ข้ามไปเนื้อหา

ฉบับร่าง:การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2568

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดในประเทศไทย พ.ศ. 2568

← 2567 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568

จำนวนทั้งสิ้น 47 จังหวัดที่มีการเลือกตั้ง
  First party Second party Third party
 
Paetongtarn Shinawatra October 2023.jpg
Natthaphong Ruengpanyawut-19-05-24.jpg
Chalermchai Srion (cropped).jpg
พรรค เพื่อไทย ประชาชน ประชาธิปัตย์
เลือกตั้งล่าสุด 12 - 1
ที่นั่งก่อนหน้า 5[a] พรรคใหม่ 0

  Fourth party Fifth party
 
Varawut Silpa-archa give interview VOA, 2019 02 (cropped).jpg
พรรค ชาติไทยพัฒนา กลุ่มการเมืองอื่น
เลือกตั้งล่าสุด - 63
ที่นั่งก่อนหน้า - 18[b]

การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2568 เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนจังหวัด กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2568[1] เพื่อเลือกตั้งสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) จำนวน 76 จังหวัด และนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด จำนวน 47 จังหวัด

ที่มานายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด

[แก้]

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน โดยมีที่มา ดังนี้

  • นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ใช้เขตจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง
  • สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด ใช้เขตอำเภอเป็นเขตเลือกตั้ง ในกรณีที่อำเภอใดมีสมาชิกเกิน 1 คน ให้แบ่งเขตอำเภอเป็นเขตเลือกตั้ง เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่จะพึงมีในอำเภอนั้น และมีสมาชิกเขตเลือกตั้งละ 1 คน

องค์ประกอบของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด

[แก้]

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชน ซึ่งจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแต่ละจังหวัด ขึ้นอยู่กับจำนวนราษฎรของจังหวัดนั้น โดยกำหนดไว้ดังนี้

จำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดแต่ละจังหวัด
จำนวนราษฎร จำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
ไม่เกิน 500,000 คน 24 คน
เกิน 500,000 คน แต่ไม่เกิน 1 ล้านคน 30 คน
เกิน 1 ล้านคน แต่ไม่เกิน 1.5 ล้านคน 36 คน
เกิน 1.5 ล้านคน แต่ไม่เกิน 2 ล้านคน 42 คน
2 ล้านคนขึ้นไป 48 คน

วาระการดำรงตำแหน่ง

[แก้]
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

มีวาระอยู่ในตำแหน่งคราวละ 4 ปี นับแต่วันเลือกตั้ง แต่จะดำรงตำแหน่งติดต่อกันเกิน 2 วาระไม่ได้ ในกรณีดำรงตำแหน่งไม่ครบ 4 ปีก็ให้ถือว่าเป็น 1 วาระ และเมื่อได้ดำรงตำแหน่ง 2 วาระติดต่อกันแล้วจะดำรงตำแหน่งได้อีกเมื่อพ้นระยะเวลา 4 ปีนับแต่วันพ้นตำแหน่ง

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด

อายุของสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด มีกำหนดคราวละ 4 ปีนับแต่วันเลือกตั้ง

รายนามนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

[แก้]
รูปแบบ ความหมาย
ดำรงสมาชิกภาพ
สิ้นสุดสมาชิกภาพ
กกต./ศาลอุทธรณ์ สั่งให้มีการเลือกตั้งนายก อบจ.ใหม่
สี พรรค
พรรคประชาชน
พรรคเพื่อไทย
พรรคภูมิใจไทย
พรรคพลังประชารัฐ
พรรครวมไทยสร้างชาติ
พรรคประชาธิปัตย์
พรรคชาติไทยพัฒนา

