พ.ศ. 2491
หน้าตา
(เปลี่ยนทางจาก ค.ศ. 1948)
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2491 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 1948 MCMXLVIII |
Ab urbe condita | 2701 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1397 ԹՎ ՌՅՂԷ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6698 |
ปฏิทินบาไฮ | 104–105 |
ปฏิทินเบงกอล | 1355 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2898 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 12 Geo. 6 – 13 Geo. 6 |
พุทธศักราช | 2492 |
ปฏิทินพม่า | 1310 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7456–7457 |
ปฏิทินจีน | 丁亥年 (กุนธาตุไฟ) 4644 หรือ 4584 — ถึง — 戊子年 (ชวดธาตุดิน) 4645 หรือ 4585 |
ปฏิทินคอปติก | 1664–1665 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3114 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 1940–1941 |
ปฏิทินฮีบรู | 5708–5709 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2004–2005 |
- ศกสมวัต | 1870–1871 |
- กลียุค | 5049–5050 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 11948 |
ปฏิทินอิกโบ | 948–949 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1326–1327 |
ปฏิทินอิสลาม | 1367–1368 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชโชวะ 23 (昭和23年) |
ปฏิทินจูเช | 37 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4281 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 37 民國37年 |
พุทธศักราช 2491 ตรงกับปีคริสต์ศักราช 1948 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันพฤหัสบดีตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีชวด สัมฤทธิศก จุลศักราช 1310 (วันที่ 15 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
ผู้นำประเทศไทย
[แก้]- พระมหากษัตริย์: พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 – 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
- นายกรัฐมนตรี
เหตุการณ์
[แก้]- 4 มกราคม - พม่าได้รับเอกราชจากอังกฤษ
- 16 มกราคม - หะยีสุหลง อับดุลการ์เดร์ ถูกจับในข้อหากบฏ
- 27 มกราคม - นายอดุลย์ ณ สายบุรี ส่งโทรเลขถึงเลขาธิการสหประชาชาติ ให้คณะมนตรีความมั่นคงเข้ามาดูแลปัญหาสี่จังหวัดภาคใต้
- 4 กุมภาพันธ์ - ศรีลังกาประกาศเอกราช
- 25 มีนาคม - ตำรวจเบิกตัว หะยีสุหลง อับดุลการ์เดร์ และจำเลยอื่น รวม 5 คน ขึ้นรถไฟจาก จ. ปัตตานีไปฝากขังที่ จ. นครศรีธรรมราช
- 6 เมษายน - รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2491 : น.อ.กาจ กาจสงคราม นำคณะนายทหารคนอื่นรวมเป็น 4 คนจี้ตัว นายควง อภัยวงศ์ นายกรัฐมนตรีให้ลาออกจากตำแหน่ง
- 25 - 28 เมษายน - เหตุการณ์กบฏดุซงญอ ที่จ.นราธิวาส
- 14 พฤษภาคม - ประเทศอิสราเอลได้รับเอกราชจากสหราชอาณาจักร
- 4 กันยายน - เจ้าหญิงยูเลียนา เจ้าหญิงแห่งออเรนจ์ เสด็จขึ้นครองราชย์เป็น สมเด็จพระราชินีนาถแห่งราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ ต่อจากรพระราชมารดา สมเด็จพระราชินีนาถวิลเฮลมินาแห่งเนเธอร์แลนด์
