จังหวัดตราดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดตราดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

2 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน148,047
ผู้ใช้สิทธิ70.15%
  First party Second party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 Steady0
คะแนนเสียง 52,178 30,854
% 52.33 30.94

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตราด พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง[1] ซึ่งเพิ่มขึ้นจากการเลือกตั้งครั้งก่อน 1 ที่นั่ง แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดตราด)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ประชาธิปัตย์ 52,178 52.33%
ไทยรักไทย 30,854 30.94%
อื่น ๆ 16,677 16.73%
ผลรวม 99,709 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
52.33%
ไทยรักไทย
  
30.94%
อื่น ๆ
  
16.73%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือก ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 24,298 48.00% 16,171 31.95% 10,151 20.05% 50,620 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 27,880 56.79% 14,683 29.91% 6,526 13.30% 49,089 100.00% ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตการเลือกตั้งใหม่)
ผลรวม 52,178 52.33% 30,854 30.94% 16,677 16.73% 99,709 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดตราด)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ประชาธิปัตย์ 2 48,606 53.85% 2 เพิ่มขึ้น1 100.00%
ไทยรักไทย 2 31,000 34.34% 0 Steady 0.00%
อื่น ๆ 3 10,664 11.81% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 7 90,270 100.00% 2 เพิ่มขึ้น1 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
53.85%
ไทยรักไทย
  
34.34%
อื่น ๆ
  
11.81%
ที่นั่ง
ประชาธิปัตย์
  
100.00%
ไทยรักไทย
  
0.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 19,736 42.56% 16,792 36.21% 9,842 21.22% 46,370 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
เขต 2 28,870 65.76% 14,208 32.36% 822 1.87% 43,900 100.00% ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตการเลือกตั้งใหม่)
ผลรวม 48,606 53.85% 31,000 34.34% 10,664 11.81% 90,270 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดตราด
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 624 0.63
ชาวไทย (2) 178 0.18
กสิกรไทย (3) 118 0.12
นิติมหาชน (4) 165 0.17
ความหวังใหม่ (5) 631 0.63
รักสามัคคี (6) 368 0.37
ไทยรักไทย (7) 30,854 30.94
ชาติประชาธิปไตย (8) 938 0.94
ชาติไทย (9) 773 0.78
สันติภาพ (10) 300 0.30
ถิ่นไทย (11) 2,025 2.03
พลังประชาชน (12) 209 0.21
ราษฎร (13) 115 0.12
สังคมใหม่ (14) 145 0.15
เสรีธรรม (15) 400 0.40
ประชาธิปัตย์ (16) 52,178 52.33
อำนาจประชาชน (17) 526 0.53
ประชากรไทย (18) 469 0.47
ไท (19) 154 0.15
ก้าวหน้า (20) 71 0.07
ชาติพัฒนา (21) 5,571 5.59
แรงงานไทย (22) 56 0.06
เผ่าไท (23) 45 0.05
สังคมประชาธิปไตย (24) 72 0.07
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 66 0.07
พัฒนาสังคม (26) 166 0.17
ไทยช่วยไทย (27) 235 0.24
ไทยมหารัฐ (28) 104 0.10
ศรัทธาประชาชน (29) 36 0.04
วิถีไทย (30) 31 0.03
ไทยประชาธิปไตย (31) 997 1.00
พลังธรรม (32) 232 0.23
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 157 0.16
กิจสังคม (34) 100 0.10
เกษตรมหาชน (35) 91 0.09
พลังเกษตรกร (36) 312 0.31
สยาม (37) 197 0.20
บัตรดี 99,709 96.01
บัตรเสีย 2,554 2.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,590 1.53
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 103,853 70.15
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 148,047 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองตราด (ยกเว้นตำบลหนองโสน) อำเภอคลองใหญ่ และกิ่งอำเภอเกาะกูด

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตราด เขต 1
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ บุญส่ง ไข่เกษ (16) 19,736 42.56
ไทยรักไทย พลโท ปรีชา วรรณรัตน์ (7) 16,792 36.21
ชาติพัฒนา ไพวัลย์ ชลาลัย (21) 8,570 18.48
ชาติไทย ศราวุฒิ ชอบรส (9) 1,272 2.74
ผลรวม 46,370 100.00
บัตรดี 46,370 88.62
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,578 3.02
บัตรเสีย 4,374 8.36
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 52,322 73.79
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 70,904 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขต 2[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองตราด (เฉพาะตำบลหนองโสน) อำเภอเขาสมิง อำเภอบ่อไร่ อำเภอแหลมงอบ และกิ่งอำเภอเกาะช้าง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัดตราด เขต 2
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ธีระ สลักเพชร (16)* 28,870 65.76
ไทยรักไทย บรรลุ สุทธิวารี (7)✔ 14,208 32.36
ชาติพัฒนา สุมิตร เขียวขจี (21) 822 1.87
ผลรวม 43,900 100.00
บัตรดี 43,900 85.19
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,427 2.77
บัตรเสีย 6,204 12.04
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 51,531 66.80
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 77,143 100.00
ประชาธิปัตย์ ชนะที่นั่ง (เขตเลือกตั้งใหม่)

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 2023-04-06.