แยกตามรายภาคตามการแบ่งของราชบัณฑิตยสถาน

ภาคกลาง

[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
กำแพงเพชร ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2567
ชัยนาท ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก จิตร์ธนา ยิ่งทวีลาภา ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2567
นครนายก
นครปฐม
นครสวรรค์ ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก พลตำรวจเอก สมศักดิ์ จันทะพิงค์ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567
นนทบุรี
ปทุมธานี ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก พลตำรวจโท คำรณวิทย์ ธูปกระจ่าง ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2567
พระนครศรีอยุธยา ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก สมทรง พันธ์เจริญวรกุล ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2567
พิจิตร
พิษณุโลก ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก มนต์ชัย วิวัฒน์ธนาฒย์ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2567
เพชรบูรณ์ ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ ธันวาคม พ.ศ. 2567
ลพบุรี
สมุทรปราการ
สมุทรสงคราม
สมุทรสาคร
สระบุรี
สิงห์บุรี
สุโขทัย ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก มนู พุกประเสริฐ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
สุพรรณบุรี
อ่างทอง ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก สุรเชษ นิ่มกุล ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2567
อุทัยธานี ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก เผด็จ นุ้ยปรี ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2567

ภาคเหนือ

[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
เชียงราย
เชียงใหม่
น่าน
พะเยา ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ธวัช สุทธวงค์ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2567
แพร่
แม่ฮ่องสอน
ลำปาง
ลำพูน
อุตรดิตถ์

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
กาฬสินธุ์ ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก เฉลิมขวัญ หล่อตระกูล ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2565
ขอนแก่น ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก วัฒนา ช่างเหลา ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
ชัยภูมิ ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก สุรีวรรณ นาคาศัย ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2567
นครพนม
นครราชสีมา
บึงกาฬ
บุรีรัมย์
มหาสารคาม
มุกดาหาร
ยโสธร ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก วิเชียร สมวงศ์ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2567
ร้อยเอ็ด ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก เศกสิทธิ์ ไวนิยมพงศ์ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2565
เลย ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ชัยธวัช เนียมศิริ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2567
ศรีสะเกษ
สกลนคร
สุรินทร์ ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
หนองคาย
หนองบัวลำภู
อุดรธานี ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
อุบลราชธานี ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2567
อำนาจเจริญ

ภาคใต้

[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
กระบี่
ชุมพร ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก นพพร อุสิทธิ์ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2567
ตรัง
นครศรีธรรมราช ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
นราธิวาส
ปัตตานี
พังงา
พัทลุง
ภูเก็ต
ยะลา
ระนอง ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก สีหราช สรรพกุล ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2567
สงขลา
สตูล
สุราษฎร์ธานี

ภาคตะวันออก

[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
จันทบุรี
ฉะเชิงเทรา
ชลบุรี
ตราด
ปราจีนบุรี
ระยอง
สระแก้ว ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ฐานิสร์ เทียนทอง ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2566

ภาคตะวันตก

[แก้]

มีรายนามดังนี้

จังหวัด นาม สังกัด หมายเหตุ
กาญจนบุรี ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ประวัติ กิจธรรมกูลนิจ ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2566
ตาก ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2567
ประจวบคีรีขันธ์
เพชรบุรี ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2567
ราชบุรี ไม่มีการเลือกตั้ง เนื่องจาก วิวัฒน์ นิติกาญจนา ได้รับเลือกตั้งเมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2567

ผลการเลือกตั้งของแต่ละจังหวัด

[แก้]

ผลการเลือกตั้งจะเรียงลำดับจากตัวอักษร ดังนี้

ฉะเชิงเทราชลบุรีเชียงรายเชียงใหม่ตราดนครพนมนครราชสีมานนทบุรีบุรีรัมย์พังงาพิจิตรแพร่ภูเก็ตมหาสารคามมุกดาหารแม่ฮ่องสอนระยองลำปางลำพูนสกลนครสงขลาสมุทรปราการสมุทรสงครามสระบุรีสุพรรณบุรีสุราษฎร์ธานีหนองคายอำนาจเจริญ


ฉะเชิงเทรา

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา สืบเนื่องจาก กิตติ เป้าเปี่ยมทรัพย์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทราได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
กิตติ
  
100.00%
  
100.00%
ยศสิงห์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดฉะเชิงเทรา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มแปดริ้วโฉมใหม่ กิตติ เป้าเปี่ยมทรัพย์ ()*
ประชาชน ()
อิสระ จ่าเอก ยศสิงห์ เหลี่ยมเลิศ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ชลบุรี

