ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20
อิชตาดีอูดาลุช ใน ลิสบอน จะเป็นสนามแข่งขันในนัดชิงชนะเลิศ | |
รายละเอียดการแข่งขัน | |
---|---|
วันที่ | รอบคัดเลือก: 25 มิถุนายน – 28 สิงหาคม พ.ศ. 2562 การแข่งขันหลัก: 17 กันยายน พ.ศ. 2562 – 23 สิงหาคม พ.ศ. 2563 |
ทีม | รอบแบ่งกลุ่ม: 32 ทั้งหมด: 79 (จาก 54 สมาคม) |
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน | |
ชนะเลิศ | ไบเอิร์นมิวนิก (สมัยที่ 6) |
รองชนะเลิศ | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง |
สถิติการแข่งขัน | |
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 119 |
จำนวนประตู | 386 (3.24 ประตูต่อนัด) |
ผู้ชม | 4,758,398 (39,987 คนต่อนัด) |
ผู้ทำประตูสูงสุด | รอแบร์ต แลวันดอฟสกี (15 ประตู) |
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 เป็นการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรปถ้วยใหญ่ที่สุด จัดขึ้นโดยยูฟ่า โดยฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลที่ 64 และเป็นฤดูกาลที่ 27 ตั้งแต่มีการเปลี่ยนชื่อจากยูโรเปียนแชมเปียนคลับส์คัพ เป็นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2020 กำหนดแข่งขันที่ อิชตาดีอูดาลุช ใน ลิสบอน, ประเทศโปรตุเกส. โดยสโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันนี้จะได้สิทธิ์เข้าร่วมในการแข่งขันยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2020 กับสโมสรที่ชนะเลิศในการแข่งขันยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 อีกทั้งยังจะได้สิทธิ์ในการเข้าร่วมการแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2020 ที่ประเทศกาตาร์ และจะได้เข้าร่วมการแข่งขันในยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกฤดูกาลหน้าในรอบแบ่งกลุ่มอัตโนมัติ หรือหากสโมสรที่ชนะเลิศนั้นได้สิทธิ์จากการแข่งขันลีกแล้ว สโมสรที่ชนะเลิศในเอเรอดีวีซี ฤดูกาล 2019–20 ซึ่งเป็นลำดับที่ 11 ในการจัดอันดับสโมสรที่จะได้เข้าร่วมทำการแข่งขัน จะได้รับสิทธิ์ในการแข่งขันนี้แทน
ระบบผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ (VAR) จะใช้ในการแข่งขันนี้ตั้งแต่รอบคัดเลือก[1]
โดย ลิเวอร์พูล ซึ่งเป็นแชมป์ในฤดูกาลที่ผ่านมาจะทำการแข่งขันเพื่อป้องกันแชมป์. แต่ทั้งสองทีมของคู่ชิงชนะเลิศเมื่อฤดูกาลที่ผ่านมา, ทอตนัมฮอตสเปอร์ และลิเวอร์พูลต่างกระเด็นตกรอบในรอบ 16 ทีมสุดท้าย, หลังจากพ่ายแพ้ต่อ แอร์เบ ไลพ์ซิช และ อัตเลติโกเดมาดริด ตามลำดับ.
ผลกระทบจากการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา
[แก้]รอบ 16 ทีมสุดท้าย แต่ละคู่จะลงเล่นในช่วงสี่สัปดาห์, กับเลกแรกจะลงเล่นในช่วงสองสัปดาห์ในเดือนกุมภาพันธ์และเลกที่สองในสองสัปดาห์ต่อมาในเดือนมีนาคม. เพราะว่าแต่ละคู่ในเลกแรกไม่ได้รับผลกระทบจากการระบาดใหญ่, แต่ในแต่ละคู่ของเลกที่สองจะได้รับผลกระทบในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป. ทั้งหมดสี่นัดในสัปดาห์แรกของโปรแกรมการแข่งขันจะดำเนินไปข้างหน้าต่อแต่เนื่องจากความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นของ การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศสเปน และ ฝรั่งเศส, เกมนัดเหย้าของ บาเลนเซีย และ เปแอ็สเฌ จะลงเล่นหลังปิดประตูสนามแข่งขัน.[2][3] เมื่อวันที่ 15 มีนาคม, ยูฟ่าได้ประกาศหยุดการแข่งขันชั่วคราวหมายความว่าเกมเลกที่สองนัดที่เหลืออยู่จะถูกเลื่อนออกไปอย่างไม่มีกำหนด.[4][5] กับคณะทำงานที่ได้มีกำหนดให้จัดตารางการแข่งขันใหม่ในช่วงเวลาที่เหลือของฤดูกาล.[6] เมื่อวันที่ 23 มีนาคม มีการเปิดเผยว่า สนามกีฬาโอลิมปิกอาทาทืร์ค ใน อิสตันบูล ประเทศตุรกี จะไมได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันอีกต่อไปใน การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ, ซึ่งตามกำหนดเดิมจะเป็นวันที่ 30 พฤษภาคม, แต่จะจัดในการเป็นเจ้าภาพ นัดชิงชนะเลิศปี 2021 เป็นการทดแทน.[7]
เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน มีการเปิดเผยว่ายูฟ่าแชมเปียนส์ลีกจะรีเทิร์นกลับมาแข่งขันกันต่อในวันที่ 7 สิงหาคมและมีบทสรุปสุดท้ายในวันที่ 23 สิงหาคม,[8] กับช่วงพักแข่งขันของทัวร์นาเมนต์ที่จะจัดขึ้นในประเทศโปรตุเกส.[9] ส่วนที่เหลือของการแข่งขันจะลงเล่นในสไตล์มินิ-ทัวร์นาเมนต์กับโปรแกรมการแข่งขันที่เหลืออยู่ที่จะลงเล่นในรูปแบบเลกเดียวของแต่ละคู่ยกเว้นสำหรับโปรแกรมการแข่งขันรอบ 16 ทีมสุดท้าย ในขณะที่เลกแรกมีการลงเล่นไปบ้างแล้ว.[8] คู่ที่เหลือทั้งหมดของการแข่งขันจะลงเล่นปิดประตูสนามแข่งขันเนื่องจาก การปรากฏตัวที่เหลืออยู่ของ การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในทวีปยุโรป พ.ศ. 2563.[10]
สนามแข่งขันรอบสุดท้าย
[แก้]ลิสบอน |
---|
อิชตาดีอูดาลุช (สนามแข่งขันของ รอบชิงชนะเลิศ) |
ความจุ: 64,642 |
ลิสบอน |
อิชตาดีอูโชแซอัลวาลาด |
ความจุ: 50,095 |
การคัดเลือกสโมสร
[แก้]79 สโมสรจาก 54 ประเทศ ของสมาชิกยูฟ่าจำนวน 55 ประเทศ จะได้เข้าร่วมการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์ ซึ่งไม่ได้จัดการแข่งขันลีก) โดยจะจัดอันดับแต่ละประเทศสำหรับจำนวนของสโมสรที่จะได้เข้าร่วมการแข่งขัน ดังนี้:[11]
- สมาคมอันดับที่ 1–4 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 4 สโมสร
- สมาคมอันดับที่ 5–6 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 3 สโมสร
- สมาคมอันดับที่ 7–15 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 2 สโมสร
- สมาคมอันดับที่ 16–55 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์) จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 1 สโมสร
- สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2018–19 และ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2018–19 จะได้รับสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันหากไม่ได้สิทธิ์จากการแข่งขันลีก
การจัดอันดับตามสมาคมฟุตบอล
[แก้]สำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 จะจัดอันดับอ้างอิงตามค่าสัมประสิทธิ์ของยูฟ่าในปี พ.ศ. 2561 (ค.ศ. 2018) ซึ่งคิดตามผลการแข่งขันฟุตบอลระดับทวีปตั้งแต่ฤดูกาล 2013–14 ถึง 2017–18[12]
