ข้ามไปเนื้อหา

วิธีใช้:การจัดรูปแบบวิกิ

หน้าถูกกึ่งป้องกัน
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การจัดรูปแบบวิกิ หรือมาร์กอัพวิกิ หรือโค้ดวิกิ ประกอบด้วยวากยสัมพันธ์และสำคัญที่ซอฟต์แวร์มีเดียวิกิใช้เพื่อจัดรูปแบบหน้า มีรายการมาร์กอัพและทิปสั้น ๆ ที่ วิธีใช้:กระดาษจดโค้ด

นอกจากการจัดรูปแบบวิกิ ยังอนุญาตส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอลบางส่วนสำหรับการจัดรูปแบบนำเสนอ ดูได้ที่ วิธีใช้:เอชทีเอ็มแอลในข้อความวิกิ

นอกจากนี้ อาจดูเพิ่มที่ การจัดหน้าโดยใช้แม่แบบเข้ามาช่วย

ผัง

ส่วน

ส่วนในหน้าอยู่ตามส่วนนำหรือบทนำของหน้า และสารบัญ (ภายใต้เงื่อนไขบางอย่าง)

หัวเรื่องส่วน

มาร์กอัพ = ถึง ====== เป็นหัวเรื่องสำหรับส่วนที่ไปสัมพันธ์อยู่

  • เครื่องหมาย = เดี่ยวใช้เป็นชื่อเรื่องบทความ และไม่ควรใช้ในบทความ
  • มีการจัดรูปแบบหัวเรื่องทางซีเอสเอสและเพิ่มลิงก์ [แก้]
  • หากมีหัวเรื่องตั้งแต่ 4 หัวเรื่องขึ้นไป จะมีการสร้างสารบัญอัตโนมัติ
  • อย่าใช้มาร์กอัพ ใด ๆ หลังมาร์กอัพหัวเรื่องตัวสุดท้าย จะทำให้หัวเรื่องเสีย หรือทำให้หัวเรื่องไม่รวมอยู่ในคำอธิบายอย่างย่อ
มาร์กอัป แสดงผลเป็น
= หัวเรื่อง 1 =
==หัวเรื่อง 2==
===หัวเรื่อง 3===
====หัวเรื่อง 4====
=====หัวเรื่อง 5=====
======หัวเรื่อง 6======
หัวเรื่อง 1
หัวเรื่อง 2
หัวเรื่อง 3
หัวเรื่อง 4
หัวเรื่อง 5
หัวเรื่อง 6

บรรทัดแนวนอน

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
----


เทียบเท่ากับ <hr /> ในเอชทีเอ็มแอล

สารบัญ

เมื่อหน้าหนึ่งมีพาดหัวตั้งแต่สี่พาดหัวขึ้นไป จะปรากฏสารบัญให้อัตโนมัติหลังส่วนนำและก่อนพาดหัวแรก สามารถควบคุมสารบัญได้ด้วยเมจิกเวิร์ดหรือแม่แบบ

  • __FORCETOC__ บังคับให้สารบัญปรากฏที่ตำแหน่งปกติแม้มีจำนวนพาดหัวไม่ถึง 4 พาดหัว
  • __TOC__ บังคับให้สารบัญปรากฏ ณ ตำแหน่งของเมจิกเวิร์ดนี้แทนตำแหน่งปกติ
  • __NOTOC__ ปิดใช้งานสารบัญ
  • สามารถใช้ {{TOC limit}} เพื่อควบคุมความลึกของส่วนย่อยที่รวมอยู่ในสารบัญ มีประโยชน์เมื่อสารบัญยาวและใช้งานยาก

การขึ้นบรรทัดใหม่

การขึ้นบรรทัดใหม่ใช้สร้างช่องว่างระหว่างบรรทัด เช่น การแยกย่อหน้า

  • การแบ่งบรรทัดซึ่งมองเห็นได้ในเนื้อหาแทรกโดยกด ป้อนเข้า สองครั้ง
  • การกด ป้อนเข้า ครั้งเดียวจะทำให้เกิดการแบ่งบรรทัดในมาร์กอัพ แต่ไม่ปรากฏในเนื้อหาที่แสดงผล ยกเว้นเมื่อใช้มาร์กอัพรายการ
  • มาร์กอัพตัวเส้นหนาหรือตัวเอนจะถูกกำจัดเมื่อขึ้นบรรทัดใหม่
มาร์กอัป แสดงผลเป็น
บรรทัดใหม่เดี่ยวตรงนี้
ไม่มีผลต่อผัง

แต่บรรทัดว่างขึ้นต้นย่อหน้าใหม่
หรือสิ้นสุดรายการหรือส่วนที่ย่อหน้า

บรรทัดใหม่เดี่ยวตรงนี้ ไม่มีผลต่อผัง

แต่บรรทัดว่างขึ้นต้นย่อหน้าใหม่ หรือสิ้นสุดรายการหรือส่วนที่ย่อหน้า

เทียบเท่ากับ <br> หรือ <br /> ในเอชทีเอ็มแอล

แม่แบบ:

  • {{break}} เพิ่มการขึ้นบรรทัดใหม่หลายบรรทัด
  • {{-}} และ {{clear}} เพิ่มการขึ้นบรรทัดใหม่โดยมีการจัดรูปแบบให้ล้างส่วนย่อยที่ลอยอยู่
  • {{plainlist}} และ {{unbulleted list}} สร้างรายการไม่มีจุดนำทั้งคู่

ข้อความย่อหน้า

การย่อหน้าใช้มากที่สุดในหน้าพูดคุย

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
การย่อหน้าใช้ในหน้าพูดคุย:
:เครื่องหมายทวิภาคแต่ละเครื่องหมายเมื่อขึ้นต้นบรรทัด
::ทำให้ย่อหน้าบรรทัดนั้นเข้ามาเพิ่มอีกสามตำแหน่ง
:::(การย่อหน้านี้ยังมีอยู่
ตราบเท่าที่ไม่มีการป้อนเข้าปัดแคร่หรือขึ้นบรรทัดใหม่)
:::เขียนย่อหน้าซ้ำที่การแบ่งบรรทัดใด ๆ
::::ใช้เครื่องหมายทวิภาคเพิ่มสำหรับแต่ละคำตอบ
:::::เป็นต้น ...
::::::เป็นต้น ...

การย่อหน้าใช้ในหน้าพูดคุย:

เครื่องหมายทวิภาคแต่ละเครื่องหมายเมื่อขึ้นต้นบรรทัด
ทำให้ย่อหน้าบรรทัดนั้นเข้ามาเพิ่มอีกสามตำแหน่ง
(การย่อหน้านี้ยังมีอยู่

ตราบเท่าที่ไม่มีการป้อนเข้าปัดแคร่หรือขึ้นบรรทัดใหม่)

เขียนย่อหน้าซ้ำที่การแบ่งบรรทัดใด ๆ
ใช้เครื่องหมายทวิภาคเพิ่มสำหรับแต่ละคำตอบ
เป็นต้น ...
เป็นต้น ...

Blockquote

เมื่อจำเป็นต้องแยกบล็อกข้อความ มีประโยชน์สำหรับการแทรกข้อความที่ยกมา (และมีอ้างอิง)

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<blockquote>
ป้ายระบุ '''blockquote''' จะย่อหน้าขอบทั้งสองด้านเมื่อจำเป็น แทนการย่อหน้าขอบด้านซ้ายเมื่อใช้ทวิภาค
</blockquote>

ป้ายระบุ blockquote จะย่อหน้าขอบทั้งสองด้านเมื่อจำเป็น แทนการย่อหน้าขอบด้านซ้ายเมื่อใช้ทวิภาค

ข้อความจัดกลาง

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<div class="center" style="width: auto; margin-left: auto; margin-right: auto;">ข้อความจัดกลาง</div>
ข้อความจัดกลาง

แม่แบบ {{center}} ใช้มาร์กอัพเดียวกัน สำหรับการจัดตารางอยู่กลาง ดู การจัดตารางอยู่กลาง กรุณาอย่าใช้ <center>...</center> เพราะเลิกใช้แล้ว

ปรับแนวข้อความชิดขวา

คุณสามารถปรับแนวเนื้อหาในกล่องแยกต่างหาก

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<div style="text-align: right; direction: ltr; margin-left: 1em;">ข้อความทางขวา</div>
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat.
ข้อความทางขวา
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat.

หรือทำให้ข้อความลอยอยู่รอบ

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<div class="floatright">ข้อความทางขวา</div>
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat.
ข้อความทางขวา
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat.
{{stack|ข้อความทางขวา}}
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat.
ข้อความทางขวา
Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat.

