ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสระแก้วในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสระแก้วในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ64.49%
  First party Second party Third party
 
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ ความหวังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 0 3
ที่นั่งที่ชนะ 3 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 Steady ลดลง3
คะแนนเสียง 162,061 35,978 1,007
% 71.56 15.89 0.44

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสระแก้ว พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดสระแก้ว)

[แก้]
พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 162,061 71.56%
ประชาธิปัตย์ 35,978 15.89%
ความหวังใหม่ 1,007 0.44%
อื่น ๆ 27,433 12.11%
ผลรวม 226,479 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
71.56%
ประชาธิปัตย์
  
15.89%
ความหวังใหม่
  
0.44%
อื่น ๆ
  
12.11%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดสระแก้ว)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)

[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ

[แก้]
 •  ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดสระแก้ว
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 1,010 0.45
ชาวไทย (2) 488 0.22
กสิกรไทย (3) 506 0.22
นิติมหาชน (4) 1,334 0.59
ความหวังใหม่ (5) 1,007 0.44
รักสามัคคี (6) 1,370 0.60
ไทยรักไทย (7) 162,061 71.56
ชาติประชาธิปไตย (8) 1,144 0.51
ชาติไทย (9) 807 0.36
สันติภาพ (10) 135 0.06
ถิ่นไทย (11) 3,615 1.60
พลังประชาชน (12) 247 0.11
ราษฎร (13) 349 0.15
สังคมใหม่ (14) 420 0.19
เสรีธรรม (15) 565 0.25
ประชาธิปัตย์ (16) 35,978 15.89
อำนาจประชาชน (17) 2,114 0.93
ประชากรไทย (18) 767 0.34
ไท (19) 228 0.10
ก้าวหน้า (20) 105 0.05
ชาติพัฒนา (21) 3,459 1.53
แรงงานไทย (22) 176 0.08
เผ่าไท (23) 103 0.05
สังคมประชาธิปไตย (24) 338 0.15
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 115 0.05
พัฒนาสังคม (26) 282 0.12
ไทยช่วยไทย (27) 1,192 0.53
ไทยมหารัฐ (28) 121 0.05
ศรัทธาประชาชน (29) 65 0.03
วิถีไทย (30) 63 0.03
ไทยประชาธิปไตย (31) 2,059 0.91
พลังธรรม (32) 608 0.27
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 331 0.15
กิจสังคม (34) 504 0.22
เกษตรมหาชน (35) 264 0.12
พลังเกษตรกร (36) 604 0.27
สยาม (37) 1,945 0.86
บัตรดี 226,479 96.40
บัตรเสีย 4,731 2.01
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,737 1.59
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 234,947 64.49
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 364,315 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขต 1

[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วย อำเภอเมืองสระแก้ว, อำเภอเขาฉกรรจ์ และอำเภอวังน้ำเย็น (เฉพาะตำบลทุ่งมหาเจริญ)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสระแก้ว
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ฐานิสร์ เทียนทอง (7) 55,333 84.63
ประชาธิปัตย์ อภิไท สอนทอง (16) 8,907 12.62
ถิ่นไทย สรวิชญ์ วรเวก (11) 623 0.95
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) บัญญัติ เงางาม (21) 517 0.79
ผลรวม 65,380 100.00
บัตรดี 65,380 86.46
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,897 2.51
บัตรเสีย 8,339 11.03
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 75,616 59.79
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 126,469 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขต 2

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วย อำเภอคลองหาด, อำเภอวัฒนานคร (ยกเว้นตำบลแซร์ออและตำบลช่องกุ่ม), อำเภอวังน้ำเย็น (ยกเว้นตำบลทุ่งมหาเจริญ) และ กิ่งอำเภอวังสมบูรณ์

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสระแก้ว
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ตรีนุช เทียนทอง (7) 58,953 86.74
ประชาธิปัตย์ สุทธิรักษ์ วันเพ็ญ (16) 8,405 12.37
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) พัลลภ เกสรสุคนธ์ (21) 608 0.89
ผลรวม 67,966 100.00
บัตรดี 67,966 86.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,979 2.52
บัตรเสีย 8,561 10.90
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 78,506 64.65
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 121,425 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขต 3

[แก้]

เขตเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วย อำเภออรัญประเทศ, อำเภอตาพระยา, อำเภอวัฒนานคร (เฉพาะตำบลแซร์ออและตำบลช่องกุ่ม) และ กิ่งอำเภอโคกสูง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสระแก้ว
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย วิทยา เทียนทอง (7)* 52,603 75.00
ประชาธิปัตย์ พรพล เอกอรรถพร (16) 15,692 22.37
ถิ่นไทย แทน คีนวน (11) 1,119 1.60
ชาติพัฒนา (พ.ศ. 2535) ว่าที่ร้อยเอก พิริยะ ศาลารักษ์ (21) 727 1.04
ผลรวม 70,141 100.00
บัตรดี 70,141 86.78
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,276 2.82
บัตรเสีย 8,408 10.40
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 80,825 69.42
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,421 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)