นอกจากการคิดจากค่าสัมประสิทธิ์แล้ว สมาคมของประเทศนั้นจะได้รับสิทธิ์ให้มีสโมสรเข้าแข่งขันเพิ่มในแชมเปียนส์ลีก ดังนี้:
- (UCL) – สิทธิ์สำหรับสโมสรชนะเลิศแชมเปียนส์ลีก
- (UEL) – สิทธิ์สำหรับสโมสรชนะเลิศยูโรปาลีก
|
|
|
การจัดการแข่งขัน
[แก้]ตารางด้านล่างนี้เป็นการจัดการแข่งขันของฤดูกาลนี้[13]
สโมสรที่เข้ารอบนี้ | สโมสรจากรอบก่อนหน้า | ||
---|---|---|---|
รอบคัดเลือกก่อนรอบแรก (4 สโมสร) |
|
||
รอบคัดเลือกรอบแรก (32 สโมสร) |
|
| |
รอบคัดเลือกรอบสอง | ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก (20 สโมสร) |
|
|
ตัวแทนจากลีก (4 สโมสร) |
|
||
รอบคัดเลือกรอบสาม | ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก (12 สโมสร) |
|
|
ตัวแทนจากลีก (8 สโมสร) |
|
| |
รอบเพลย์ออฟ | ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก (8 สโมสร) |
|
|
ตัวแทนจากลีก (4 สโมสร) |
| ||
รอบแบ่งกลุ่ม (32 สโมสร) |
|
| |
รอบแพ้คัดออก (16 สโมสร) |
|
สโมสร
[แก้]อันดับในลีกซึ่งเป็นอันดับในฤดูกาลก่อนหน้าจะแสดงในวงเล็บ (TH: สโมสรชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก; EL: สโมสรชนะเลิศยูฟ่ายูโรปาลีก).[13]
ลิเวอร์พูลTH (อันดับที่ 2) | ทอตนัม ฮอตสเปอร์ (อันดับที่ 4) | แอร์เบ ไลพ์ซิช (อันดับที่ 3) | ไบฟีกา (อันดับที่ 1) |
เชลซีEL (อันดับที่ 3) | ยูเวนตุส (อันดับที่ 1) | ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน (อันดับที่ 4) | ชัคตาร์ โดเนตสค์ (อันดับที่ 1) |
บาร์เซโลนา (อันดับที่ 1) | นาโปลี (อันดับที่ 2) | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (อันดับที่ 1) | เคงก์ (อันดับที่ 1) |
อัตเลติโกเดมาดริด (อันดับที่ 2) | อาตาลันตา (อันดับที่ 3) | ลีล (อันดับที่ 2) | กาลาทาซาไร (อันดับที่ 1) |
เรอัลมาดริด (อันดับที่ 3) | อินแตร์มิลาน (อันดับที่ 4) | ลียง (อันดับที่ 3) | เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค (อันดับที่ 1) |
บาเลนเซีย (อันดับที่ 4) | ไบเอิร์นมิวนิก (อันดับที่ 1) | เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (อันดับที่ 1) | |
แมนเชสเตอร์ซิตี (อันดับที่ 1) | โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ (อันดับที่ 2) | โลโคโมทีฟมอสโก (อันดับที่ 2) |
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก | ตัวแทนจากลีก | ||
---|---|---|---|
ยัง บอยส์ (อันดับที่ 1) | สลาเวีย ปราก (อันดับที่ 1) |
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก | ตัวแทนจากลีก | ||
---|---|---|---|
อายักซ์ (อันดับที่ ) | พีเอโอเค (อันดับที่ 1) | ครัสโนดาร์ (อันดับที่ 3) | กลึบบรึคเคอ (อันดับที่ 2) |
โปร์ตู (อันดับที่ 2) | อิสตันบูลบาชัคเชฮีร์ (อันดับที่ 2) | ||
ดีนาโมคียิว (อันดับที่ 2) | ลัสค์ (อันดับที่ 2) |
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก | ตัวแทนจากลีก | ||
---|---|---|---|
ดีนาโม ซาเกร็บ (อันดับที่ 1) | มัคคาบีเทลอาวีฟ (อันดับที่ 1) | บาเซิล (อันดับที่ 2) | เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน (อันดับที่ 2) |
โคเปนเฮเกน (อันดับที่ 1) | อาโปเอล (อันดับที่ 1) | วิกตอเรีย เพิลเซน (อันดับที่ 2) | โอลิมเบียโกส (อันดับที่ 2) |
ลินคอล์น เรด อิมป์ส (อันดับที่ 1) | ซานตาโคโลมา (อันดับที่ 1) | เทรเพนเน (อันดับที่ 1) | เฟโรนีเคลี (อันดับที่ 1) |
วันแข่งขันและวันจับสลาก