รายการ

การรักษาบรรทัดใหม่และช่องว่าง

ซอฟต์แวร์มีเดียวิกิระงับบรรทัดใหม่เดี่ยวและแปลงบรรทัดที่ขึ้นต้นด้วยช่องว่างเป็นข้อความจัดรูปแบบก่อนในกล่องเส้นประ เอชทีเอ็มแอลระงับช่องว่างหลายช่อง การรักษาส่วนย่อยเหล่านี้มักพึงประสงค์สำหรับบทกวี เนื้อเพลง คำขวัญ คำปฏิญาณ เป็นต้น ส่วนขยาย Poem เพิ่มป้ายระบุ <poem>...</poem> คล้ายเอชทีเอ็มแอลเพื่อรักษาบรรทัดใหม่และช่องว่าง ป้ายระบุเหล่านี้สามารถใช้ในป้ายระบุอื่นอย่าง <blockquote>...</blockquote> ได้ ลีลาซีเอสเอสก็อาจใช้ได้กับป้ายระบุนี้ด้วย เช่น <poem style="margin-left: 2em;">

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<poem>
In Xanadu did Kubla Khan
  A stately pleasure-dome decree:
Where Alph, the sacred river, ran
  Through caverns measureless to man
Down to a sunless sea.

So twice five miles of fertile ground
  With walls and towers were girdled round:
And there were gardens bright with sinuous rills,
  Where blossomed many an incense-bearing tree;
And here were forests ancient as the hills,
  Enfolding sunny spots of greenery.
</poem>

In Xanadu did Kubla Khan
  A stately pleasure-dome decree:
Where Alph, the sacred river, ran
  Through caverns measureless to man
Down to a sunless sea.

So twice five miles of fertile ground
  With walls and towers were girdled round:
And there were gardens bright with sinuous rills,
  Where blossomed many an incense-bearing tree;
And here were forests ancient as the hills,
  Enfolding sunny spots of greenery.

บทกวีและคำแปลสามารถนำเสนอเคียงกันได้ และสามารถระบุภาษาได้ด้วย lang="xx" (รหัสภาษาสองตัว) หลังบล็อกเคียงกันสุดท้าย ต้องใช้ {{Clear|left}} เพื่อยกเลิก "float:left;" และสถาปนาการไหลปกติ หมายเหตุว่าวิธีนี้ไม่จำเป็นต้องอาศัยตารางและสดมภ์เพื่อให้นำเสนอแบบเคียงกัน

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<poem lang="fr" style="float:left;">Frère Jacques, frère Jacques,
Dormez-vous? Dormez-vous?
Sonnez les matines! Sonnez les matines!
Ding, dang, dong. Ding, dang, dong.</poem>
<poem style="margin-left:2em; float:left;">Are you sleeping? Are you sleeping?
Brother John, Brother John,
Morning bells are ringing! Morning bells are ringing!
Ding, dang, dong. Ding, dang, dong.</poem>{{Clear|left}}

Frère Jacques, frère Jacques,
Dormez-vous? Dormez-vous?
Sonnez les matines! Sonnez les matines!
Ding, dang, dong. Ding, dang, dong.

Are you sleeping? Are you sleeping?
Brother John, Brother John,
Morning bells are ringing! Morning bells are ringing!
Ding, dang, dong. Ding, dang, dong.

การจัดรูปแบบ

การจัดรูปแบบข้อความ

คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

ตัวเอน, ตัวเส้นหนา

ในการทำให้''ข้อความเป็นตัวเอน'' ใส่เครื่องหมาย[[อะพอสทรอฟี]]ติดกันสองอันขนาบทั้งสองด้าน

ถ้าเพิ่มเป็นสามอันจะทำให้ข้อความเป็น'''ตัวเส้นหนา'''

ถ้าใส่อะพอสทรอฟีติดกันห้าอันทั้งสองด้าน จะได้'''''ตัวเส้นหนาและเอน'''''

ในการทำให้ข้อความเป็นตัวเอน ใส่เครื่องหมายอะพอสทรอฟีติดกันสองอันขนาบทั้งสองด้าน

ถ้าเพิ่มเป็นสามอันจะทำให้ข้อความเป็นตัวเส้นหนา

ถ้าใส่อะพอสทรอฟีติดกันห้าอันทั้งสองด้าน จะได้ตัวเส้นหนาและเอน

รหัสต้นฉบับขนาดเล็กในบรรทัดข้อความปกติ

แสดงรหัสในชุดแบบอักษรกว้างขนาดเดียว (monospace)

ฟังก์ชัน <code>int m2()</code> ดี

ฟังก์ชัน int m2() ดี

การเน้นวากยสัมพันธ์สำหรับรหัสต้นทาง

รหัสคอมพิวเตอร์มีข้อความเน้นสีและการจัดรูปแบบเข้มงวดกว่า ตัวอย่างเช่น การนิยามฟังก์ชัน: int m2() ด้วยการเน้นสี

ดูรายการเต็มของภาษาที่รองรับที่สามารถใส่ใน lang="????" ได้ที่นี่

<syntaxhighlight lang="cpp">
#include <iostream>
int m2 (int ax, char *p_ax) {
  std::cout <<"Hello World!";
  return 0;
}</syntaxhighlight>

หรือ (จะแสดงผลแบบเดียวกันแน่นอน)

<source lang="cpp">
#include <iostream>
int m2 (int ax, char *p_ax) {
  std::cout <<"Hello World!";
  return 0;
}</source>
#include <iostream>
int m2 (int ax, char *p_ax) {
  std::cout <<"Hello World!";
  return 0;
}

ข้อความขนาดเล็ก

ใช้ <small>ข้อความขนาดเล็ก</small> เมื่อ
จำเป็นเท่านั้น

ใช้ ข้อความขนาดเล็ก เมื่อจำเป็นเท่านั้น

span <small>

ตัวอย่างเช่น เพื่อให้เข้ากับขนาดชุดแบบอักษรทีใช้ในคำบรรยายภาพ ป้ายระบุ "small" สามารถใช้เพื่อ
<small style="font-size:87%;">ลดขนาดชุดแบบอักษรของข้อความเหลือ 87%</small>

ตัวอย่างเช่น เพื่อให้เข้ากับขนาดชุดแบบอักษรทีใช้ในคำบรรยายภาพ ป้ายระบุ "small" สามารถใช้เพื่อลดขนาดชุดแบบอักษรของข้อความเหลือ 87%

ข้อความใหญ่

ไม่ควรใช้ <big>ข้อความใหญ่</big> ยกเว้น<small>มัน<big>อยู่ใน</big>ข้อความเล็ก</small>

ไม่ควรใช้ ข้อความใหญ่ ยกเว้นมันอยู่ในข้อความเล็ก

เพื่อป้องกันคำสองคำไม่ให้แยกกันด้วยการยกคำขึ้นบรรทัดใหม่ (เช่น นายสมชาย สมิธ หรือ 400 ก.ม./ชม.) เป็นช่องว่างไม่หยุด บางทีเรียก "อักขระไม่พิมพ์" อาจใช้ระหว่างนั้นได้ (สำหรับคำสามคำขึ้นไป แม่แบบ {{nowrap}} อาจเหมาะสมกว่า)

นายสมชาย&nbsp;สมิธหรือ 400&nbspก.ม./ชม.

นายสมชาย สมิธหรือ 400 ก.ม./ชม.

การเว้นช่องว่างเพิ่มในข้อความปกติใช้แม่แบบ {{pad}}

Mary {{pad|4.0em}} had a little lamb.

Mary   had a little lamb.

อักขระพิเศษ

มักสามารถแสดงอักขระพิเศษโดยใช้การอ้างอิงอักขระจำนนว หรือการอ้างอิงเอนทิตีอักขระ ตัวอย่างเช่น &Agrave; และ &#xC0; จะเรนเดอร์ À (เอเกรฟ) ทั้งคู่ ไม่สามารถใช้การเข้ารหัสเปอร์เซ็นต์ได้ เพราะทำงานได้เฉพาะในยูอาร์แอล

เครื่องหมายเสริมสัทอักษร

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
&Agrave; &Aacute; &Acirc; &Atilde; &Auml; &Aring; &AElig;

&Ccedil; &Egrave; &Eacute; &Ecirc; &Euml;

&Igrave; &Iacute; &Icirc; &Iuml; &Ntilde;

&Ograve; &Oacute; &Ocirc; &Otilde; &Ouml; &Oslash; &OElig;

&Ugrave; &Uacute; &Ucirc; &Uuml; &Yuml; &szlig;

&agrave; &aacute; &acirc; &atilde; &auml; &aring; &aelig; &ccedil;

&egrave; &eacute; &ecirc; &euml;

&igrave; &iacute; &icirc; &iuml; &ntilde;

&ograve; &oacute; &ocirc; &otilde; &ouml; &oslash; &oelig;

&ugrave; &uacute; &ucirc; &uuml; &yuml;

À Á Â Ã Ä Å Æ

Ç È É Ê Ë

Ì Í Î Ï Ñ

Ò Ó Ô Õ Ö Ø Œ

Ù Ú Û Ü Ÿ ß

à á â ã ä å æ ç

è é ê ë

ì í î ï ñ

ò ó ô õ ö ø œ

ù ú û ü ÿ

อักขรพิเศษวรรคตอน

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
&iquest; &iexcl; &sect; &para; ¿ ¡ § ¶
&dagger; &Dagger; &bull; &ndash; &mdash; † ‡ • – —
&lsaquo; &rsaquo; &laquo; &raquo; ‹ › « »
&lsquo; &rsquo; &ldquo; &rdquo; ‘ ’ “ ”
&apos; &quot; ' "