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี สืบเนื่องจาก วิทยา คุณปลื้ม นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรีได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

  • วิทยา คุณปลื้ม อดีตนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี สังกัดกลุ่มเรารักชลบุรี
คะแนนเสียง
วิทยา
  
100.00%
  
100.00%
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มเรารักชลบุรี วิทยา คุณปลื้ม ()*
ประชาชน ()
กลุ่มพลังใหม่ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

เชียงราย

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย สืบเนื่องจาก อทิตาธร วันไชยธนวงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงรายได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
อทิตาธร
  
100.00%
สลักจฤฎดิ์
  
100.00%
มงคลชัย
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ อทิตาธร วันไชยธนวงศ์ ()*
เพื่อไทย สลักจฤฎดิ์ ติยะไพรัช ()✔
อิสระ มงคลชัย ดวงแสงทอง ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

เชียงใหม่

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ สืบเนื่องจาก พิชัย เลิศพงศ์อดิศร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
พิชัย
  
100.00%
พันธุ์อาจ
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย พิชัย เลิศพงศ์อดิศร ()*
ประชาชน พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ตราด

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด สืบเนื่องจาก วิเชียร ทรัพย์เจริญ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตราดได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
วิเชียร
  
100.00%
ชลธี
  
100.00%
เจริญ
  
100.00%
ประทีป
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มลูกเมืองตราด วิเชียร ทรัพย์เจริญ ()*
ประชาชน ชลธี นุ่มหนู ()
กลุ่มตราดต้องเจริญ เจริญ ชลาลัย ()
กลุ่มพลังใหม่ ประทีป เลขาพันธ์ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

นครพนม

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนม สืบเนื่องจาก ศุภพานี โพธิ์สุ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครพนมได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ศุภพานี
  
100.00%
อนุชิต
  
100.00%
ประสงค์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดตราด
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มนครพนมร่วมใจ ศุภพานี โพธิ์สุ ()*
เพื่อไทย อนุชิต หงษาดี ()
อิสระ ประสงค์ บูรณ์พงศ์ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

นครราชสีมา

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา สืบเนื่องจาก ยลดา หวังศุภกิจโกศล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมาได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ยลดา
  
100.00%
มารุต
  
100.00%
อธิรัฐ
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครราชสีมา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มโคราชโฉมใหม่ ยลดา หวังศุภกิจโกศล ()*
กลุ่มพัฒนาเมืองโคราช มารุต ชุ่มขุนทด ()
อิสระ อธิรัฐ รัตนเศรษฐ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

นนทบุรี

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี สืบเนื่องจาก พันตำรวจเอก ธงชัย เย็นประเสริฐ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรีได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ธงชัย
  
100.00%
เลิศมงคล
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มผึ้งหลวง พันตำรวจเอก ธงชัย เย็นประเสริฐ ()*
ประชาชน เลิศมงคล วราเวณุชย์ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

บุรีรัมย์

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ สืบเนื่องจาก ภูษิต เล็กอุดากร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ภูษิต
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มเพื่อนเนวิน ภูษิต เล็กอุดากร ()*
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

พังงา

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา สืบเนื่องจาก ธราธิป ทองเจิม นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงาได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ธราธิป
  
100.00%
สุทธิโชค
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มร่วมสร้างพังงา ธราธิป ทองเจิม ()*
ประชาชน สุทธิโชค ทองชุมนุม ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00


พัทลุง

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุง สืบเนื่องจาก วิสุทธิ์ ธรรมเพชร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพัทลุงได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
วิสุทธิ์
  
100.00%
สาโรจน์
  
100.00%
ประสิทธิชัย
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพังงา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพลังพัทลุง วิสุทธิ์ ธรรมเพชร ()*
อิสระ สาโรจน์ สามารถ ()
กลุ่มคนสร้างเมือง ประสิทธิชัย หนูนวล ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

พิจิตร

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตร สืบเนื่องจาก กฤษฎา ภัทรประสิทธิ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตรได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
กฤษฎา
  
