ข้ามไปเนื้อหา

เขตสาทร

พิกัด: 13°42′29″N 100°31′34″E / 13.708°N 100.526°E / 13.708; 100.526
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตสาทร
การถอดเสียงอักษรโรมัน
 • อักษรโรมันKhet Sathon
สวนสาธารณะคลองช่องนนทรี
คำขวัญ: 
สำเภาทองล้ำค่า
สุสานสวนป่าร่มเย็น
เน้นนโยบายเมืองน่าอยู่
สถาบันให้ความรู้มากมี
จุดรวมสถานที่แหล่งทูต
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตสาทร
แผนที่กรุงเทพมหานคร เน้นเขตสาทร
พิกัด: 13°42′29″N 100°31′35″E / 13.70806°N 100.52639°E / 13.70806; 100.52639
ประเทศ ไทย
เขตปกครองพิเศษกรุงเทพมหานคร
พื้นที่
 • ทั้งหมด9.326 ตร.กม. (3.601 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2566)
 • ทั้งหมด71,306[1] คน
 • ความหนาแน่น7,645.94 คน/ตร.กม. (19,802.9 คน/ตร.ไมล์)
รหัสไปรษณีย์10120
รหัสภูมิศาสตร์1028
ที่อยู่
สำนักงาน
เลขที่ 59 ซอยจันทน์ 18/7 แยก 1 (หน้าเขต) ถนนจันทน์ แขวงทุ่งวัดดอน เขตสาทร กรุงเทพมหานคร 10120
เว็บไซต์www.bangkok.go.th/sathon
สารานุกรมประเทศไทย ส่วนหนึ่งของสารานุกรมประเทศไทย

สาทร เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร มีอาคารสำนักงานที่ตั้งธุรกิจและสถานทูตจำนวนมาก

ที่ตั้งและอาณาเขต

[แก้]

เขตสาทรตั้งอยู่บริเวณทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาหรือฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับพื้นที่การปกครองต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกาดังนี้

ประวัติศาสตร์

[แก้]

พื้นที่เขตสาทรเดิมขึ้นอยู่กับอำเภอบ้านทะวาย จังหวัดพระนคร ต่อมาอำเภอนี้เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอยานนาวาและเขตยานนาวา กรุงเทพมหานครในสมัยต่อมา

ภายหลังพื้นที่เขตยานนาวามีความเจริญและมีประชากรหนาแน่นขึ้น พื้นที่บางแห่งอยู่ไกลจากสำนักงานเขต กรุงเทพมหานครจึงได้รวมแขวงยานนาวา แขวงทุ่งวัดดอน และแขวงทุ่งมหาเมฆให้อยู่ในการดูแลของสำนักงานเขตยานนาวา สาขา 1 (แขวงยานนาวา) และท้องที่ดังกล่าวได้ยกฐานะเป็น เขตสาธร ในวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตยานนาวา ตั้งเขตสาธรและเขตบางคอแหลม โดยนำชื่อคลองและถนนสาธรมาตั้งเป็นชื่อของเขตโดยอนุโลม

ต่อมาในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2542 กระทรวงมหาดไทยได้ประกาศเปลี่ยนแปลงชื่อเขตสาธรเป็น เขตสาทร เนื่องจากคำว่า สาธร ไม่มีความหมายในพจนานุกรม ส่วนคำว่า สาทร มีความหมายว่า "เอื้อเฟื้อ, เอาใจใส่" และเพื่อเป็นการให้เกียรติแก่หลวงสาทรราชายุตก์ (ยม) ขุนนางและคหบดีในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นผู้ขุดคลองอันเป็นที่มาของชื่อเขต ดังนั้นชื่อเขตสาธร คลองสาธร ถนนสาธรเหนือ ถนนสาธรใต้ และซอยย่อยของถนนสาธร จึงต้องสะกดเป็น "สาทร" ทั้งหมด[2]

การแบ่งเขตการปกครอง

[แก้]

เขตสาทรแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง ได้แก่

หมาย
เลข
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2566)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2566)
แผนที่
1.
ทุ่งวัดดอน Thung Wat Don
3.195
34,618
10,835.05
แผนที่
2.
ยานนาวา Yan Nawa
2.090
18,132
8,675.60
3.
ทุ่งมหาเมฆ Thung Maha Mek
4.041
18,556
4,591.93
ทั้งหมด
9.326
71,306
7,645.94

ประชากร

[แก้]

การคมนาคม

[แก้]
ถนนสาทรใต้ด้านหน้าโบสถ์เซนต์หลุยส์ เห็นเสาตอม่อและทางวิ่งของรถไฟฟ้าบีทีเอส โดยมีตึกมหานครอยู่ด้านหลัง
ถนนนางลิ้นจี่ด้านหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ

ในพื้นที่เขตสาทรมีทางสายหลัก ได้แก่

ส่วนทางสายรอง ได้แก่

และยังมีสะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา 1 แห่ง คือ สะพานสมเด็จพระเจ้าตากสิน

สถานที่สำคัญ

[แก้]
เอ็มไพร์ ทาวเวอร์

สถานที่ท่องเที่ยว

[แก้]

สถานเอกอัครราชทูต

[แก้]

อาคารสำนักงาน

[แก้]
อาคารไทย ซีซี

สถาบันทางการศึกษา

[แก้]

สถานพยาบาล

[แก้]

ศาสนสถาน

[แก้]
วัดปรก

วัด

[แก้]

โบสถ์และคริสตจักร

[แก้]

มัสยิด

[แก้]

ฮินดู

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "สถิติประชากรและบ้าน - จำนวนประชากรแยกรายอายุ." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/stat/statnew/upstat_age.php. สืบค้น 26 มกราคม 2567.
  2. สติ๊กเกอร์รถพยาบาล สาธร-สาทร คอลัมน์ รู้ไปโม้ด
  3. สำนักบริหารการทะเบียน. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "จำนวนประชากรและบ้าน." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.dopa.go.th/xstat/popyear.html 2556. สืบค้น 3 เมษายน 2556.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]

13°42′29″N 100°31′34″E / 13.708°N 100.526°E / 13.708; 100.526