อักขระวรรคตอนหลีก

มีป้ายระบุมาร์กอัพ <pre> <nowiki> และ <code> เช่นกัน ตัวอย่างเช่น สำหรับการเขียน "[", "{", "&", "}", "]" เป็นต้น ป้ายระบุนี้ป้องกันอักขระเหล่านี้มิให้ถูกจดจำได้เป็นมาร์กอัพวิกิ ซึ่งมีความเป็นไปได้ในบางกรณี

สัญลักษณ์พาณิชย์

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
&trade; &copy; &reg; ™ © ®
&cent; &euro; &yen; &pound; &curren;

¢ € ¥ £ ¤

อักขระกรีก

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
&alpha; &beta; &gamma; &delta; &epsilon; &zeta; α β γ δ ε ζ
&Alpha; &Beta; &Gamma; &Delta; &Epsilon; &Zeta; Α Β Γ Δ Ε Ζ
&eta; &theta; &iota; &kappa; &lambda; &mu; &nu; η θ ι κ λ μ ν
&Eta; &Theta; &Iota; &Kappa; &Lambda; &Mu; &Nu; Η Θ Ι Κ Λ Μ Ν
&xi; &omicron; &pi; &rho; &sigma; &sigmaf; ξ ο π ρ σ ς
&Xi; &Omicron; &Pi; &Rho; &Sigma; Ξ Ο Π Ρ Σ
&tau; &upsilon; &phi; &chi; &psi; &omega; τ υ φ χ ψ ω
&Tau; &Upsilon; &Phi; &Chi; &Psi; &Omega; Τ Υ Φ Χ Ψ Ω

ฮีโรกริฟอียิปต์

ตัวอย่างเช่น:

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<hiero>P2</hiero>
P2

สัญลักษณ์หมากรุก

ตัวอย่างเช่น &#9812; แสดงผลเป็น ♔

ตัวห้อยและตัวยก

  • วิกิพีเดียนิยมใช้รูปแบบ <sub> และ <sup> มากกว่า ตัวอย่างเช่น x<sub>1</sub> ฉะนั้นวิธีนี้ควรใช้ภายใต้พฤติการณ์ส่วนใหญ่
  • วิธีการเขียนตัวห้อย/ตัวยกวิธีหลังไม่สามารถใช้ในบริบททั่วไปได้ เพราะอาศัยการรองรับยูนิโค้ดและไม่สามารถปรากฏในเครื่องของผู้ใช้ทุกคนได้
คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

ตัวห้อย

x<sub>1</sub> x<sub>2</sub> x<sub>3</sub> หรือ

x&#8320; x&#8321; x&#8322; x&#8323; x&#8324;

x&#8325; x&#8326; x&#8327; x&#8328; x&#8329;

x1 x2 x3 หรือ

x₀ x₁ x₂ x₃ x₄

x₅ x₆ x₇ x₈ x₉

ตัวยก

x<sup>1</sup> x<sup>2</sup> x<sup>3</sup> หรือ

x&#8304; x&sup1; x&sup2; x&sup3; x&#8308;

x&#8309; x&#8310; x&#8311; x&#8312; x&#8313;

x1 x2 x3 หรือ

x⁰ x¹ x² x³ x⁴

x⁵ x⁶ x⁷ x⁸ x⁹

ผสม

&epsilon;<sub>0</sub> = 8.85 &times; 10<sup>&minus;12</sup> C&sup2; / J m

1 [[เฮกตาร์]] = [[1 E+4 m&sup2;]]

ε0 = 8.85 × 10−12 C² / J m

1 เฮกตาร์ = 1 E+4 m²

อักขระใน Private Use Area และอักขระจัดรูปแบบมองไม่เห็น

ควรเลี่ยงอักขระมองไม่เห็นและ PUA (Private Use Areas) หากทำได้ เมื่อจำเป็น ควรแทนที่ด้วยค่ารหัสฐานสิบ(หก) เช่น "&#(x)...;" ซึ่งจะเรนเดอร์อักขระมองไม่เห็นให้มองเห็นได้

อักขระและสูตรคณิตศาสตร์

อักขระคณิตศาสตร์

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
&int; &sum; &prod; &radic; ∫ ∑ ∏ √
&minus; &plusmn; &infin; − ± ∞
&asymp; &prop; &equiv; &ne; ≈ ∝ ≡ ≠
&le; &ge; ≤ ≥
&times; &middot; &divide; &part; × · ÷ ∂
&prime; &Prime; ′ ″
&nabla; &permil; &deg; &there4; &alefsym; ∇ ‰ ° ∴ ℵ
&oslash; ø
&isin; &notin; &cap; &cup; ∈ ∉ ∩ ∪
&sub; &sup; &sube; &supe; ⊂ ⊃ ⊆ ⊇
&not; &and; &or; &exist; &forall; ¬ ∧ ∨ ∃ ∀
&rArr; &lArr; &dArr; &uArr; &hArr; ⇒ ⇐ ⇓ ⇑ ⇔
&rarr; &larr; &darr; &uarr; &harr; → ← ↓ ↑ ↔

สูตรคณิตศาสตร์

  • สูตรที่มีอักษรคณิตศาสตร์อย่าง x และตัวดำเนินการอย่าง × ไม่ควรใช้อักษรธรรมดา x
  • ป้ายระบุการเรียงพิมพ์ <math> ที่ใช้มาร์กอัพ LaTeX ซึ่งอาจเรนเดอร์เป็นภาพหรือเอชทีเอ็มแอลขึ้นอยู่กับค่าตั้งแวดล้อม ป้ายระบุ <math> ใช้ดีที่สุดสำหรับสูตรซับซ้อนในบรรทัของมันเองเป็นรูปแบบภาพ หากคุณใช้ป้ายระบุนี้เพื่อวางสูตรในบรรทัดเดียวกับข้อความ ให้ใส่ในแม่แบบ {{nowrap}}
  • แม่แบบ {{math}} ใช้เอชทีเอ็มแอลและจะปรับขนาดให้เหมาะกับชุดแบบอักษรมีเชิง และยังป้องกันการยกคำ ทุกแม่แบบไวต่อเครื่องหมาย = ฉะนั้นพึงไม่ลืมแทนเครื่องหมาย = ด้วย {{=}} ในค่าป้อนเข้ามแม่แบบ หรือเริ่มค่าป้อนเข้าด้วย 1= ใช้มาร์กอัพวิกิ '' และ ''' ในแม่แบบ {{math}} เช่นเดียวกับเอนทิตีเอชทีเอ็มแอลอื่น แม่แบบ {{math}} ดีที่สุดสำหรับการเรียงพิมพ์ในบรรทัดเดียวกับข้อความ
มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<math>2x \times 4y \div 6z + 8 - \frac {y}{z^2} = 0</math>

{{math|2''x'' &times; 4''y'' &divide; 6''z'' + 8 &minus; {{sfrac|''y''|''z''<sup>2</sup>}} {{=}} 0}}

<math>\sin 2\pi x + \ln e</math>

{{math|sin 2&pi;''x'' + ln ''e''}}


2x × 4y ÷ 6z + 8 − y/z2 = 0


sin 2πx + ln e

การเว้นช่องว่างในสูตรคณิตศาสตร์ง่าย

  • ไม่จำเป็นต้องใช้ &nbsp; เพื่อป้องกันการแบ่งบรรทัด แม่แบบ {{math}} จะป้องกันการแบ่งบรรทัดอยู่แล้ว คุณสามารถใช้ <br /> หากคุณต้องการแบ่งบรรทัดชัดแจ้งในสูตร
มาร์กอัป แสดงผลเป็น
เป็นจริงที่ {{math|''x''<sup>2</sup> &ge; 0}} สำหรับจำนวนจริง {{mvar|x}}

เป็นจริงที่ x2 ≥ 0 สำหรับจำนวนจริง x

สูตรซับซ้อน

  • สูตรที่อยู่ในบรรทัดเดี่ยว ๆ ควรย่อหน้าโดยใช้อักขระทวิภาค (:)
มาร์กอัป แสดงผลเป็น
: <math>\sum_{n=0}^\infty \frac{x^n}{n!}</math>

ลิงก์และยูอาร์แอล

ลิงก์อิสระ

ในวิกิพีเดียและวิกิอื่นบางที่ใช้ลิงก์อิสระในมาร์กอัพข้อความวิกิเพื่อสร้างลิงก์ภายในระหว่างหน้า

ในภาษามาร์กอัพของวิกิพีเดีย คุณสร้างลิงก์อิสระโดยใส่วงเล็บเหลี่ยมคู่คร่อมข้อความที่กำหนดเป็นชื่อเรื่องของหน้าที่คุณต้องการลิงก์ไป

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
[[จังหวัดเชียงใหม่]]เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย

จังหวัดเชียงใหม่เป็นจังหวัดหนึ่งของไทย

คุณสามารถเลือกใช้ขีดตั้ง (|) เพื่อปรับแต่งชื่อเรื่องของลิงก์ได้ โดยให้ข้อความเป้าหมายอยู่ก่อน แล้วให้ข้อความที่จะแสดงอยู่ด้านหลัง

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
[[จังหวัดเชียงใหม่|นครพิงค์เชียงใหม่]]