- 9 กันยายน - วันสถาปนาสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
- 12 ธันวาคม - สหประชาชาติยอมรับเกาหลีใต้เป็นตัวแทนเกาหลีเพียงรัฐเดียวในสหประชาชาติ
วันเกิด
[แก้]มกราคม
[แก้]- 1 มกราคม
- นพคุณ รัฐผไท สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดเชียงใหม่
- อำพล ตั้งนพกุล ชายไทย (ถึงแก่กรรม 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2555)
- 2 มกราคม
- โทนี จัดต์ นักประวัติศาสตร์อเมริกัน-อังกฤษ (ถึงแก่กรรม 6 สิงหาคม พ.ศ. 2553)
- มิกกี สกอตต์ลุนด์ นักยิงหน้าไม้ชาวสวีเดน
- 4มกราคม ดาวบ้านดอน น้องร้องลูกทุ่งชาวไทย
- 7 มกราคม - อิชิโร มิซุกิ นักร้อง, นักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น
- 10 มกราคม - เพิ่มพูน ทองศรี นักการเมืองชาวไทย
- 11 มกราคม - เฮิลกา อันเดอร์ส นักแสดงหญิงชาวออสเตรีย (ถึงแก่กรรม 30 มีนาคม พ.ศ. 2557)
- 14 มกราคม - ยังดีเปอร์ตวน เบซาร์ ตวนกู มูห์ริซ
- 15 มกราคม - บุญสร้าง เนียมประดิษฐ์ อดีตผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- 16 มกราคม
- คลิฟฟ์ ทอร์เบิร์น อดีตนักสนุกเกอร์อาชีพชาวแคนาดา
- จอห์น คาร์เพนเตอร์ ผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน
- ไลอ้อน ฟูรูยามา แชมป์นักมวยสากลชาวญี่ปุ่น
- 25 มกราคม
- เคาะลีฟะฮ์ บิน ซายิด อัลนะฮ์ยาน ประธานาธิบดีสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
- นิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล อดีตรองนายกรัฐมนตรี/อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- 29 มกราคม - สรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม นักเศรษฐศาสตร์ชาวไทย
- 30 มกราคม
- มิเกล คันโต แชมป์นักมวยสากลชาวเม็กซิโก
- อากิระ โยชิโนะ นักเคมีชาวญี่ปุ่น
กุมภาพันธ์
[แก้]- 3 กุมภาพันธ์ - สมมารถ เจ๊ะนา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี
- 4 กุมภาพันธ์ - อลิซ คูเปอร์ นักร้องเพลงร็อกชาวอเมริกัน
- 5 กุมภาพันธ์ - วินัย ภัททิยกุล อดีตเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ
- 8 กุมภาพันธ์ - ชัง อก-ริม อดีตนักวอลเลย์บอลหญิงชาวเกาหลีเหนือ
- 11 กุมภาพันธ์ - เจ้าชายโยะชิฮิโตะ เจ้าคะสึระ (ถึงแก่กรรม 8 มิถุนายน พ.ศ. 2557)
- 15 กุมภาพันธ์ - จักรมณฑ์ ผาสุกวนิช อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมไทย
- 16 กุมภาพันธ์
- ฉิน หวง นักแสดงชาวฮ่องกง
- เอคาร์ต ทอเลอ นักเขียนชาวเยอรมัน
- 19 กุมภาพันธ์
- โทนี อิออมมี นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
- บิ๊ก จอห์น สตัดด์ นักมวยปล้ำอาชีพและนักแสดงชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 20 มีนาคม พ.ศ. 2538)
- 28 กุมภาพันธ์ - พรไพร เพชรดำเนิน นักร้องลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม 6 เมษายน พ.ศ. 2558)
มีนาคม
[แก้]- 2 มีนาคม - แลร์รี คาร์ลตัน นักกีตาร์
