมีพื้นที่ประมาณ 10,180,000 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 2% ของผิวโลก (6.8% ของผืนดิน) ในทางการเมือง[[รายชื่อรัฐอธิปไตยและเขตปกครองในทวีปทวีปยุโรป|ยุโรปมีรัฐอธิปไตยและเขตปกครองกว่า 50 รัฐ]] ซึ่งมี[[รัสเซีย]]เป็นประเทศที่ใหญ่และมีประชากรมากที่สุด โดยกินพื้นที่ทวีปยุโรป 39% และมีประชากรทั้งหมด 15% ของทวีป ใน {{UN_Population|Year}} ยุโรปมีประชากรประมาณ {{#expr:{{replace|{{UN_Population|Europe}}|,||}}/1e6 round 0}} ล้านคน{{UN_Population|ref}} (หรือ 11% ของ[[ประชากรโลก]]) [[ภูมิอากาศยุโรป]]ส่วนใหญ่ได้รับผลกระทบจากกระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแอตแลนติกทำให้ภายในทวีปจะมีอากาศหนาวจัดในฤดูหนาวและร้อนในฤดูร้อนแม้ใน[[ละติจูด]]เดียวกันในเอเชียกับอเมริกาเหนือจะมีสภาพอากาศที่รุนแรง ยุโรปภาคพื้นทวีปจะเห็นความแตกต่างตามฤดูกาลได้ชัดเจนกว่าบริเวณชายฝั่ง
ทวีปยุโรปโดยเฉพาะ[[กรีซโบราณ]]เป็นแหล่งกำเนิด[[วัฒนธรรมตะวันตก]]<ref>{{harvnb|Lewis|Wigen|1997|page=226}}</ref><ref>{{cite book|author=Kim Covert|title=Ancient Greece: Birthplace of Democracy|url=https://books.google.com/books?id=KVMYJNvUiYkC&pg=PP5|date=1 July 2011|publisher=Capstone|isbn=978-1-4296-6831-6|page=5|quote=Ancient Greece is often called the cradle of western civilization. ... Ideas from literature and science also have their roots in ancient Greece.}}</ref><ref name="Duchesne2011">{{cite book|author=Ricardo Duchesne|title=The Uniqueness of Western Civilization|url=https://books.google.com/books?id=pWmDPzPo0XAC&pg=PA297|date=7 February 2011|publisher=Brill|isbn=90-04-19248-4|page=297|quote=The list of books which have celebrated Greece as the “cradle” of the West is endless; two more examples are Charles Freeman's The Greek Achievement: The Foundation of the Western World (1999) and Bruce Thornton's Greek Ways: How the Greeks Created Western Civilization (2000)}}</ref> การล่มสลายของ[[จักรวรรดิโรมันตะวันตก]]ใน ค.ศ 476 และ[[สมัยการย้ายถิ่น]]ช่วงต่อมา เป็นจุดจบของ[[สมัยโบราณ]]และเป็นจุดเริ่มต้นของ[[สมัยกลาง]] [[มนุษยนิยมสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา]] [[ยุคแห่งการสำรวจ]] [[Renaissance art|ศิลปะ]]และ[[Renaissance science|วิทยาศาสตร์]]อันเป็นเป็นรากฐานนำไปสู่[[สมัยใหม่]] ตั้งแต่[[ยุคแห่งการสำรวจ]]เป็นต้นมานั้นยุโรปมีบทบาทสำคัญระดับโลกในด้านเศรษฐกิจ ระหว่างศตวรรษที่ 16 ถึง 20 ประเทศในยุโรป[[สมัยอาณานิคมยุโรป|มีอำนาจปกครอง]]หลาย ๆ ครั้งใน[[ทวีปอเมริกา]] เกือบทั้งหมดของ[[แอฟริกา]]และ[[โอเชียเนีย]]ร่วมถึงพื้นที่ส่วนใหญ่ของ[[เอเชีย]]
[[ยุคเรืองปัญญา]]หลังจาก[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]]และ[[สงครามนโปเลียน]]ส่งผลให้เกิดการปฏิรูปวัฒนธรรม การเมืองและเศรษฐกิจในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 ถึงครึ่งแรกของศตวรรษที่ 19 [[การปฏิวัติอุตสาหกรรม]]ใน[[สหราชอาณาจักร]]ช่วงปลายศตวรรษที่ 18 ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมเป็นอย่างมากใน[[ยุโรปตะวันตก]]และขยายไปทั่วทั้งโลกในเวลาต่อมา [[สงครามโลก]]ทั้ง 2 ครั้งมีสมรภูมิส่วนใหญ่อยู่ในทวีปยุโรปนั้น ทำให้ช่วงกลางศตวรรษที่ 20 [[สหภาพโซเวียต]]และ[[สหรัฐ]]ขึ้นมามีอำนาจในขณะที่ประเทศยุโรปตะวันตกส่วนใหญ่มีอำนาจลดลง<ref name="natgeo 534">National Geographic, 534.</ref> ระหว่าง[[สงครามเย็น]]ยุโรปถูกแบ่งด้วย[[ม่านเหล็ก]]ระหว่าง[[เนโท]]ทางตะวันตกกับ[[กติกาสัญญาวอร์ซอ]]ในตะวันออก จนกระทั่งสิ้นสุดลงหลัง[[การปฏิวัติ ค.ศ. 1989]]และ[[กำแพงเบอร์ลิน#การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน|การล่มสลายของกำแพงเบอร์ลิน]]
ใน ค.ศ. 1949 [[สภายุโรป]]ก่อตั้งขึ้นตามคำปราศรัยของ เซอร์[[วินสตัน เชอร์ชิล]] ซึ่งมีแนวคิดในการรวมยุโรปเพื่อให้บรรลุเป้าหมายร่วมกัน ทุกประเทศในยุโรปเป็นสมาชิกยกเว้น[[เบลารุส]] [[คาซัคสถาน]]และ[[นครรัฐวาติกัน]] [[การบูรณาการยุโรป]]อื่น ๆ อย่างการรวมกลุ่มโดยบางประทศนำไปสู่การก่อตั้ง[[สหภาพยุโรป]] (อียู) ซึ่งเป็นสหภาพทางเศรษฐกิจและการเมืองซึ่งมีรูปแบบ[[สมาพันธรัฐ]]และ[[สหพันธรัฐ]]<ref>{{cite web|url=http://www.ies.ee/iesp/No11/articles/03_Gabriel_Hazak.pdf|title=The European union—a federation or a confederation?|publisher=}}</ref> สหภาพยุโรปก่อตั้งขึ้นในยุโรปตะวันตกแต่เริ่มเพิ่มสมาชิกในยุโรปตะวันออกตั้งแต่[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]]ในปี 1991 ประเทศที่เป็นสมาชิกของสหภาพยุโรปส่วนใหญ่ใช้สกุลเงิน[[ยูโร]]ซึ่งชาวยุโรปนิยมใช้กันทั่วไป; และใน[[เขตเชงเก้น]]ของอียูจะยกเลิกการควบคุมชายแดนและการอพยพระหว่างประเทศสมาชิก [[เพลงประจำสหภาพยุโรป]]คือ "[[ปีติศังสกานท์]]"และมี[[วันยุโรป]]เพื่อการเฉลิมฉลองสันติภาพและเอกภาพประจำปีในทวีปยุโรป
{{TOC limit|3}}
== ที่สุดในทวีปยุโรป==
|
การแก้ไข