100.00%
กฤษฏ์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดพิจิตร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพัฒนาจังหวัดพิจิตร กฤษฎา ภัทรประสิทธิ์ ()*
อิสระ กฤษฏ์ เพ็ญสุภา ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

แพร่

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ สืบเนื่องจาก อนุวัธ วงศ์วรรณ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่ได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
  
100.00%
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแพร่
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย อนุวัธ วงศ์วรรณ ()*
ประชาชน ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ภูเก็ต

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต สืบเนื่องจาก เรวัต อารีรอบ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ตได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
เรวัต
  
100.00%
เลอศักดิ์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มภูเก็ตหยัดได้ เรวัต อารีรอบ ()*
ประชาชน เลอศักดิ์ ลีนะนิธิกุล ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

มหาสารคาม

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม สืบเนื่องจาก คมคาย อุดรพิมพ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคามได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
คมคาย
  
100.00%
พลพัฒน์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ คมคาย อุดรพิมพ์ ()*
เพื่อไทย พลพัฒน์ จรัสเสถียร ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

มุกดาหาร

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหาร สืบเนื่องจาก จิตต์ ศรีโยหะ มุกดาธนพงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดมุกดาหารได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
จิตต์
  
100.00%
สุพจน์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย จิตต์ ศรีโยหะ มุกดาธนพงศ์ ()*
ประชาชน สุพจน์ สุอริยพงษ์ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

แม่ฮ่องสอน

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน สืบเนื่องจาก อัครเดช วันไชยธนวงศ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอนได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
อัครเดช
  
100.00%
ดนุภัทร์
  
100.00%
อำนาจ
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ อัครเดช วันไชยธนวงศ์ ()*
ประชาชน ดนุภัทร์ เชียงชุม ()
อิสระ อำนาจ แสงสกาย ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ระยอง

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง สืบเนื่องจาก ปิยะ ปิตุเตชะ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยองได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้[3]

คะแนนเสียง
  
100.00%
ปิยะ
  
100.00%
สุวิท
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาชน ()
อิสระ ปิยะ ปิตุเตชะ ()*
กลุ่มเรารักระยอง สุวิท เหล่าฤทธิไกร ()✔
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ลำปาง

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง สืบเนื่องจาก ตวงรัตน์ โล่ห์สุนทร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปางได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ตวงรัตน์
  
100.00%
ดาชัย
  
100.00%
อธิวัฒน์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย ตวงรัตน์ โล่ห์สุนทร ()*
กลุ่มพลังลำปาง ดาชัย เอกปฐพี ()
อิสระ อธิวัฒน์ ศรีไชยยานุพันธ์ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ลำพูน

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน สืบเนื่องจาก อนุสรณ์ วงศ์วรรณ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูนได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
อนุสรณ์
  
100.00%
วีระเดช
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
เพื่อไทย อนุสรณ์ วงศ์วรรณ ()*
ประชาชน วีระเดช ภู่พิสิฐ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

ศรีสะเกษ

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ สืบเนื่องจาก วิชิต ไตรสรณกุล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
วิชิต
  
100.00%
บุญถาวร
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดศรีสะเกษ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ วิชิต ไตรสรณกุล ()*
กลุ่มศรีสะเกษก้าวหน้า บุญถาวร ปัญญาสิทธิ์ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00


สกลนคร

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร สืบเนื่องจาก ชูพงศ์ คำจวง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนครได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ชูพงศ์
  
100.00%
อนุรักษ์
  
100.00%
ขจรศักดิ์
  
100.00%
สาคร
  
100.00%
นฤมล
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสกลนคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มพลังสกลนคร ชูพงศ์ คำจวง ()*
กลุ่มสกลนครสามารถดีกว่าเดิม อนุรักษ์ บุญศล ()
กลุ่มมดส้มสกลนคร ขจรศักดิ์ เบ็ญชัย ()
กลุ่มสร้างบ้านเมืองสกลนครก้าวหน้า สาคร พรหมภักดี ()
กลุ่มสกลนครสานพลัง นฤมล สัพโส ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