- 5 มีนาคม - อีเลน เพจ นักร้อง นักแสดงชาวอังกฤษ
- 12 มีนาคม
- เจมส์ เทย์เลอร์ นักร้องชาวอเมริกัน
- มาลี บุญศิริพันธ์ นักวิชาการชาวไทย
- 13 มีนาคม - วะกิ ยะมะโตะ นักวาดการ์ตูนหญิงชาวญี่ปุ่น
- 14 มีนาคม - เตโอ ยันเซิน ศิลปินชาวดัตช์
- 17 มีนาคม
- พงศ์โพยม วาศภูติ อดีตปลัดกระทรวงมหาดไทย
- สุรสีห์ ผาธรรม ผู้กำกับภาพยนตร์ นักแสดงชาวไทย
- 19 มีนาคม - สังข์ทอง สีใส นักร้องเพลงลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม 22 มกราคม พ.ศ. 2527)
- 22 มีนาคม -
- เพชร เอกกำลังกุล นักการเมืองชาวไทย
- แอนดรูว์ ลอยด์ เวบเบอร์ นักประพันธ์เพลงละครเพลงชาวอังกฤษ
- 23 มีนาคม - พันธ์ทิพย์ สุรทิณฑ์ อดีตอธิบดีกรมธนารักษ์
- 24 มีนาคม - ริค กุยยาโน แชมป์นักมวยสากลชาวฟิลิปปินส์
- 27 มีนาคม - เจ้าชายฮารัลด์แห่งชัมเบิร์ก-ลิพเพอ ศรเพรช ศรสุพรรณ นักร้องลูกทุ่งชาวไทย (เสียชีวิต 8 มกราคม พ.ศ. 2565
- 31 มีนาคม - อัล กอร์ นักการเมืองชาวอเมริกัน นักธุรกิจ เขาเป็นประธานของช่องรายการโทรทัศน์อเมริกัน
เมษายน
[แก้]- 1 เมษายน - พอล แบรนด์แรม พระโอรสเพียงคนเดียว
- 2 เมษายน - สมเกียรติ อ่อนวิมล นักวิชาการสื่อสารมวลชน และประธานกรรมการบริหาร บริษัท ไทยวิทัศน์ จำกัด
- 5 เมษายน - ชลิต พุกผาสุข อดีตผู้บัญชาการทหารอากาศไทย
- 6 เมษายน - ณัฐนี สิทธิสมาน นักแสดงชาวไทย
- 13 เมษายน - บุปผา สายชล นักร้องลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2533)
- 9 เมษายน - ชยา พัจจัน นักแสดงชาวอินเดีย
- 12 เมษายน - มาร์เชลโล ลิปปี ผู้จัดการทีมฟุตบอลและอดีตนักฟุตบอลชาวอิตาลี
- 21 เมษายน - ลีโอ เซเยอร์ นักร้อง , นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
- 22 เมษายน - ประภัสสร เสวิกุล นักเขียนชาวไทย (ถึงแก่กรรม 18 กันยายน พ.ศ. 2558)
- 23 เมษายน - เพ็ญพักตร์ ลักขณา นักร้องลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2554)
- 25 เมษายน - สายัณห์ จันทรวิบูลย์ อดีตนักแสดงชาวไทย
- 26 เมษายน - โจเซฟ บีเบอร์บิชเลอร์ นักแสดงชาวเยอรมัน
- 27 เมษายน - เจ้าชายอาซิม บิน นาเยฟ
- 28 เมษายน - เหลียง เสี่ยวหลง นักแสดงภาพยนตร์ชาวฮ่องกง
- 29 เมษายน - สุรชัย จันทิมาธร นักร้อง นักแต่งเพลง นักเขียนชาวไทย
พฤษภาคม
[แก้]- 1 พฤษภาคม - การ์ลูส โรเบร์ตู จี การ์วัลยู นักฟุตบอลทีมชาติชาวบราซิล
- 4 พฤษภาคม
- สมเด็จพระราชาธิบดีจอร์จ ตูโปอูที่ 5 แห่งตองงา (สวรรคต 18 มีนาคม พ.ศ. 2555)
- อุดมศักดิ์ นิติมนตรี ตุลาการศาลปกครองไทย
- 5 พฤษภาคม - บิล วอร์ด นักดนตรีชาวอังกฤษ
- 6 พฤษภาคม - วีระศักดิ์ วงษ์สมบัติ นายกสภามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
- 9 พฤษภาคม - เอียน แฮมพ์เชียร์ นักฟุตบอลชาวออสเตรเลีย
- 14 พฤษภาคม - เปียทิพย์ คุ้มวงศ์ นักแสดงหญิงชาวไทย
- 16 พฤษภาคม - เขตต์อรัญ เลิศพิพัฒน์ นักดนตรีชาวไทย (ถึงแก่กรรม 22 สิงหาคม พ.ศ. 2546)
- 24 พฤษภาคม - วีระกานต์ มุสิกพงศ์ อดีตโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
- 25 พฤษภาคม