ลิงก์เปลี่ยนชื่ออัตโนมัติ

  • การพิมพ์อักขระไพป์ | หลังจากลิงก์จะเปลี่ยนชื่อลิงก์อัตโนมัติในบางพฤติการณ์ ครั้งถัดไปที่คุณเปิดกล่องแก้ไขคุณจะเห็นลิงก์ไพป์ขยาย เมื่อแสดงตัวอย่างการแก้ไขของคุณ คุณจะไม่เห็นรูปขยายจนกว่าจะกดเผยแพร่การเปลี่ยนแปลงและแก้ไขอีกครั้ง หลักการเดียวกันใช้กับลิงก์ไปส่วนในหน้าเดียวกัน
คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

ซ่อนคำในวงเล็บอัตโนมัติ

[[อาณาจักร (ชีววิทยา)|]]

อาณาจักร

ซ่อนเนมสเปซอัตโนมัติ

[[วิกิพีเดีย:ศาลาประชาคม|]]

ศาลาประชาคม

แต่ใช้ไม่ได้กับลิงก์ส่วน

[[วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน#ลิงก์|]]

[[วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน#ลิงก์|]]

ลิงก์ไปส่วนหนึ่งของหน้า

  • ส่วนหลังเครื่องหมายแฮช (#) จะต้องตรงกับพาดหัวส่วนของหน้า ซึ่งจะต้องตรงกันทั้งการสะกด อักษรใหญ่เล็กและการวรรคตอน ลิงก์ไปส่วนที่ไม่มีอยู่จะไม่เสีย แต่จะถือเสมือนเป็นลิงก์ไปจุดเริ่มต้นของหน้าตามปกติ
  • รวม "| ชื่อเรื่องลิงก์" เพื่อสร้างชื่อเรื่องลิงก์ที่ปรับสไตล์
  • หากส่วนมีชื่อซ้ำ ให้ใส่เลขต่อท้ายชื่อเรื่องส่วนใด ๆ ยกเว้นส่วนแรก เช่น #ตัวอย่าง 3 ไปส่วนที่สามที่ชื่อ "ตัวอย่าง" (หมายความว่า หน้านั้นมีส่วนชื่อ "ตัวอย่าง" อย่างน้อยสามครั้ง) คุณสามารถใช้เทคนิคไพป์ให้แสดงข้อความโดยไม่มีสัญลักษณ์ # ได้
สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

[[วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน#ตัวเอน]]เป็นลิงก์ไปส่วนหนึ่งในอีกหน้าหนึ่ง

วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน#ตัวเอนเป็นลิงก์ไปส่วนหนึ่งในอีกหน้าหนึ่ง

[[#ลิงก์และยูอาร์แอล]]เป็นลิงก์ไปอีกส่วนในหน้าปัจจุบัน [[#ลิงก์และยูอาร์แอล|ลิงก์และยูอาร์แอล]]เป็นลิงก์ไปส่วนเดียวกันโดยไม่แสดงสัญลักษณ์ #

#ลิงก์และยูอาร์แอลเป็นลิงก์ไปอีกส่วนในหน้าปัจจุบัน ลิงก์และยูอาร์แอลเป็นลิงก์ไปส่วนเดียวกันโดยไม่แสดงสัญลักษณ์ #

[[วิกิพีเดีย:คู่มือการเขียน#ตัวเอน|ตัวเอน]]เป็นลิงก์ไพป์ไปส่วนหนึ่งในอีกหน้าหนึ่ง

ตัวเอนเป็นลิงก์ไพป์ไปส่วนหนึ่งในอีกหน้าหนึ่ง

เปลี่ยนทาง

  • เปลี่ยนทางชื่อเรื่องบทความหนึ่งเป็นอีกบความหนึ่งโดยวางคำชี้แนะเช่นเดียวกับที่แสดงด้านขวามือบนบรรทัดแรกของบทความ (เช่น ในหน้าชื่อ "สหรัฐอเมริกา")
  • เป็นไปได้ที่จะเปลี่ยนทางไปยังส่วนหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เปลี่ยนทางไปยังสหรัฐ#ประวัติศาสตร์ จะเปลี่ยนทางไปยังส่วนประวัติศาสตร์ในหน้าสหรัฐ (ถ้ามี)
คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์

เปลี่ยนทางไปบทความ

#REDIRECT [[สหรัฐ]]

เปลี่ยนทางไปส่วน

#REDIRECT [[สหรัฐ#ประวัติศาสตร์]]

ลิงก์ข้ามโครงการ

  • ลิงก์ข้ามวิกิเป็นลิงก์ไปหน้าใด ๆ ในวิกิอื่น ลิงก์ข้ามโครงการโยงไปวิกิอื่นของวิกิมีเดีย
  • สังเกตว่าลิงก์ข้ามโครงการใช้ลีลาลิงก์ภายใน โดยมีเครื่องหมายวงเล็บเหลี่ยมคู่
  • ดู MetaWikiPedia:Interwiki_map สำหรับรายการทางลัด หากเว็บที่คุณต้องการโยงไปไม่ปรากฏในรายการ ให้ใช้แหล่งข้อมูลอื่นแทน
คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

ลิงก์ไปหน้าหนึ่งในวิกิอื่นภาษาไทย

แบบทั้งหมดนี้โยงไปหน้า https://th.wiktionary.org/wiki/สวัสดี

ไม่สามารถใช้ชื่อโครงการภาษาไทยในลิงก์ ให้ใช้ชื่อภาษาอังกฤษหรือทางลัด

ลิงก์ธรรมดา

ไม่มีคำเติมหน้า

ลิงก์ใส่ชื่อ

[[Wiktionary:สวัสดี]]

[[Wiktionary:สวัสดี|]]

[[Wiktionary:สวัสดี|บทนิยามของ "สวัสดี" ทางวิกิพจนานุกรม]]

Wiktionary:สวัสดี

สวัสดี

บทนิยามของ "สวัสดี" ทางวิกิพจนานุกรม

ลิงก์ไปหน้าหนึ่งในวิกิอื่นในภาษาอื่น

แบบทั้งหมดนี้โยงไปหน้า http://fr.wiktionary.org/wiki/bonjour

ลิงก์ธรรมดา

ไม่มีคำเติมหน้า

ลิงก์ใส่ชื่อ

[[Wiktionary:fr:bonjour]]

[[Wiktionary:fr:bonjour|]]

[[Wiktionary:fr:bonjour|bonjour]]

Wiktionary:fr:bonjour

fr:bonjour

bonjour

หมวดหมู่

คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

จัดบทความเข้าหมวดหมู่

[[หมวดหมู่:อักขระควบคุม]]

โยงไปหมวดหมู่

[[:หมวดหมู่:อักขระควบคุม]]

หมวดหมู่:อักขระควบคุม

ไม่มีคำเติมหน้า

[[:หมวดหมู่:อักขระควบคุม|]]

อักขระควบคุม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • วงเล็บเหลี่ยมเดี่ยวบ่งบอกว่าเป็นแหล่งข้อมูลอื่น หมายเหตุว่าใช้ "ช่องว่าง" (ไม่ใช่ไพป์ |) คั่นระหว่างยูอาร์แอลกับข้อความลิงก์ในลิงก์มีชื่อ วงเล็บเหลี่ยมสามารถใช้เป็นเครื่องหมายวรรคตอนตามปกติได้เมื่อไม่ได้โยงไปที่ใด [อย่างนี้]
  • ยูอาร์แอลต้องขึ้นต้นด้วยสคีมยูอาร์แอล (URI scheme) ที่รองรับ ทุกเบราว์เซอร์รองรับ http:// และ https:// ส่วน irc:// ircs:// ftp:// news:// mailto: และ gopher:// ต้องการปลั๊กอินหรือโปรแกรมประยุกต์ภายนอก ปัจจุบันยังไม่รองรับเลขที่อยู่ IPv6 ในยูอาร์แอล
  • ยูอาร์แอลที่มีอักขระบางตัวจะแสดงผลและโยงไม่ถูกต้อง ยกเว้นเมื่อเข้ารหัสร้อยละ (percent encoding) อักขระเหล่านั้น ตัวอย่างเช่น ช่องว่างจะต้องแทนด้วย %20 การเข้ารหัสสามารถทำได้โดย
    • ใช้ปุ่มลิงก์ ในแถบเครื่องมือแก้ไขแบบเสริมเพื่อเข้ารหัสลิงก์ เครื่องมือนี้จะเพิ่มมาร์กอัพวงเล็บและข้อความที่ลิงก์ ซึ่งพึงประสงค์ไม่เสมอไป
    • หรือเข้ารหัสยูอาร์แอลด้วยมือ โดยแทนอักขระเหล่านี้
ช่องว่าง " ' , ; < > ? [ ]
%20 %22 %27 %2c %3b %3c %3e %3f %5b %5d
คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

ลิงก์มีชื่อ พร้อมสัญลักษณ์แหล่งข้อมูลอื่น

[http://www.wikipedia.org วิกิพีเดีย]

วิกิพีเดีย

ลิงก์ไม่มีชื่อ

(ใช้เฉพาะในตัวบทความเป็นเชิงอรรถ)

[http://www.wikipedia.org]

[1]

ยูอาร์แอลเปลือย

(ไม่ดี)

