จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ68.59%
  First party Second party Third party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ ไทยรักไทย ชาติไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 2 พรรคใหม่ 2
ที่นั่งที่ชนะ 3 2 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น2 ลดลง2
คะแนนเสียง 112,980 139,573 19,836
% 33.72 41.66 5.92

  Fourth party
 
พรรค ความหวังใหม่
ที่นั่งก่อนหน้า 1
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1
คะแนนเสียง 15,364
% 4.59

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 5 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดสิงห์บุรี)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ไทยรักไทย 139,573 41.66%
ประชาธิปัตย์ 112,980 33.72%
ชาติไทย 19,836 5.92%
ความหวังใหม่ 15,364 4.59%
อื่น ๆ 47,292 14.12%
ผลรวม 335,045 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
41.66%
ประชาธิปัตย์
  
33.72%
ชาติไทย
  
5.92%
ความหวังใหม่
  
4.59%
อื่น ๆ
  
14.12%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดกาญจนบุรี)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 2,075 0.61
ชาวไทย (2) 751 0.22
กสิกรไทย (3) 811 0.24
นิติมหาชน (4) 1,580 0.47
ความหวังใหม่ (5) 15,364 4.59
รักสามัคคี (6) 1,745 0.52
ไทยรักไทย (7) 139,573 41.66
ชาติประชาธิปไตย (8) 3,855 1.15
ชาติไทย (9) 19,836 5.92
สันติภาพ (10) 256 0.08
ถิ่นไทย (11) 5,652 1.69
พลังประชาชน (12) 395 0.12
ราษฎร (13) 1,449 0.43
สังคมใหม่ (14) 949 0.28
เสรีธรรม (15) 1,985 0.59
ประชาธิปัตย์ (16) 112,980 33.72
อำนาจประชาชน (17) 1,902 0.57
ประชากรไทย (18) 3,287 0.98
ไท (19) 886 0.26
ก้าวหน้า (20) 205 0.06
ชาติพัฒนา (21) 4,386 1.31
แรงงานไทย (22) 348 0.10
เผ่าไท (23) 258 0.08
สังคมประชาธิปไตย (24) 497 0.15
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 634 0.19
พัฒนาสังคม (26) 1,235 0.37
ไทยช่วยไทย (27) 1,812 0.54
ไทยมหารัฐ (28) 598 0.18
ศรัทธาประชาชน (29) 362 0.11
วิถีไทย (30) 163 0.05
ไทยประชาธิปไตย (31) 3,585 1.07
พลังธรรม (32) 1,019 0.30
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 817 0.24
กิจสังคม (34) 669 0.20
เกษตรมหาชน (35) 1,063 0.32
พลังเกษตรกร (36) 1,160 0.35
สยาม (37) 899 0.27
บัตรดี 335,045 94.04
บัตรเสีย 14,171 3.98
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 7,046 1.98
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 356,262 68.59
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 519,409 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาญจนบุรี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย นาวาโท เดชา สุขารมณ์ (7)* 27,922 47.36
ประชาธิปัตย์ สุเมศ โพธิพิพิธ (16) 21,852 37.06
ความหวังใหม่ อาศุชิน เป้าอารีย์ (5) 5,088 8.63
ชาติไทย มนูญ พงษ์วัฒนา (9) 2,805 4.76
ถิ่นไทย วิรินทร์ ตันติพลวานิช (11) 593 1.00
ประชากรไทย พัชนี ชัยบุตรสมบูรณ์ (18) 348 0.59
ไทยมหารัฐ ชูชีพ ร่มไทร (28) 344 0.58
ผลรวม 58,952 100.00
บัตรดี 58,952 83.50
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,443 4.88
บัตรเสีย 8,201 11.62
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 70,596 65.92
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,092 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอท่าม่วง (ยกเว้นตำบลท่าตะคร้อ ตำบลพังตรุ และตำบลหนองตากยา) อำเภอพนมทวน (ยกเว้นตำบลรางหวาย) และอำเภอด่านมะขามเตี้ย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สันทัด จีนาภักดิ์ (7)✔ 35,824 53.25
ประชาธิปัตย์ พลเอก สุนทร หิรัญสิ (16) 14,718 21.88
ความหวังใหม่ วิทิต มาไพศาลสิน (5) 8,003 11.90
ชาติไทย ชรินชัย จันทาภากุล (9) 5,866 8.72
ราษฎร อรัญญา คณากรณ์ (13) 2,227 3.31
ประชากรไทย แดนสรวง กลิ่นสุคนธ์ (18) 640 0.95
ผลรวม 67,278 100.00
บัตรดี 67,278 85.70
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,501 4.46
บัตรเสีย 7,725 9.84
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 78,504 69.51
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 112,943 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอท่ามะกา และอำเภอท่าม่วง (เฉพาะตำบลท่าตะคร้อ ตำบลพังตรุ และตำบลหนองตากยา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เรวัต สิรินุกุล (16)* 36,430 56.64
ไทยรักไทย ปารเมศ โพธารากุล (7) 27,225 42.33
ประชากรไทย นัฎฐิตา บุญเสนันท์ (18) 666 1.04
ผลรวม 64,321 100.00
บัตรดี 64,321 80.91
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,651 3.33
บัตรเสีย 12,525 15.76
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 79,497 73.23
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,565 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ชาติไทย