- เคลาส์ ไมน์เนอ นักร้องชาวเยอรมัน
- ชูศักดิ์ ศิรินิล อดีตรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีไทย/อดีตเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
- 27 พฤษภาคม - ภัทราวดี มีชูธน นักแสดงชาวไทย
- 31 พฤษภาคม - จรวยพร ธรณินทร์ อดีตปลัดกระทรวงศึกษาธิการไทย
มิถุนายน
[แก้]- 1 มิถุนายน - กรณีอรุณา ศานบาค พยาบาลชาวอินเดีย (ถึงแก่กรรม 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2558)
- 8 มิถุนายน -
- ก่ำซุง ประภากรแก้วรัตน์ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดชัยภูมิ 7 สมัย
- พระเจ้าโอกูมากาโซโลมอน กาฟาบูซา อิกูรูที่ 1
- 14 มิถุนายน - ซัลบาดอร์ ซิเอนฟูเอโกส เซเปดา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมเม็กซิโก
- 28 มิถุนายน
- เคธี เบตส์ นักแสดงชาวอเมริกัน
- อับดุล มานัน อิสมาอิล นักการเมืองชาวมาเลเซีย (ถึงแก่กรรม 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561)
กรกฎาคม
[แก้]- 8 กรกฎาคม - สพรั่ง กัลยาณมิตร อดีตแม่ทัพภาคที่ 3
- 9 กรกฎาคม - ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขไทย
- 10 กรกฎาคม - แองเกล แองเกลอฟ นักมวยสากลสมัครเล่นทีมชาติชาวบัลแกเรีย
- 12 กรกฎาคม - เจย์ โทมัส นักแสดง พิธีกรวิทยุโทรทัศน์ชาวอเมริกัน (ถึงแก่กรรม 24 สิงหาคม พ.ศ. 2560)
- 14 กรกฎาคม - พลากร สุวรรณรัฐ อดีตองคมนตรี
- 18 กรกฎาคม - คาร์ลอส โคลอน ซีเนียร์ นักมวยปล้ำอาชีพชาวเปอร์โตริโก
- 19 กรกฎาคม - พอเจตน์ แก่นเพชร นักแสดงชาวไทย
- 21 กรกฎาคม - แคท สตีเวนส์ นักร้อง นักดนตรี และนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
- 22 กรกฎาคม - ฟิลิป บ็อบบิตต์ นักเขียน นักวิชาการ นักกฎหมาย และข้าราชการชาวอเมริกัน
- 24 กรกฎาคม - อมเรศ ภูมิรัตน นักวิทยาศาสตร์ชาวไทย
- 30 กรกฎาคม
- ฌ็อง เรโน นักแสดงชาวฝรั่งเศส
- หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล อดีตประธานศาลปกครองสูงสุด (ถึงแก่กรรม 13 เมษายน พ.ศ. 2559)
สิงหาคม
[แก้]- 1 สิงหาคม - พรเพชร วิชิตชลชัย ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- 3 สิงหาคม - ฌ็อง-ปีแยร์ ราฟาแร็ง อดีตนายกรัฐมนตรีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส
- 5 สิงหาคม - เมตตา เต็มชำนาญ อดีตนายทหารสังกัดกองทัพบก และนักการเมือง
- 7 สิงหาคม - บุญส่ง น้อยโสภณ กรรมการการเลือกตั้ง
- 9 สิงหาคม
- พิเศษ สังข์สุวรรณ นักเขียนชาวไทย (ถึงแก่กรรม 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551)
- วาณิช จรุงกิจอนันต์ นักเขียนและกวีชาวไทย (ถึงแก่กรรม 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2553)
- 13 สิงหาคม - พอล-ฟิลิป โฮเอินโซลเลิร์น เจ้าชายโรมาเนีย
- 15 สิงหาคม
- ทวี สุระบาล อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดตรัง
- วีรวิท คงศักดิ์ สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ทหารอากาศชาวไทย
- 20 สิงหาคม
- คำแสง สีนนทอง นักเขียนชาวลาว