ใช้ <nowiki></nowiki> เพื่อไม่ให้แสดงแบบที่ไม่ดีนี้

http://www.wikipedia.org

http://www.wikipedia.org

ลิงก์ไม่มีเครื่องหมายลูกศร

(ใช้ไม่บ่อย)

<span class="plainlinks">[http://www.wikipedia.org วิกิพีเดีย]</span>

วิกิพีเดีย

ลิงก์อัตโนมัติ

ลิงก์เมจิกเป็นลิงก์อัตโนมัติสำหรับตัวระบุเอกลักษณ์ซึ่งไม่ต้องการมาร์กอัพ สามารถใช้ได้กับเลข ISBN, RFC และ PMID

แหล่งหนังสือ

  • ลิงก์ไปหนังสือที่ใช้ ISBN ซึ่งสร้างลิงก์ไป Special:BookSources ควรใช้วิธีนี้มากกว่าลิงก์ไปร้านหนังสือออนไลน์ เพราะทำให้ผู้อ่านเลือกผู้ขายได้ ทว่า หากร้านหนังสือหรือผู้ให้บริการออนไลน์ให้สารสนเทศไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม เช่น สารบัญหรือข้อความตัดตอนมา ก็แนะนำให้ลิงก์ไปแหล่งนั้นเพราะจะช่วยผู้ใช้ ลิงก์ ISBN ไม่ต้องการมาร์กอัพเพิ่มใด ๆ หากคุณใช้รูปแบบที่กำหนด
  • การสร้างลิงก์ไป Special:BookSources โดยใช้ข้อความอื่น (เช่น ชื่อเรื่องหนังสือ) ให้ใช้ลีลาลิงก์ภายในที่มีเนมสเปซที่เหมาะสม
สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

{{ISBN|022628705X}}

ISBN 022628705X

{{ISBN|0-22-628705-X}}

ISBN 0-22-628705-X

ลิงก์ไปหนังสือ[[Special:BookSources/0670037818|โดยใช้ข้อความอื่น เช่น ชื่อเรื่อง]]

ลิงก์ไปหนังสือโดยใช้ข้อความอื่น เช่น ชื่อเรื่อง

เลข RFC

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

ข้อความที่เขียนว่า RFC ทุกที่ เช่น RFC 4321

ข้อความที่เขียนว่า RFC ทุกที่ เช่น RFC 4321

จิปาถะ

ลิงก์เข้าภาวะแก้ไขโดยตรง

  • สร้างลิงก์เข้าแถบแก้ไขหรือดูโค้ดโดยตรง ตัวอย่างเช่น การสร้างลิงก์ไปแถบแก้ไขของหน้านี้ ให้ใช้วิธีด้านล่าง
คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
ใช้แม่แบบ {{fullurl}}

[{{fullurl:วิธีใช้:การจัดรูปแบบวิกิ|action=edit}} แก้]

แก้

ใช้แม่แบบ {{Edit}}

{{edit}}

แก้

ลิงก์ทำตัวเอนบางส่วน

  • ลิงก์ไปหน้าที่มีชื่อเรื่องมีคำที่ปกติทำตัวเอน
สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

[[เรือหลวงจักรีนฤเบศร|เรือหลวง''จักรีนฤเบศร'']]

เรือหลวงจักรีนฤเบศร

สัญลักษณ์ดนตรี

เพิ่มสัญลักษณ์ดนตรีโดยใช้ป้ายระบุส่วนขยาย <score>...</score> ตัวอย่างเช่น

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<score>\relative c' { fis d fis a d f e d c cis d e a g f ees }</score>
\relative c' { fis d fis a d f e d c cis d e a g f ees }

ภาพ

สามารถใช้ได้เฉพาะภาพที่อัปโหลดเข้าสู่วิกิพีเดียหรือวิกิมีเดียคอมมอนส์ ในการอัปโหลดภาพ ให้ใช้หน้าอัปโหลด คุณสามารถดูภาพที่อัปโหลดได้ที่ รายการภาพ

ดูนโยบายการใช้ภาพของวิกิพีเดียประกอบด้วย

สำหรับคำอธิบายเพิ่มเรื่องภาพ รวมทั้งความสามารถหลากหลายขึ้น ดู สอนใช้งานภาพ

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์ หมายเหตุ
ชื่อภาพ คำว่า thumb แล้วคำบรรยายภาพ

[[ไฟล์:wiki.png|thumb|โลโก้วิกิพีเดีย]]
ชื่อภาพ คำว่า thumb แล้วคำบรรยายภาพ :
ทรงกลมปริศนา
โลโก้วิกิพีเดีย
  • ป้ายระบุ thumb ทำให้ขยายภาพได้ และวางตำแหน่ง (ลอย) อัตโนมัติไปทางขวามือของหน้า
  • สัญลักษณ์ขยายวางอยู่มุมขวาล่าง
  • ดูหมายเหตุด้านล่างเกี่ยวกับการเพิ่มป้ายระบุ alt
  • เป็นมาร์กอัพพื้นฐานสำหรับภาพส่วนใหญ่
ภาพ: [[ไฟล์:wiki.png]]
ภาพ:
  • การใส่ชื่อภาพอย่างเดียวจะวางภาพในข้อความ หรือในบรรทัดถัดไปหากมีที่ไม่พอ
  • ฝังภาพในข้อความสามารถใช้ได้เฉพาะภาพเล็กมาก ๆ
  • การฝังภาพจะมีผลต่อการจัดรูปแบบข้อความแนวตั้ง
มีข้อความทางเลือก: 
[[ไฟล์:wiki.png|alt=โลโก้ทรงกลมปริศนา]]
มีข้อความทางเลือก:

โลโก้ทรงกลมปริศนา

  • แนะนำอย่างยิ่งให้ใช้ข้อความทางเลือก (alternative text) ซึ่งใช้เมื่อใช้ภาพไม่ได้หรือโหลดภาพในเบราว์เซอร์เฉพาะข้อความ หรือเมื่อออกเสียง
มีลิงก์: 
[[ไฟล์:wiki.png|link=วิกิพีเดีย]]
มีลิงก์:
บังคับให้อยู่กลางหน้า
โดยใช้ป้ายระบุ ''frame'' (ลักษณะประจำ) ป้ายระบุ ''center'' และคำบรรยายภาพ:
[[ไฟล์:wiki.png|frame|centre|alt=ทรงกลมปริศนา|โลโก้วิกิพีเดีย]]
บังคับให้อยู่กลางหน้าโดยใช้ป้ายระบุ frame (ลักษณะประจำ) ป้ายระบุ center และคำบรรยายภาพ:
ทรงกลมปริศนา
โลโก้วิกิพีเดีย
  • ป้ายระบุ frame จะจัดภาพลอยขวามือ
  • ป้ายระบุ frame ใช้กับภาพเล็กมาก ๆ หรือภาพที่ใช้ป้ายระบุ px
  • ลักษณะประจำซ้ายหรือกลางจะยกเลิกการจัดขวา และเปลี่ยนให้ภาพอยู่ซ้ายหรือกลางหน้าแทน
  • ตัวแปรเสริมสุดท้ายเป็นคำบรรยายซึ่งปรากฏอยู่ใต้ภาพ
บังคับให้อยู่ด้านขวาของหน้า
โดย''ไม่มี''คำบรรยาย: 
[[ไฟล์:wiki.png|right|สารานุกรมวิกิพิีเดีย]]
บังคับให้อยู่ด้านขวาของหน้า

โดยไม่มีคำบรรยาย:

สารานุกรมวิกิพิีเดีย
สารานุกรมวิกิพิีเดีย
  • แสดงคำบรรยายเฉพาะเมื่อมีลักษณะประจำ thumb หรือ frame
ภาพที่ปรับขนาดเป็น 50 พิกเซล... 
[[ไฟล์:wiki.png|50 px|สารานุกรมวิกิพีเดีย]]
ภาพที่ปรับขนาดเป็น 50 พิกเซล...

สารานุกรมวิกิพีเดีย

  • ควรใช้วิธีนี้ให้น้อยที่สุด ภาพ thumb จะมีความกว้างเท่ากันเสมอ
  • มีลักษณะประจำ upright ที่สามารถใช้แสดงภาพสูงได้ ป้ายระบุนี้ทำให้เหมาะที่สุดกับทั้งจอภาพแล็ปทอปและโทรศัพท์เคลื่อนที่
ลิงก์โดยตรงไปหน้าคำอธิบายภาพ:
[[:ไฟล์:wiki.png]]
ลิงก์โดยตรงไปหน้าคำอธิบายภาพ:

ไฟล์:wiki.png

  • การคลิกภาพที่แสดงปกติบนหน้าจะนำไปหน้าคำอธิบายเช่นกัน
ลิงก์ไปภาพโดยตรงโดยไม่แสดง: 
[[Media:wiki.png|ภาพลูกโลกจิ๊กซอว์]]
ลิงก์ไปภาพโดยตรงโดยไม่แสดง:

ภาพลูกโลกจิ๊กซอว์

  • ใส่ลิงก์ไปภาพที่แสดงเป็นลิงก์แทนวาดอยู่ในหน้า ใช้ลิงก์ media
ตัวอย่าง: 
<div style="display: inline; width: 220px; float: right;">
[[ไฟล์:wiki.png|50 px|สารานุกรมวิกิพีเดีย]][[ไฟล์:wiki.png|50 px]] </div>