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเลาขวัญ อำเภอบ่อพลอย อำเภอห้วยกระเจา และอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลรางหวาย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร (16)✔ 28,649 51.61
ความหวังใหม่ ศุภกิจ แป้นเขียว (5) 20,169 36.33
ไทยรักไทย พลตำรวจตรี สุรัตน์ ยุทธโยธิน (7) 6,292 11.34
ประชากรไทย หนึ่งฤทัย เนตรน้อย (18) 400 0.72
ผลรวม 55,510 100.00
บัตรดี 55,510 78.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,545 2.19
บัตรเสีย 13,588 19.23
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 70,643 67.50
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 104,657 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอทองผาภูมิ อำเภอไทรโยค อำเภอสังขละบุรี อำเภอศรีสวัสดิ์ และอำเภอหนองปรือ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ประชา โพธิพิพิธ (16)* 24,054 52.96
ความหวังใหม่ พลตรี ศรชัย มนตริวัต (5)* 11,050 24.33
ไทยรักไทย ปัญญา สุดสวงศ์ (7)✔ 9,935 21.87
ประชากรไทย วิริยะ ภิญโญ (18) 384 0.85
ผลรวม 45,423 100.00
บัตรดี 45,423 79.65
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,982 3.48
บัตรเสีย 9,617 16.87
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 57,022 66.19
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 86,152 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

การเลือกตั้งใหม่[แก้]

ในภายหลังประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติให้ใบเหลืองแก่ผู้สมัครดังต่อไปนี้

  • นาวาโท เดชา สุขารมณ์ ว่าที่ ส.ส.เขต 1 พรรคไทยรักไทย
  • นายเรวัต สิรินุกุล ว่าที่ ส.ส.เขต 3 พรรคประชาธิปัตย์
  • นายไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร ว่าที่ ส.ส.เขต 4 พรรคประชาธิปัตย์
  • นายประชา โพธิพิพิธ ว่าที่ ส.ส.เขต 5 พรรคประชาธิปัตย์

และมติดังกล่าวมีผลให้ กกต. ต้องสั่งเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งที่ 1 , 3 , 4 และ 5 จังหวัดกาญจนบุรี โดยกำหนดวันเลือกตั้งใหม่คือวันที่ 29 มกราคม 2544

ซึ่งในกรณีที่ถูกใบเหลืองและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมในเขตจากทุกพรรคจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาญจนบุรี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย นาวาโท เดชา สุขารมณ์ (7) 25,812 53.58 +6.22
ประชาธิปัตย์ สุเมศ โพธิพิพิธ (16) 17,597 36.52 -0.54
ความหวังใหม่ อาศุชิน เป้าอารีย์ (5) 2,867 5.95 -2.68
ชาติไทย มนูญ พงษ์วัฒนา (9) 1,527 3.17 -1.59
ถิ่นไทย วิรินทร์ ตันติพลวานิช (11) 164 0.34 -0.66
ไทยมหารัฐ ชูชีพ ร่มไทร (28) 130 0.27 -0.31
ประชากรไทย พัชนี ชัยบุตรสมบูรณ์ (18) 82 0.17 -0.42
ผลรวม 48,179 100.00
บัตรดี 48,179 89.56
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,528 4.70
บัตรเสีย 3,030 5.74
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 53,737 50.28
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 107,092 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอท่ามะกา และอำเภอท่าม่วง (เฉพาะตำบลท่าตะคร้อ ตำบลพังตรุ และตำบลหนองตากยา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เรวัต สิรินุกุล (16) 32,959 61.02 +4.38
ไทยรักไทย ปารเมศ โพธารากุล (7) 20,827 38.56 -3.77
ประชากรไทย นัฎฐิตา บุญเสนันท์ (18) 229 0.42 -0.62
ผลรวม 54,015 100.00
บัตรดี 54,015 89.76
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,607 2.67
บัตรเสีย 4,554 7.57
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 60,176 55.74
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,565 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเลาขวัญ อำเภอบ่อพลอย อำเภอห้วยกระเจา และอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลรางหวาย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร (16) 23,269 52.29 +0.68
ความหวังใหม่ ศุภกิจ แป้นเขียว (5) 18,137 40.76 +4.43
ไทยรักไทย พลตำรวจตรี สุรัตน์ ยุทธโยธิน (7) 2,964 6.66 -4.68
ประชากรไทย หนึ่งฤทัย เนตรน้อย (18) 106 0.24 -0.48
ผลรวม 44,496 100.00
บัตรดี 44,496 86.90
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 874 1.71
บัตรเสีย 5,833 11.39
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 51,203 48.92
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 104,657 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอทองผาภูมิ อำเภอไทรโยค อำเภอสังขละบุรี อำเภอศรีสวัสดิ์ และอำเภอหนองปรือ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ประชา โพธิพิพิธ (16) 17,309 49.95 -3.01
ความหวังใหม่ พลตรี ศรชัย มนตริวัต (5)✔ 10,606 30.61 +6.28
ไทยรักไทย ปัญญา สุดสวงศ์ (7)✔ 6,602 19.05 -2.82
ประชากรไทย วิริยะ ภิญโญ (18) 134 0.39 -0.46
ผลรวม 34,651 100.00
บัตรดี 34,651 84.99
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,402 3.44
บัตรเสีย 4,716 11.57
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 40,769 47.62
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 86,152 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 2023-10-18.