- โรเบิร์ต แพลนต์ นักร้อง และนักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
- 23 สิงหาคม - สมชัย อัศวชัยโสภณ อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดฉะเชิงเทรา 2 สมัย
- 24 สิงหาคม
- เซาลี นีนิสเตอ นักการเมืองฟินแลนด์
- ฌ็อง มีแชล ฌาร์ นักแต่งเพลง นักดนตรีชาวฝรั่งเศส
- 26 สิงหาคม - ชัยเกษม นิติสิริ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมไทย
- 27 สิงหาคม - จ่าสลอจเตอร์ นักมวยปล้ำอาชีพชาวอเมริกัน
กันยายน
[แก้]- 2 กันยายน
- คริสตา แมคออลิฟ นักบินอวกาศชาวอเมริกัน (เสียชีวิต 28 มกราคม พ.ศ. 2529)
- พีระพงศ์ ถนอมพงษ์พันธุ์ นักการธนาคารชาวไทย
- 3 กันยายน - เสรีพิศุทธ์ เตมียเวส อดีตผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- 5 กันยายน - เรวัต พุทธินันทน์ (เต๋อ) นักร้อง/นักดนตรี/โปรดิวเซอร์ (เสียชีวิต 27 ตุลาคม พ.ศ. 2539)
- 6 กันยายน - ประเสริฐ ชิตพงศ์ สมาชิกวุฒิสภาจังหวัดสงขลา/อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
- 7 กันยายน - ชัช ชลวร ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ
- 15 กันยายน - พีรศักดิ์ วรสุนทโรสถ นักวิชาการชาวไทย
- 19 กันยายน - เจเรมี ไอเอินส์ นักแสดงชายชาวอังกฤษ
- 20 กันยายน
- จอร์จ อาร์. อาร์. มาร์ติน นักเขียนบันเทิงคดีแนววิทยาศาสตร์
- แฟรงก์ แลมพาร์ด (ซีเนียร์) อดีตนักฟุตบอลทีมชาติอังกฤษ
- 21 กันยายน - ปรีชา นพรัตน์ นักมวยสากลสมัครเล่นชาวไทย
- 22 กันยายน - มาร์ก ฟิลลิปส์ นักกีฬาขี่ม้าชาวอังกฤษ
- 26 กันยายน - โอลิเวีย นิวตัน-จอห์น นักร้อง, นักแสดงชาวออสเตรเลีย
ตุลาคม
[แก้]- 4 ตุลาคม - ลินดา แม็กแมน ผู้จัดการมวยปล้ำอาชีพ, นักการเมือง
- 6 ตุลาคม - บุรีรัตน์ รัตนวานิช อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- 8 ตุลาคม - จอห์นนี ราโมน นักกีตาร์ (เสียชีวิต 15 กันยายน พ.ศ. 2547)
- 9 ตุลาคม - แจ็กสัน บราวน์ นักร้องชาวอเมริกัน
- 10 ตุลาคม
- คาลิตราส กูตอฟ นักมวยสากลสมัครเล่นชาวโรมาเนีย
- วราวุธ สุธีธร นักธรณีวิทยา, นักบรรพชีวินวิทยาชาวไทย
- อากิระ คุชิดะ นักร้องญี่ปุ่น
- 14 ตุลาคม
- กฤษณ์ กาญจนกุญชร อธิบดีกรมราชเลขานุการในพระองค์
- เรนาโต โคโรนา นักการศึกษาชาวฟิลิปปินส์
- 15 ตุลาคม - ชนากานต์ ยืนยง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี 1 สมัย
- 16 ตุลาคม
- สบโชค สุขารมณ์ อดีตประธานศาลฎีกาคนที่ 39
- สุรชัย ศิริสูตร์ นักมวยไทยชาวไทย
- เหมา มาลินี นักแสดงบอลลีวูด
- 17 ตุลาคม - อะกิระ คุชิดะ นักร้องชายชาวญี่ปุ่น
- 19 ตุลาคม - เม็ก ลีส์ อดีตสมาชิกวุฒิสภาออสเตรเลีย
- 28 ตุลาคม - เดลฟิน ลอเรนซานา เลขานุการกรมป้องกันประเทศคนที่ 36 ของประเทศฟิลิปปินส์
- 30 ตุลาคม - ชลิต เฟื่องอารมย์ นักแสดงชาวไทย
พฤศจิกายน
[แก้]- 1 พฤศจิกายน - ฮันส์ เอบีช นักฟุตบอลชาวเดนมาร์ก (เสียชีวิต 8 มกราคม พ.ศ. 2561)
- 2 พฤศจิกายน
- ละอองดาว สกาวเดือน นักร้องลูกทุ่งชาวไทย
- เลโอนิด เลวิน นักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