สงขลา

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา สืบเนื่องจาก ไพเจน มากสุวรรณ์ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลาได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ไพเจน
  
100.00%
สุพิศ
  
100.00%
นิรันดร์
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มรวมพลังร่วมสร้างสุข ไพเจน มากสุวรรณ์ ()*
กลุ่มสงขลาพลังใหม่ สุพิศ พิทักษ์ธรรม ()
ประชาชน นิรันดร์ จินดานาค ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

สมุทรปราการ

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ สืบเนื่องจาก นันทิดา แก้วบัวสาย นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
นพดล
  
100.00%
สุนทร
  
100.00%
ธนาชัย
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาชน นพดล สมยานนทนากุล ()
กลุ่มสมุทรปราการก้าวหน้า สุนทร ปานแสงทอง ()
กลุ่มสมุทรปราการก้าวไกล ธนาชัย เพชรบดี ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

สมุทรสงคราม

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม สืบเนื่องจาก กาญจน์สุดา ปานะสุทธะ (ชื่อเดิม: สุกานดา ปานะสุทธะ) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงครามได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
  
100.00%
กาญจน์สุดา
  
100.00%
เจษฎา
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรสงคราม
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาชน ()
อิสระ กาญจน์สุดา ปานะสุทธะ ()*
อิสระ เจษฎา ญาณประภาศิริ ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

สระบุรี

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี สืบเนื่องจาก สัญญา บุญ-หลง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรีได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
สัญญา
  
100.00%
ประสิทธิ์
  
100.00%
พุธทอง
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ สัญญา บุญ-หลง ()*
กลุ่มก้าวใหม่สระบุรี ประสิทธิ์ อนะมาน ()
กลุ่มก้าวใหม่ พุธทอง โพธิปัญญา ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

สุพรรณบุรี

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี สืบเนื่องจาก บุญชู จันทร์สุวรรณ นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรีได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
บุญชู
  
100.00%
อุดม
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
อิสระ บุญชู จันทร์สุวรรณ ()*
ชาติไทยพัฒนา อุดม โปร่งฟ้า ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

สุราษฎร์ธานี

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี สืบเนื่องจาก พงษ์ศักดิ์ จ่าแก้ว นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานีได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้[9]

คะแนนเสียง
พงษ์ศักดิ์
  
100.00%
โสภา
  
100.00%
จิรชาติ
  
100.00%
มนตรี
  
100.00%
วิเชียร
  
100.00%
ภาณุพงศ์
  
100.00%
สมพล
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มคนรักสุราษฎร์ พงษ์ศักดิ์ จ่าแก้ว ()*
กลุ่มพลังสุราษฎร์ โสภา กาญจนะ ()
ประชาชน นายแพทย์ จิรชาติ เรืองวัชรินทร์ ()
อิสระ มนตรี เพชรขุ้ม ()✔
อิสระ วิเชียร จันทร์บัว ()
อิสระ ภาณุพงศ์ วงค์พิพันธ์ ()
อิสระ สมพล สิงหพล ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

หนองคาย

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองคาย สืบเนื่องจาก ยุทธนา ศรีตะบุตร นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองคายได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
ยุทธนา
  
100.00%
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดหนองคาย
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มรักหนองคาย ยุทธนา ศรีตะบุตร ()*
เพื่อไทย ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

อำนาจเจริญ

[แก้]

เป็นการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอำนาจเจริญ สืบเนื่องจาก วันเพ็ญ ตั้งสกุล นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอำนาจเจริญได้ดำรงตำแหน่งจนครบวาระ โดยมีผู้ประสงค์จะลงสมัครทั้งหมดดังนี้

คะแนนเสียง
วันเพ็ญ
  
100.00%
ไมตรี
  
100.00%
ผลการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอำนาจเจริญ
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กลุ่มภูมิใจไทอำนาจ วันเพ็ญ ตั้งสกุล ()*
กลุ่มประชาชน ฅ อำนาจ ไมตรี แก้วมงคล ()
ผลรวม 100.00
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 100.00

หลังการเลือกตั้ง

[แก้]

