จังหวัดปราจีนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดปราจีนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ67.58%
  First party Second party Third party
 
พรรค ไทยรักไทย ความหวังใหม่ ประชาธิปัตย์
ที่นั่งก่อนหน้า พรรคใหม่ 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 2 (3) 1 (0) 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 106,901 6,726 42,040
% 53.54 3.37 21.06

  Fourth party
 
พรรค ชาติพัฒนา
ที่นั่งก่อนหน้า 2
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2
คะแนนเสียง 12,690
% 6.36

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปราจีนบุรี พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดปราจีนบุรี)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ไทยรักไทย 106,901 53.54%
ความหวังใหม่ 6,726 3.37%
ประชาธิปัตย์ 42,040 21.06%
ชาติพัฒนา 12,690 6.36%
อื่น ๆ 31,297 15.67%
ผลรวม 199,654 100.00%


คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
53.54%
ความหวังใหม่
  
3.37%
ประชาธิปัตย์
  
21.06%
ชาติพัฒนา
  
6.36%
อื่น ๆ
  
15.67%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดปราจีนบุรี)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดปราจีนบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 1,437 0.72
ชาวไทย (2) 644 0.32
กสิกรไทย (3) 679 0.34
นิติมหาชน (4) 1,097 0.55
ความหวังใหม่ (5) 6,726 3.37
รักสามัคคี (6) 1,039 0.52
ไทยรักไทย (7) 106,901 53.54
ชาติประชาธิปไตย (8) 2,036 1.02
ชาติไทย (9) 2,458 1.23
สันติภาพ (10) 165 0.08
ถิ่นไทย (11) 4,475 2.24
พลังประชาชน (12) 611 0.31
ราษฎร (13) 494 0.25
สังคมใหม่ (14) 457 0.23
เสรีธรรม (15) 857 0.43
ประชาธิปัตย์ (16) 42,040 21.06
อำนาจประชาชน (17) 1,401 0.70
ประชากรไทย (18) 3,304 1.65
ไท (19) 361 0.18
ก้าวหน้า (20) 316 0.16
ชาติพัฒนา (21) 12,690 6.36
แรงงานไทย (22) 260 0.13
เผ่าไท (23) 175 0.09
สังคมประชาธิปไตย (24) 308 0.15
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 249 0.12
พัฒนาสังคม (26) 377 0.19
ไทยช่วยไทย (27) 1,496 0.75
ไทยมหารัฐ (28) 259 0.13
ศรัทธาประชาชน (29) 116 0.06
วิถีไทย (30) 126 0.06
ไทยประชาธิปไตย (31) 2,444 1.22
พลังธรรม (32) 847 0.42
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 570 0.29
กิจสังคม (34) 429 0.21
เกษตรมหาชน (35) 438 0.22
พลังเกษตรกร (36) 571 0.29
สยาม (37) 801 0.40
บัตรดี 199,654 94.47
บัตรเสีย 5,899 2.79
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,786 2.74
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 211,339 67.58
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 312,744 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองปราจีนบุรี และอำเภอบ้านสร้าง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดปราจีนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สุนทร วิลาวัลย์ (7)* 37,313 71.52
ประชาธิปัตย์ พิษณุ อุดมทรัพย์ (16) 8,803 16.87
ชาติไทย ประพล ไพลดำ (9) 3,879 7.44
ประชากรไทย ปกรณ์ คืนคงดี (18) 2,178 4.17
ผลรวม 52,173 100.00
บัตรดี 52,173 76.70
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,253 10.66
บัตรเสีย 8,595 12.64
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 68,021 68.21
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 99,719 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอกบินทร์บุรี และอำเภอนาดี (ยกเว้นตำบลสะพานหิน ตำบลนาดี และตำบลสำพันตา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดปราจีนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สมาน ภุมมะกาญจนะ (7)* 21,167 35.01
ความหวังใหม่ คงกฤช หงษ์วิไล (5) 20,038 33.14
ประชาธิปัตย์ พันเอก (พิเศษ) ปริญญา เชาวน์เจริญ (16) 10,962 18.13
ชาติพัฒนา กฤษณ์ บุตรเนียร (21) 7,658 12.67
ชาติไทย วุฒิไกร ปานท่าช้าง (9) 497 0.82
ประชากรไทย สุคนธ์ ทิพวัฒน์ (18) 142 0.24
ผลรวม 60,464 100.00
บัตรดี 60,464 84.38
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,861 2.60
บัตรเสีย 9,327 13.02
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 71,652 66.43
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,857 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอประจันตคาม อำเภอศรีมหาโพธิ อำเภอศรีมโหสถ และอำเภอนาดี (เฉพาะตำบลสะพานหิน ตำบลนาดี และตำบลสำพันตา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดปราจีนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย วรวุฒิ ภุมมะกาญจนะ (7) 37,959 65.77
ประชาธิปัตย์ วิลาวัลย์ เคนโพธิ์ (16) 12,472 21.61
ชาติพัฒนา สมบัติ อารี (21) 6,326 10.96
ประชากรไทย สุภาวดี ช่อรักษ์ (18) 955 1.65
ผลรวม 57,712 100.00
บัตรดี 57,712 80.53
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,259 5.94
บัตรเสีย 9,695 13.53
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,227 78.23
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 110,220 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติพัฒนา

การเลือกตั้งใหม่[แก้]

ในภายหลังประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติให้ใบเหลืองแก่นายสมาน ภุมมะกาญจนะ ว่าที่ ส.ส.เขต 2 พรรคไทยรักไทย และมติดังกล่าวมีผลให้ กกต. ต้องสั่งเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งที่ 2 จังหวัดปราจีนบุรี โดยกำหนดวันเลือกตั้งใหม่คือวันที่ 29 มกราคม 2544

ซึ่งในกรณีที่ถูกใบเหลืองและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมในเขตจากทุกพรรคจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอกบินทร์บุรี และอำเภอนาดี (ยกเว้นตำบลสะพานหิน ตำบลนาดี และตำบลสำพันตา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดปราจีนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ คงกฤช หงษ์วิไล (5) 19,333 39.67 +6.53
ไทยรักไทย สมาน ภุมมะกาญจนะ (7) 17,955 36.85 +1.84
ประชาธิปัตย์ พันเอก (พิเศษ) ปริญญา เชาวน์เจริญ (16) 10,208 20.95 +2.82
ชาติพัฒนา กฤษณ์ บุตรเนียร (21) 961 1.97 -10.70
ชาติไทย วุฒิไกร ปานท่าช้าง (9) 213 0.44 -0.38
ประชากรไทย สุคนธ์ ทิพวัฒน์ (18) 60 0.12 -0.12
ผลรวม 48,730 100.00
บัตรดี 48,730 86.76
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,115 1.99
บัตรเสีย 6,319 11.25
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 56,164 52.08
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,851 100.00
ความหวังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ไทยรักไทย

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 May 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]