- สมเจตน์ บุญถนอม อดีตสมาชิกวุฒิภาแบบสรรหา
- 3 พฤศจิกายน - อะกิระ เอะโมะโตะ นักแสดงชายชาวญี่ปุ่น
- 8 พฤศจิกายน - กมลา สุโกศล นักธุรกิจชาวไทย
- 10 พฤศจิกายน - สิทธิชัย โภไคยอุดม อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
- 12 พฤศจิกายน - แฮแซน โรว์ฮอนี นักการเมือง นักกฎหมาย และอดีตนักการทูตชาวอิหร่าน
- 14 พฤศจิกายน - สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 แห่งสหราชอาณาจักร
- 23 พฤศจิกายน - ดอมีนิก-ฟร็องซ์ โลบ ปีการ์ อดีตคู่สมรสของพระเจ้าฟูอัดที่ 2 แห่งอียิปต์
- 30 พฤศจิกายน - สุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ พรรคประชาธิปัตย์
ธันวาคม
[แก้]- 3 ธันวาคม - ออซซี ออสบอร์น นักร้อง-นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
- 6 ธันวาคม - โยชิฮิเดะ ซูงะ นักการเมืองชาวญี่ปุ่น
- 11 ธันวาคม - ชินจิ ทานิมูระ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น (ถึงแก่กรรม 16 ตุลาคม พ.ศ. 2566)
- 12 ธันวาคม - มาร์แซลู รึเบลู ดึ โซซา นักการเมืองนักวิชาการและนักหนังสือพิมพ์ชาวโปรตุเกส
- 14 ธันวาคม - เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดปัตตานี
- 15 ธันวาคม - ธีระ วงศ์สมุทร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ไทย
- 19 ธันวาคม - ชี ยง-จู นักมวยสากลสมัครเล่นชาวเกาหลีใต้
- 20 ธันวาคม - อลัน พาร์สันส์ นักดนตรี นักแต่งเพลงชาวอังกฤษ
- 21 ธันวาคม
- ซามูเอล แอล. แจ็กสัน นักแสดงภาพยนตร์และโทรทัศน์ ชาวอเมริกัน
- พระองค์เจ้านโรดม มารี รณฤทธิ์ นักการเมืองชาวกัมพูชา
- 22 ธันวาคม - นีกอลาเอ ตีมอฟตี นักกฎหมายและนักการเมืองของมอลโดวา
- 24 ธันวาคม - ธานี สมบูรณ์ทรัพย์ อดีตรักษาการผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ
- 25 ธันวาคม - สมเด็จพระราชินีอาลียาแห่งจอร์แดน (สวรรคต 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2520)
- 31 ธันวาคม - ดอนนา ซัมเมอร์ นักร้อง นักประพันธ์เพลง ศิลปิน ชาวอเมริกัน
- ? - เกิร์ท เบนเดอร์ นักแข่งจักรยานยนต์
- ? - โซ วิน นายกรัฐมนตรีคนที่ 10 ของประเทศพม่า (ถึงแก่กรรม 12 ตุลาคม พ.ศ. 2550)
- ? - นภาพร หงสกุล นักแสดงหญิงชาวไทย
- ? - บรรณวิทย์ เก่งเรียน อดีตสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- ? - ยฺเหวียน ชิว นักแสดงหญิงชาวฮ่องกง
- ? - รูลา ฆานี คู่สมรสของผู้นำประเทศ
- ? - วิชาญน้อย พรทวี นักมวยไทยชาวไทย
- ? - สำราญ ภักดีอาษา นักร้องลูกทุ่งชาวไทย (ถึงแก่กรรม พ.ศ. 2538)
วันถึงแก่กรรม
[แก้]- 30 มกราคม - มหาตมะ คานธี (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2412)
- 21 เมษายน - มูฮัมมัด อิกบาล ผู้จุดประกายการก่อตั้งประเทศปากีสถาน
- 8 กันยายน - พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าประภาพรรณพิไลย (ประสูติ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2428)
- 1 ตุลาคม - พระยามโนปกรณ์นิติธาดา นายกรัฐมนตรีคนแรกของไทย (เกิด 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2427)