หลังการเลือกตั้ง มีการร้องเรียนผู้สมัครนายก อบจ. ที่ได้รับเลือกตั้ง รวมถึงการวินิจฉัยของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ดังต่อไปนี้

รูปแบบ ความหมาย
กกต./ศาลอุทธรณ์ สั่งให้มีการเลือกตั้งนายก อบจ.ใหม่
เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง-ดำเนินคดีอาญา
เพิกถอนสิทธิสมัคร-ดำเนินคดีอาญา
ลำดับ นาม จังหวัด คำร้อง และข้อกล่าวหา มติ กกต. หมายเหตุ
1


เชิงอรรถ

[แก้]
  1. มีนายก อบจ. 5 จังหวัด ที่พรรคเพื่อไทยชนะเลือกตั้งจากการเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างลง ได้แก่ จังหวัดกาฬสินธุ์, จังหวัดร้อยเอ็ด, จังหวัดพะเยา, จังหวัดยโสธร, และจังหวัดสุโขทัย
  2. นายก อบจ. จากจังหวัดสระแก้ว, กาญจนบุรี, เลย, นครสวรรค์, อ่างทอง, พระนครศรีอยุธยา, ชัยนาท, ชัยภูมิ, พิษณุโลก, ราชบุรี, ชุมพร, ปทุมธานี, ระนอง, อุทัยธานี, ขอนแก่น, สุรินทร์, นครศรีธรรมราช, เพชรบุรี, และ ได้รับเลือกตั้งแทนตำแหน่งที่ว่างลง

อ้างอิง

[แก้]
  1. "กกต. ประกาศให้ 1 ก.พ. 68 เป็นวันเลือกตั้งนายก อบจ. ทั่วประเทศ". www.thairath.co.th. 2024-11-05.
  2. "วัดพลังบ้านใหญ่ ศึกชิงนายกอบจ.เชียงราย". Thai PBS.
  3. "ศึกเลือกตั้งนายก อบจ.ระยอง เริ่มแล้ว ทีม 'เรารักระยอง' ติดป้ายหาเสียงพรึบ". matichon.co.th.
  4. "ผลเลือกตั้งนายก อบจ.ระยองตัวแทน "พณา" ขึ้นนั่ง". mgronline.com. 2004-08-30.
  5. "เพื่อไทยทุ่มยึด อบจ.ลำปาง หวังทวงเก้าอี้ สส.คืน". Thai PBS.
  6. "'ไทยศรีวิไลย์' เปิดตัวผู้สมัครนายกฯ อบจ.ศรีสะเกษ-ทีมงาน ส.อบจ. 'พี่เต้' ส่งนโยบายพัฒนาศรีสะเกษให้หลุดพ้นความยากจน". mgronline.com. 2023-12-26.
  7. Khonnakhon844 (2024-11-01). "สกลนคร..เปิดตัว"ขจรศักดิ์"หรือ"ทนายจฮนท์จัดทีมลงสู้ศึกชิงเก้าอี้นายก.อบจ ทีมงานส.อบจ. ที่ปรึกษาพรึ่บ,,พร้อม?". สมาคมนักหนังสือพิมพ์ภูมิภาคแห่งประเทศไทย.
  8. Songkhla_Focus (2024-09-17). ""ไม่มีมิตรแท้ ศัตรูถาวร"โซเชียลระอุชิงนายกอบจ.สงขลา". สงขลาโฟกัส. {{cite web}}: ตรวจสอบค่า |url= (help)
  9. คนดัง ประกาศเปิดตัวลงชิงเลือกตั้งนายก อบจ.สุราษฎร์ คึกคัก ส่วนก้าวไกลยังไม่เคาะ
  10. "รทสช. เลือดไหลไม่หยุด "พงษ์ศักดิ์ จ่าแก้ว" กำลังสำคัญภาคใต้ ไขก๊อกอีกคน". www.thairath.co.th. 2024-05-18.
  11. bunthit (2024-10-30). "ศึก อบจ.สุราษฎร์ "กำนันศักดิ์" หลังพิง "ธรรมนัส" ฟัดบ้านใหญ่ รทสช". www.komchadluek.net.