ตัวอย่าง:

สารานุกรมวิกิพีเดีย
ตัวอย่าง:

{| align=right
|-
|
[[File:wiki.png|50 px]]
|-
|
[[File:wiki.png|50 px]]
|-
|
[[File:wiki.png|50 px]]
|}

ตัวอย่าง:

  • การใช้มาร์กอัพวิกิสร้างตารางซึ่งวางภาพในแนวตั้ง (ช่วยให้ลิงก์แก้ไขตรงกับพาดหัว โดยเฉพาะในเบราว์เซอร์ไฟร์ฟ็อกซ์)

ตาราง

มีวิธีสร้างตารางสองวิธี

  1. ใช้มาร์กอัพวิกิพิเศษ
  2. ใช้ส่วนย่อยเอชทีเอ็มแอล <table>, <tr>, <td> หรือ <th>

สดมภ์

ใช้ {{colbegin}} และ {{colend}} เพื่อสร้างสดมภ์

เอกสารอ้างอิงและการอ้างอิงแหล่งที่มา

การทำเอกสารอ้างอิงที่อ้างแหล่งข้อมูลที่พิมพ์หรือออนไลน์สามารถใช้ป้ายระบุ <ref>...</ref> ภายในป้ายระบุเหล่านี้แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับเอกสารอ้างอิงที่ใช้

รายละเอียดเกี่ยวกับการอ้างอิงที่ให้โดยใช้โครงสร้างที่แม่แบบต่าง ๆ กำหนด ตารางด้านล่างแสดงรายการองค์ประกอบของการอ้างอิงตรงแบบบางส่วน

การใช้ สิ่งที่คุณเพิ่ม
สร้างเอกสารอ้างอิง <ref name="ชื่อเอกสารอ้างอิง">ใช้ป้ายระบุปิด</ref>
อ้างหนังสือ {{cite book}}
อ้างแหล่งที่มาเว็บ {{cite web}}
ISBN หนังสือ |isbn=0-4397-0818-4 (ISBN ของหนังสือ)
ยูอาร์แอลเว็บ |url=http://www.wikipedia.org
ชื่อเรื่อง |title=ชื่อเรื่องแหล่งที่มา
ผู้ประพันธ์ |author=ผู้ประพันธ์ (ใช้จุลภาคหากมีหลายคน)
ชื่อ |first=ชื่อ
นามสกุล |last=นามสกุล
ที่ตั้ง |location=ที่ตั้งของผู้จัดพิมพ์
ผู้จัดพิมพ์ |publisher=ผู้จัดพิมพ์แหล่งที่มานี้
วันที่ |date=2007-09-21 (วันที่แหล่งที่มา)
ปี |year=ปีแหล่งที่มา
วันที่เข้าถึง |accessdate=2008-12-25 (เฉพาะเมื่อมี url=)
ป้ายระบุเอกสารอ้างอิงสมบูรณ์ <ref name="WikiMarkup">{{cite web |url=http://en.wikipedia.org/w/index.php?title=Help:Wiki_markup |title=Help:Wiki markup |publisher=Wikimedia Foundation}}</ref>
การใช้เอกสารอ้างอิงเดิม <ref name="WikiMarkup" />
ต้องการอ้างอิง {{ต้องการอ้างอิง|{{subst:Template-date}}}}

แม่แบบและหน้ารวมข้าม

ตัวอย่างสำหรับแม่แบบ: {{pad|...}}, {{math|...}}, {{as of|...}}, {{edit}}

แม่แบบเป็นส่วนของมาร์กอัพวิกิที่เจตนาให้คัดลอกอัตโนมัติเข้าหน้า (transclusion) คุณสามารถเพิ่มแม่แบบได้โดยใส่ชื่อแม่แบบให้ {{วงเล็บปีกกาคู่}} นอกจากนี้ยังสามารถรวมข้ามหน้าอื่นโดยใช้ {{:ทวิภาคและวงเล็บปีกกาคู่}}

มีป้ายระบุสามคู่ที่สามารถใช้ในข้อความวิกิเพื่อควบคุมวิธีที่การรวมข้ามมีผลต่อบางส่วนของแม่แบบหรือบทความ ซึ่งตัดสินว่าจะเรนเดอร์ข้อความวิกิหรือไม่ ไม่ว่าในบทความของมันเองซึ่งเราเรียกว่า "หน้านี้" หรือในบทความอื่นที่ซึ่งรวมข้ามไป ซึ่งเราจะเรียก "หน้านั้น"

  • <noinclude>: เนื้อหาจะไม่เรนเดอร์ใน หน้านั้น ป้ายระบุเหล่านี้ไม่มีผลในหน้านี้
  • <includeonly>: เนื้อหาจะเรนเดอร์ใน หน้านั้น และจะไม่เรนเดอร์ใน หน้านี้ (เหมือนหมึกล่องหนซึ่งทำให้เห็นได้ด้วยการรวมข้าม
  • <onlyinclude>: เนื้อหาจะเรนเดอร์ใน หน้านี้ และจะเรนเดอร์ใน หน้านั้น แต่จะเรนเดอร์ในหน้านั้นเฉพาะระหว่างป้ายระบุเหล่านี้

สามารถมี "ส่วนย่อย" ของส่วนได้หลายอย่าง นอกจากนี้ยังสามารถซ้อนในได้ การเรนเดอร์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดสามารถทำได้ ตัวอย่างเช่น ในการเรนเดอร์ตั้งแต่หนึ่งส่วนขึ้นไปของหน้านี้ในหน้านั้น ให้ใช้ป้ายระบุ <onlyinclude> ในการผนวกข้อความหน้านั้น ให้วนรอบการเพิ่มในป้ายระบุก่อน ในหรือหลังส่วนนั้นด้วย <includeonly> ในการละบางส่วนของส่วน ให้ซ้อนป้ายระบุ <noinclude> ในส่วนนั้น

หากมีการรวมข้ามหน้าโดยไม่มีมาร์กอัพรวมข้าม อาจทำให้เกิดการจัดหมวดหมู่โดยไม่ตั้งใจ หน้าที่รวมข้ามมาใด ๆ จะมีหมวดหมู่เดียวกับหน้าต้นฉบับ ให้วนรอบมาร์กอัพหมวดหมู่ด้วย <noinclude> เพื่อป้องกันการจัดหมวดหมู่ที่ไม่ถูกต้อง

บางแม่แบบมีตัวแปรเสริมเช่นกัน ซึ่งคุณคั่นด้วยอักขระไพป์ |

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
{{สาธิตรวมข้าม}}

ข้อความนี้มาจากหน้าชื่อ แม่แบบ:สาธิตรวมข้าม ถูกรวมข้ามอยู่ในหน้านี้

{{วิธีใช้:สาธิตรวมข้าม}}

สามารถใช้กับเนมสเปซใดก็ได้ ให้ใช้รูปแบบ{{:เนมสเปซ:ชื่อหน้า}}

สาธิตรวมข้ามนี้เป็นส่วนหนึ่งของข้อความจากหน้า วิธีใช้:สาธิตรวมข้าม รวมอยู่ในไฟล์ใด ๆ

แม่แบบนี้มีสองตัวแปรเสริม
และสร้างข้อความเส้นใต้ที่มี
กล่องแขวนสำหรับเบราว์เซอร์สมัยใหม่จำนวนมาก
ที่รองรับซีเอสเอส:

{{H:title|นี่เป็นข้อความแขวน|
วางเมาส์ของคุณเหนือข้อความนี้}}

ไปหน้านี้เพื่อดูตัวแม่แบบ H:title เอง {{tl|H:title}}

แม่แบบนี้มีสองตัวแปรเสริม และสร้างข้อความเส้นใต้ที่มี กล่องแขวนสำหรับเบราว์เซอร์สมัยใหม่จำนวนมาก ที่รองรับซีเอสเอส:

วางเมาส์ของคุณเหนือข้อความนี้

ไปหน้านี้เพื่อดูตัวแม่แบบ H:title เอง {{H:title}}

หน้าพูดคุยและหน้าโครงการ

น่าจะมีประโยชน์ในหน้าคุยและหน้าโครงการ

เซ็นท้ายความเห็น

  • ใช้อักขระทิลดา (~) เมื่อลงลายเซ็นท้ายความเห็นในหน้าพูดคุย ชื่อผู้ใช้ของคุณจะสร้างลิงก์ไปหน้าผู้ใช้ของคุณ
คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

คุณควรลงลายเซ็นความเห็นของคุณโดยผนวกเครื่องหมายทิลดาสี่ตัวในความเห็น ซึ่งจะเพิ่มชื่อผู้ใช้ของคุณกับวันที่และเวลา

~~~~

ชื่อผู้ใช้ (คุย) 02:50, 13 ธันวาคม 2024 (UTC)

เพิ่มเครื่องหมายทิลดาสามตัวจะเพิ่มเฉพาะชื่อผู้ใช้ของคุณ

~~~

ชื่อผู้ใช้ (คุย)

