ข้ามไปเนื้อหา

จังหวัดสมุทรสาครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดสมุทรสาครในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544

← พ.ศ. 2539 6 มกราคม พ.ศ. 2544 พ.ศ. 2548 →

3 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ70.53%
  First party Second party Third party
 
พรรค ประชาธิปัตย์ ความหวังใหม่ ไทยรักไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 3 พรรคใหม่
ที่นั่งที่ชนะ 2 1 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง2 Steady0
คะแนนเสียง 70,323 14,754 72,738
% 36.06 7.57 37.30

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ชวน หลีกภัย
ประชาธิปัตย์

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรสาคร พ.ศ. 2544 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2544 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง[1] จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2539 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

การเลือกตั้งครั้งนี้เป็นการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นการทั่วไปครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ที่มีการใช้การเลือกตั้งรูปใหม่ ทั้งการเปลี่ยนแปลงเขตเลือกตั้งจากเขตใหญ่เรียงหมายเลขเป็นเขตเดียวหมายเลขเดียว และเพิ่มเติมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อเป็นครั้งแรก

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดสมุทรสาคร)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. %
ประชาธิปัตย์ 70,323 36.06%
ความหวังใหม่ 14,754 7.57%
ไทยรักไทย 72,738 37.30%
อื่น ๆ 37,194 19.07%
ผลรวม 195,009 100.00%
คะแนนเสียง
ประชาธิปัตย์
  
36.06%
ความหวังใหม่
  
7.57%
ไทยรักไทย
  
37.30%
อื่น ๆ
  
19.07%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดสมุทรสาคร)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดสมุทรสาคร
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
เสรีประชาธิปไตย (1) 1,199 0.61
ชาวไทย (2) 223 0.11
กสิกรไทย (3) 373 0.19
นิติมหาชน (4) 595 0.31
ความหวังใหม่ (5) 14,754 7.57
รักสามัคคี (6) 546 0.28
ไทยรักไทย (7) 72,738 37.30
ชาติประชาธิปไตย (8) 1,875 0.96
ชาติไทย (9) 1,314 0.67
สันติภาพ (10) 112 0.06
ถิ่นไทย (11) 5,632 2.89
พลังประชาชน (12) 303 0.16
ราษฎร (13) 2,008 1.03
สังคมใหม่ (14) 296 0.15
เสรีธรรม (15) 745 0.38
ประชาธิปัตย์ (16) 70,323 36.06
อำนาจประชาชน (17) 625 0.32
ประชากรไทย (18) 3,498 1.79
ไท (19) 206 0.11
ก้าวหน้า (20) 152 0.08
ชาติพัฒนา (21) 12,028 6.17
แรงงานไทย (22) 122 0.06
เผ่าไท (23) 83 0.04
สังคมประชาธิปไตย (24) 201 0.10
ชีวิตที่ดีกว่า (25) 224 0.12
พัฒนาสังคม (26) 268 0.14
ไทยช่วยไทย (27) 561 0.29
ไทยมหารัฐ (28) 205 0.11
ศรัทธาประชาชน (29) 106 0.05
วิถีไทย (30) 101 0.05
ไทยประชาธิปไตย (31) 1,595 0.82
พลังธรรม (32) 358 0.18
ชาวนาพัฒนาประเทศ (33) 282 0.14
กิจสังคม (34) 236 0.12
เกษตรมหาชน (35) 556 0.29
พลังเกษตรกร (36) 330 0.17
สยาม (37) 236 0.12
บัตรดี 195,009 95.29
บัตรเสีย 4,913 2.40
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,722 2.31
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 204,644 70.53
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 290,148 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตําบลมหาชัย ตําบลท่าฉลอม ตําบลโกรกกราก ตําบลคอกกระบือ ตําบลพันท้ายนรสิงห์ ตําบลโคกขาม ตําบลบางหญ้าแพรก ตําบลท่าจีน และตําบลท่าทราย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสมุทรสาคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ เอนก ทับสุวรรณ (16)✔ 23,679 41.96
ไทยรักไทย อรทัย ก๊กผล (7) 17,407 30.85
ความหวังใหม่ อนุสรณ์ ไกรวัตนุสสรณ์ (5) 14,797 26.22
ประชากรไทย สนธิยา สวัสดี (18) 434 0.77
ศรัทธาประชาชน ปรีชา ตงมณี (29) 109 0.19
ผลรวม 56,426 100.00
บัตรดี 56,426 88.44
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,593 4.06
บัตรเสีย 4,788 7.50
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 63,807 70.16
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 90,948 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะนาดี และตําบลบางน้ำจืด) และอำเภอกระทุ่มแบน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสมุทรสาคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ (16) 22,837 35.77
ไทยรักไทย เจี่ย ก๊กผล (7)* 20,943 32.80
ชาติพัฒนา ศุภพรพงศ์ ชวนบุญ (21)✔ 14,479 22.68
ความหวังใหม่ สมนึก โพธิ์ทะเล (5) 4,102 6.42
ประชากรไทย วิรัช เถื่อนยืนยงค์ (18) 914 1.43
เกษตรมหาชน สมพงศ์ คงสบาย (35) 571 0.89
ผลรวม 63,846 100.00
บัตรดี 63,846 87.69
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 3,499 4.81
บัตรเสีย 5,462 7.50
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 72,807 71.24
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 102,201 100.00
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ความหวังใหม่

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองสมุทรสาคร (เฉพาะตำบลลนาโคก ตําบลกาหลง ตําบลบางโทรัด ตําบลชัยมงคล ตําบลบ้านบ่อ ตําบลบางกระเจ้าและตําบลบ้านเกาะ) และอำเภอบ้านแพ้ว

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดสมุทรสาคร
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ความหวังใหม่ อุดม ไกรวัตนุสสรณ์ (5)* 27,594 46.23
ไทยรักไทย พันตำรวจเอก วิเลข ศรีนิเวศน์ (7) 17,913 30.01
ประชาธิปัตย์ สุมล เพิ่มพูล (16) 10,024 16.80
ชาติพัฒนา ปรีดี คกมิ (21) 3,531 5.92
ประชากรไทย บุญแทน ม่วงศรี (18) 621 1.04
ผลรวม 59,683 100.00
บัตรดี 59,683 87.73
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,960 2.88
บัตรเสีย 6,387 9.39
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 68,030 70.13
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 96,999 100.00
ความหวังใหม่ รักษาที่นั่ง

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2544" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-04. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)