'เพิ่มเครื่องหมายทิลดาสามตัวจะเพิ่มเฉพาะวันที่และเวลา

~~~~~

02:50, 13 ธันวาคม 2024 (UTC)

ลิงก์ไปรุ่นเก่าของหน้า ผลต่างและหน้าประวัติจำเพาะ

  • ใช้ฟังก์ชันลิงก์ภายนอกเป็นหลัก เปิดรุ่นเก่าหรือผลต่าง และคัดลอกยูอาร์แอลจากแถบที่อยู่ แล้ววางในที่ที่คุณต้องการ
สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

[//https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=วิธีใช้:การจัดรูปแบบวิกิ&diff=7445425&oldid=7445423 ผลต่างระหว่างรุ่นแก้ไข 7445423 และ 7445425]

ผลต่างระหว่างรุ่นแก้ไข 7445423 และ 7445425

เมื่อคุณคัดลอกยูอาร์แอลมาทั้งหมด ภาษาไทยอาจแปลงเป็นอักขระอื่น แต่คุณสามารถแก้ไขลิงก์ให้เป็นภาษาไทยได้โดยที่ยังสามารถใช้ลิงก์ได้

  • คุณยังสามารถใช้ลิงก์ผลต่างภายใน ไม่เหมือนกับแม่แบบ {{diff}} เพราะลิงก์แบบนี้สามารถใช้ในคำอธิบายอย่างย่อได้
สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

[[Special:Diff/7445423/7445425|ผลต่างระหว่างรุ่นแก้ไข 7445423 และ 7445425]]

ผลต่างระหว่างรุ่นแก้ไข 7445423 และ 7445425

  • ถ้าผลต่างที่ตั้งใจแสดงอยู่ระหว่างรุ่นแก้ไขก่อนหน้าทันที สามารถละตัวแปรเสริมแรกได้
สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

[[Special:Diff/7445425|ผลต่างระหว่างรุ่นแก้ไข 7445423 และ 7445425]]

ผลต่างระหว่างรุ่นแก้ไข 7445423 และ 7445425

  • สำหรับรุ่นแก้ไขเก่า คุณสามารถใช้ลิงก์ถาวร แม้รับประกันได้เฉพาะข้อความหลักจะยังคงสภาพไว้ (ภาพและแม่แบบจะแสดงในสภาพปัจจุบัน ไม่ใช่ในเวลานั้น)
สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

[[Special:Permalink/7445425|รุ่นแก้ไข 7445425]]

รุ่นแก้ไข 7445425

หน้าที่ลิงก์มา และการเปลี่ยนแปลงล่าสุดที่เกี่ยวโยง

  • สามารถใช้มาร์กอัพต่อไปนี้ ตัวอย่างเช่น สำหรับบทความบีตรูต
สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

[[Special:WhatLinksHere/บีตรูต]]

Special:WhatLinksHere/บีตรูต

[[Special:RecentChangesLinked/บีตรูต]]

Special:RecentChangesLinked/บีตรูต

การแก้ไขของผู้ใช้

คำอธิบาย สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
ชื่อผู้ใช้ (ผู้ใช้ลงทะเบียน) [[Special:Contributions/ชื่อผู้ใช้]] Special:Contributions/ชื่อผู้ใช้
เลขที่อยู่ IPv4 (ผู้ใช้ไม่ลงทะเบียน) [[Special:Contributions/192.0.2.0]] Special:Contributions/192.0.2.0
เลขที่อยู่ IPv6 (ผู้ใช้ไม่ลงทะเบียน) [[Special:Contributions/2001:0db8:0000:0000:0000:ff00:0042:8329]] Special:Contributions/2001:0db8:0000:0000:0000:ff00:0042:8329

การใส่สีและเน้นข้อความ

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

ฉันจะเปลี่ยนสีใน{{color|blue|ตอนกลาง}}ในประโยคนี้

ฉันจะเปลี่ยนสีในตอนกลางในประโยคนี้

นี่คือวิธี{{Font color||yellow|เน้นบางส่วนของข้อความ}}

นี่คือวิธีเน้นบางส่วนของข้อความ

ข้อความตัวอย่าง

สามารถใช้ตระกูลแม่แบบ {{xt}} ในหน้าวิธีใช้และหน้าผู้ใช้เพื่อเน้นข้อความตัวอย่าง

ไม่ได้ผลในหน้าหลัก คือ บทความ

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
นี่เป็น{{xt|ตัวอย่างที่ถูกต้อง}}สำหรับเปรียบเทียบ {{tick}} นี่เป็นตัวอย่างที่ถูกต้องสำหรับเปรียบเทียบ checkY
นี่เป็น{{!xt|ตัวอย่างที่ไม่ถูกต้อง}}สำหรับตัวอย่าง {{cross}} นี่เป็นตัวอย่างที่ไม่ถูกต้องสำหรับตัวอย่าง  ไม่สำเร็จ

แสดงข้อความที่ถูกลบหรือแทรก

  • เมื่อแก้ไขความเห็นก่อนหน้าของคุณในหน้าคุย บางทีอาจเหมาะสมที่จะทำเครื่องหมายเนื้อหาที่ถูกลบหรือแทรก:
    • ควรระบุเนื้อหาที่ถูกลบโดยใช้มาร์กอัพขีดฆ่า <s>...</s>
    • ควรระบุเนื้อหาที่ถูกแทรกโดยใช้มาร์กอัพเส้นใต้ <u>...</u>

หมายเหตุ: <s></s> และ <u></u> (กำหนดในเอชทีเอ็มแอล 3 และ 4) ถือว่าได้รับความนิยมกว่า <del></del> และ <ins></ins> (กำหนดในเอชทีเอ็มแอล 5) ในวิกิพีเดีย

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์

คุณสามารถ <del>ขีดฆ่าเนื้อความที่ถูกลบ</del> และ <ins>ขีดเส้นใต้เนื้อความใหม่</ins>

คุณสามารถ ขีดฆ่าเนื้อความที่ถูกลบ และ ขีดเส้นใต้เนื้อความใหม่

มาร์กอัพทางเลือก

คุณสามารถ <s>ขีดฆ่าเนื้อความที่ถูกลบ</s> และ <u>ขีดเส้นใต้เนื้อความใหม่</u>


คุณสามารถ ขีดฆ่าเนื้อความที่ถูกลบ และ ขีดเส้นใต้เนื้อความใหม่

มาร์กอัพวิกิจำกัดการจัดรูปแบบ / หลีก

มีการจัดรูปแบบประเภทต่าง ๆ จะบอกวิกิให้แสดงแบบที่คุณพิมพ์ เห็นอย่างไรคุณก็ได้แบบนั้น

สิ่งที่คุณพิมพ์ ผลลัพธ์
'''ป้ายระบุ &lt;nowiki&gt;'''

<nowiki>
ป้ายระบุ nowiki ละเลย
''มาร์กอัพ'' [[วิกิ]] จะจัดรูปแบบข้อความใหม่
โดยลบบรรทัดใหม่และช่องว่าง
ต่าง ๆ มันยังคงแปลคำสั่ง
&name;: &rarr;
</nowiki>

ป้ายระบุ <nowiki>

ป้ายระบุ nowiki ละเลย ''มาร์กอัพ'' [[วิกิ]] จะจัดรูปแบบข้อความใหม่ โดยลบบรรทัดใหม่และช่องว่าง ต่าง ๆ มันยังคงแปลคำสั่ง &name;: &rarr;

'''ป้ายระบุ &lt;pre&gt;'''

ป้ายระบุ <pre> ละเลย
''มาร์กอัพ'' [[วิกิ]] เช่นเดียกับป้ายระบุ <nowiki>
นอกจากนี้ <pre> แสดงในชุดแบบอักษร
แบบกว้างขนาดเดียว และไม่
จัดรูปแบบใหม่ซึ่งช่องว่างในข้อความ
มันยังคงแปลคำสั่งอักขระพิเศษ
&rarr;
</pre>

ป้ายระบุ <pre>

ป้ายระบุ <pre> ละเลย
''มาร์กอัพ'' [[วิกิ]] เช่นเดียกับป้ายระบุ <nowiki>
นอกจากนี้ <pre> แสดงในชุดแบบอักษร
แบบกว้างขนาดเดียว และไม่
จัดรูปแบบใหม่ซึ่งช่องว่างในข้อความ
มันยังคงแปลคำสั่งอักขระพิเศษ
&rarr;
</pre>
'''[ข้อความที่ไม่มียูอาร์แอล]:'''

วงเล็บเหลี่ยมเดี่ยวที่มี
[ข้อความโดยไม่มียูอาร์แอลเอชทีทีพี]
ถูกสงวนไว้ แต่วงเล็บเหลี่ยมเดี่ยว
ที่มียูอาร์แอลถือว่าเป็น
[http://example.com/ เว็บลิงก์]ภายนอก

[ข้อความที่ไม่มียูอาร์แอล]:

วงเล็บเหลี่ยมเดี่ยวที่มี [ข้อความโดยไม่มียูอาร์แอลเอชทีทีพี] ถูกสงวนไว้ แต่วงเล็บเหลี่ยมเดี่ยว ที่มียูอาร์แอลถือว่าเป็น เว็บลิงก์ภายนอก

'''ช่องว่างนำ:'''

ช่องว่างนำเป็นอีกวิธีหนึ่ง
ในการรักษาการจัดรูปแบบ
 ใส่ช่องว่างที่
 ต้นบรรทัด
 เพื่อหยุดข้อความไม่ให้
 ถูกจัดรูปแบบใหม่
 มันจะยังแปลคำสั่ง''มาร์กอัพ''
 [[วิกิ]]และอักขระพิเศษ: &amp;rarr;

ช่องว่างนำ:

ช่องว่างนำเป็นอีกวิธีหนึ่ง ในการรักษาการจัดรูปแบบ

ใส่ช่องว่างที่
ต้นบรรทัด
เพื่อหยุดข้อความไม่ให้
ถูกจัดรูปแบบใหม่
มันจะยังแปลคำสั่งมาร์กอัพ
วิกิและอักขระพิเศษ: &rarr;

Nowiki

เพื่อให้ซอฟต์แวร์แปลคำสั่งมาร์กอัพวิกิ ตัวแจงส่วนของซอฟต์แวร์จะสแกนหน้าก่อน เมื่อพบป้ายระบุ nowiki

<nowiki>...</nowiki> (หลีกมาร์กอัพวิกิที่มีอยู่ทั้งหมด) และ
<nowiki /> (หลีกการแปลคำสั่งที่ออกแบบมาให้ "แตก")

มันจะหลีกโค้ดวิกิ เพื่อให้ผู้เขียนสามารถจดบันทึกมาร์กอัพโดยใช้มาร์กอัพของมัน

ผู้เขียนบททความสามารถทำให้เป็นบรรทัดฐานซึ่งชุดแบบอักษรของอักขระที่อยู่ตามหลัง[[...]]นอกวิกิลิงก์ ซึ่งมิฉะนั้นจะต้องยึดชุดแบบอักษรของวิกิลิงก์ นอกจากนี้ยังเพิ่มการเว้นช่องว่างบรรทัดในข้อความวิกิ ตัวแก้ไขแม่แบบ: ป้ายระบุ <nowiki> มีผลเฉพาะในหน้าต้นทาง ไม่ใช่หน้าเป้าหมาย เช่นเดียวกับ {{#tag:nowiki | เนื้อหา}} แม้ว่ามันวนรอบเนื้อหานั้นในป้ายระบุ nowiki แต่มันยังแปลงก่อนบันทึกบนเนื้อหานั้น ซึ่งขัดกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งใจของ nowiki สำหรับแม่แบบ subst ลายเซ็นและกลเม็ดไพป์โดยสิ้นเชิง

Nowiki สองประเภทมีผลแตกต่างกันต่อเนื้อหาเป้าหมาย แต่ทั้งคู่ลบความหมาย (ลบการเรนเดอร์) ของมาร์กอัพวิกิ แล้วหายไปในชุดแบบอักษรพื้นหลัง Nowiki ไม่ได้เปลี่ยนแปลงการเรนเดอร์ แต่สามารถเพิ่มบรรทัดใหม่ให้กับข้อความวิกิ (เพื่อให้อ่านง่าย) คล้ายกับความเห็นเอชทีเอ็มแอล (ซึ่งเป็นวิธีที่นิยม) ต่างจากมาร์กอัพวิกิ nowiki ไม่ลบความหมายของเอนทิตีอักขระ ไม่ว่าจะเป็นเอชีเอ็มแอลหรืออักขระพิเศษของมีเดียวิกิ

มีความหมายเดียวสำหรับสิ่งที่มี <nowiki>...</nowiki> อยู่ ฉะนั้นจำเป็นต้องมีตัวอย่างจำนวนหนึ่ง แต่ป้ายระบุ <nowiki /> เดี่ยวมีโครงสร้างเชื่อมโยงจำนวนมาก ที่ซึ่งคาดหมายระหว่างอักขระวงเล็บคู่หรือในพื้นที่คำสำคัญ ฉะนั้นส่วนนี้จึงมีตัวอย่างจำนวนมากและตัวอย่างผิดจำนวนหนึ่ง

ตัวอย่างเช่น เฉพาะเมื่อขึ้นต้นบรรทัด (bol ของข้อความวิกิ, bol ในการรวมข้าม หรือขึ้นต้นเซลล์ตาราง) ที่ *, #, ; หรือ : มีความหมาย

มาร์กอัป แสดงผลเป็น
# รายการเรียงลำดับ

  1. รายการเรียงลำดับ
<nowiki /># รายการเรียงลำดับ

# รายการเรียงลำดับ

a<nowiki>

b</nowiki>

a b

มาร์กอัพ '<nowiki />'ตัวเอน'<nowiki />'

มาร์กอัพ ''ตัวเอน''

<nowiki>[[ตัวอย่าง]]</nowiki>

[[ตัวอย่าง]]

<nowiki><!-- เปิดเผย --></nowiki>

<!-- เปิดเผย -->

Pre

<pre> เป็นป้ายระบุตัวแจงส่วนที่เลียนแบบป้ายระบุ <pre> ของเอชทีเอ็มแอล มันนิยามข้อความก่อนจัดรูปแบบซึ่งแสดงในชุดแบบอักษรความกว้างคงที่และอยู่ในกล่องเส้นประ จะหลีกเอชทีเอ็มแอลและมาร์กอัพวิกิ และยังรักษาช่องว่างและการแบ่งบรรทัด แต่เอนทิตีเอชทีเอ็มแอลถูกแจงส่วน

ตัวอย่าง <pre>
มาร์กอัป แสดงผลเป็น
<pre><!--ความเห็น-->

มาร์กอัพ[[วิกิ]] &amp;</pre>
<!--ความเห็น-->

มาร์กอัพ[[วิกิ]] &amp;

ข้อความจัดรูปแบบแล้ว <pre> ไม่วนรอบ ฉะนั้นข้อความอาจขยายเกินหน้าต่างของเบราว์เซอร์

Lorem ipsum dolor sit amet, consectetur adipisicing elit, sed do eiusmod tempor incididunt ut labore et dolore magna aliqua. Ut enim ad minim veniam, quis nostrud exercitation ullamco laboris nisi ut aliquip ex ea commodo consequat.

เพื่อแก้ปัญหานี้ <pre> อาจใช้สไตลิงซีเอสเอสเพื่อเพิ่มการวนรอบหรือแถบเลื่อนแนวนอน

  • การวนรอบ: <pre style="white-space:-moz-pre-wrap; white-space:-pre-wrap; white-space:-o-pre-wrap; white-space:pre-wrap; word-wrap:break-word;">
  • แถบเลื่อน: <pre style="overflow:auto; width:auto;">

อีกทางหนึ่ง พิจารณาการใช้แม่แบบ {{pre2}} หรือ <syntaxhighlight lang="text">...</syntaxhighlight>

ข้อความ (ความเห็น) ล่องหน

การเพิ่มความเห็นล่องหนในข้อความของบทความเป็นเรื่องไม่ปกติ แต่ยอมรับได้ในบางโอกาสเพื่อหมายเหตุถึงผู้เขียนอื่น ความเห็นเหล่านี้มองเห็นได้เฉพาะเมื่อแก้ไขหรือดูต้นทางของหน้า ความเห็นส่วนมากควรไปอยู่ในหน้าคุยที่เหมาะสม รูปแบบคือให้เขียน "" คร่อมข้อความล่องหน และสามารถกินพื้นที่ได้หลายบรรทัด เช่น

<!-- ตัวอย่างความเห็นล่องหน
 จะมองไม่เห็นยกเว้นในภาวะ "แก้ไข" -->

ตัวแปร

รหัส ผลลัพธ์ที่ได้
{{CURRENTMONTH}} 12
{{CURRENTMONTHNAME}} ธันวาคม
{{CURRENTMONTHNAMEGEN}} ธันวาคม
{{CURRENTDAY}} 13
{{CURRENTDAYNAME}} วันศุกร์
{{CURRENTWEEK}} 50
{{CURRENTYEAR}} 2024
{{CURRENTTIME}} 02:50
{{NUMBEROFARTICLES}} 169,663
{{PAGENAME}} การจัดรูปแบบวิกิ
{{NAMESPACE}} วิธีใช้
{{REVISIONID}} -
{{localurl:pagename}} /wiki/Pagename
{{localurl:บทความ|action=edit}} /w/index.php?title=%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1&action=edit
{{fullurl:pagename}} //th.wikipedia.org/wiki/Pagename
{{fullurl:pagename|query_string}} //th.wikipedia.org/w/index.php?title=Pagename&query_string
{{SERVER}} //th.wikipedia.org
{{ns:1}} พูดคุย
{{ns:2}} ผู้ใช้
{{ns:3}} คุยกับผู้ใช้
{{ns:4}} วิกิพีเดีย
{{ns:5}} คุยเรื่องวิกิพีเดีย
{{ns:6}} ไฟล์
{{ns:7}} คุยเรื่องไฟล์
{{ns:8}} มีเดียวิกิ
{{ns:9}} คุยเรื่องมีเดียวิกิ
{{ns:10}} แม่แบบ
{{ns:11}} คุยเรื่องแม่แบบ
{{ns:12}} วิธีใช้
{{ns:13}} คุยเรื่องวิธีใช้
{{ns:14}} หมวดหมู่
{{ns:15}} คุยเรื่องหมวดหมู่
{{SITENAME}} วิกิพีเดีย