[แก้]การจับสลากทั้งหมดจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ของยูฟ่า ในเมืองนียง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์[14]
การแข่งขัน | รอบ | วันจับสลาก | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
รอบคัดเลือก | รอบคัดเลือกก่อนรอบแรก | 11 มิถุนายน 2562 | 25 มิถุนายน 2562 (รอบรองชนะเลิศ) | 28 มิถุนายน 2562 (รอบชิงชนะเลิศ) |
รอบคัดเลือกรอบแรก | 18 กรกฎาคม 2562 | 9–10 กรกฎาคม 2562 | 16–17 กรกฎาคม 2562 | |
รอบคัดเลือกรอบสอง | 19 มิถุนายน 2562 | 23–24 กรกฎาคม 2562 | 30–31 กรกฎาคม 2562 | |
รอบคัดเลือกรอบสาม | 22 กรกฎาคม 2562 | 6–7 สิงหาคม 2562 | 13 สิงหาคม 2562 | |
รอบเพลย์ออฟ | รอบเพลย์ออฟ | 5 สิงหาคม 2562 | 20–21 สิงหาคม 2562 | 27–28 สิงหาคม 2562 |
รอบแบ่งกลุ่ม | นัดที่ 1 | 29 สิงหาคม 2562 (ที่ โมนาโก) |
17–18 กันยายน 2562 | |
นัดที่ 2 | 1–2 ตุลาคม 2562 | |||
นัดที่ 3 | 22–23 ตุลาคม 2562 | |||
นัดที่ 4 | 5–6 พฤศจิกายน 2562 | |||
นัดที่ 5 | 26–27 พฤศจิกายน 2562 | |||
นัดที่ 6 | 10–11 ธันวาคม 2562 | |||
รอบแพ้คัดออก | รอบ 16 ทีม | 16 ธันวาคม 2562 | 18–19 และ 25–26 กุมภาพันธ์ 2563 | 10–11 และ 17–18 มีนาคม 2562 |
รอบ 8 ทีม | 20 มีนาคม 2563 | 7–8 เมษายน 2563 | 14–15 เมษายน 2563 | |
รอบรองชนะเลิศ | 28–29 เมษายน 2563 | 5–6 พฤษภาคม 2563 | ||
รอบชิงชนะเลิศ | 30 พฤษภาคม 2563 ที่ สนามกีฬาโอลิมปิกอาทาทืร์ค |
รอบเบื้องต้น
[แก้]ในรอบเบื้องต้น, แต่ละทีมจะถูกแบ่งอยู่ในทีมวางและทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวางซึ่งขึ้นอยู่กับของพวกเขาใน ค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า ปี 2019,[15] และจากนั้นได้จับสลากให้อยู่ในรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศแบบนัดเดียว. ผู้แพ้ของรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศทั้งสองรอบจะเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกรอบสอง.
การจับสลากสำหรับรอบเบื้องต้นได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 12:00 CEST.[16] รอบรองชนะเลิศจะลงเล่นในวันที่ 25 มิถุนายน, และรอบชิงชนะเลิศในวันที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ทั้งสองรอบเล่นกันที่ สนามกีฬาฟาดิลวอคร์รี ใน พริสตีนา, ประเทศคอซอวอ.
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เฟโรนิเคลี | 1–0 | ลินคอล์น เรด อิมป์ส |
เทรเพนเน | 0–1 | ซานตาโคโลมา |
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
เฟโรนิเคลี | 2–1 | ซานตาโคโลมา |
รอบคัดเลือก
[แก้]ในรอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ, แต่ละทีมจะถูกแบ่งอยู่ในทีมวางและทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวางซึ่งขึ้นอยู่กับของพวกเขาใน ค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า ปี 2019,[15] และจากนั้นได้จับสลากให้อยู่ในระบบสองนัดเหย้าและเยือน.
รอบคัดเลือกรอบแรก
[แก้]ทีมผู้แพ้เข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกรอบสอง, ยกเว้นหนึ่งทีมที่จับสลากได้รับสิทธิ์บายสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกรอบสาม.
การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบแรกได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 14:30 CEST.[17] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 9 และ 10 กรกฎาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 16 และ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2562.
ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
นูมเมคาลยู | 2–2 (ย) | ชคืนดิยา | 0–1 | 2–1 |
ซูดูวา | 1–2 | เรด สตาร์ เบลเกรด | 0–0 | 1–2 |
อารารัต-อาร์เมเนีย | 3–4 | อาอีคอ | 2–1 | 1–3 |
อัสตานา | 2–3 | ซีเอฟอาร์ คลูช | 1–0 | 1–3 |
เฟเรนส์วาโรช | 5–3[A] | ลูโดโกเรตส์ รัซกราด | 2–1 | 3–2 |
พาร์ตีซานี | 0–2 | คาราบัก | 0–0 | 0–2 |
สลอวานบราติสลาวา | 2–2 (2–3 ล) | ซุตเยสกา นิกชิช | 1–1 | 1–1 (ต่อเวลา) |
ซาราเยโว | 2–5[B][C] | เซลติก | 1–3 | 1–2 |
เชริฟฟ์ ตีรัสปอล | 3–4 | ซาบูร์ตาโลทบิลีซี | 0–3 | 3–1 |
เอฟ91 ดูเดแลงก์ | 3–3 (ย) | วัลเล็ตตา | 2–2 | 1–1 |
ลินฟีลด์ | 0–6 | โรเซนบอร์ก | 0–2 | 0–4 |
วาลูร์ | 0–5 | มารีบอร์ | 0–3 | 0–2 |
ดันดอล์ก | 0–0 (5–4 ล) | รีกา | 0–0 | 0–0 (ต่อเวลา) |
เดอะนิวเซนส์ | 3–2 | เฟโรนีเคลี | 2–2 | 1–0 |
เอชเจเค | 5–2 | เอชเบทอร์สเฮาน์ | 3–0 | 2–2 |
บาแตบารือเซา | 3–2 | ปัสต์กลีวิตเซ | 1–1 | 2–1 |
หมายเหตุ
- ↑ Following a mistake with the original draw not following the correct procedure, UEFA performed a re-draw to establish the home team for each leg in the Ferencváros-Ludogorets Razgrad tie. As a result, the order of legs was reversed. The error did not affect any other tie.[18]
- ↑ Order of legs reversed after original draw.
- ↑ Losers to receive a bye to the Europa League third qualifying round.
รอบคัดเลือกรอบสอง
[แก้]รอบคัดเลือกรอบสองได้แบ่งออกเป็นสองส่วน: เส้นทางตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก (สำหรับทีมที่ได้เป็นแชมป์ลีก) และเส้นทางตัวแทนจากลีก (สำหรับทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก). ทีมผู้แพ้จากสองส่วนทั้งเส้นทางแชมเปียนส์และเส้นทางลีกจะได้ผ่านเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบคัดเลือกรอบสาม.
การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสองได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 12:00 CEST.[19] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 23 และ 24 กรกฎาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 30 และ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2562.
ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
ซีเอฟอาร์ คลูช | 3–2 | มัคคาบีเทลอาวีฟ | 1–0 | 2–2 |
บาแตบารือเซา | 2–3 | โรเซนบอร์ก | 2–1 | 0–2 |
เดอะนิวเซนส์ | 0–3 | โคเปนเฮเกน | 0–2 | 0–1 |
เฟเรนส์วาโรช | 4–2 | วัลเล็ตตา | 3–1 | 1–1 |
ดันดอล์ก | 1–4 | คาราบัก | 1–1 | 0–3 |
ซาบูร์ตาโลทบิลีซี | 0–5 | ดีนาโมซาเกร็บ | 0–2 | 0–3 |
เซลติก | 7–0 | นูมเมคาลยู | 5–0 | 2–0 |
เรด สตาร์ เบลเกรด | 3–2 | เอชเจเค | 2–0 | 1–2 |
ซุตเยสกา นิกชิช | 0–4 | อาโปเอล | 0–1 | 0–3 |
มารีบอร์ | 4–4 (ย) | อาอีคอ | 2–1 | 2–3 (ต่อเวลา) |
ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
วิกตอเรีย เพิลเซน | 0–4 | โอลิมเบียโกส | 0–0 | 0–4 |
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน | 4–4 (ย) | บาเซิล | 3–2 | 1–2 |
รอบคัดเลือกรอบสาม
[แก้]รอบคัดเลือกรอบสามได้แบ่งออกเป็นสองส่วน: เส้นทางตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก (สำหรับทีมที่ได้เป็นแชมป์ลีก) และเส้นทางตัวแทนจากลีก (สำหรับทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก). ทีมผู้แพ้จากเส้นทางตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีกเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบเพลย์ออฟ, ในขณะที่ผู้แพ้จากเส้นทางตัวแทนจากลีกเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบแบ่งกลุ่ม.
การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสามได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2562, 12:00 CEST.[20] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 6 และ 7 สิงหาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2562.
ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
ซีเอฟอาร์ คลูช | 5–4 | เซลติก | 1–1 | 4–3 |
อาโปเอล | 3–2 | คาราบัก | 1–2 | 2–0 |
พีเอโอเค | 4–5 | อายักซ์ | 2–2 | 2–3 |
ดีนาโม ซาเกร็บ | 5–1 | เฟเรนส์วาโรช | 1–1 | 4–0 |
เรด สตาร์ เบลเกรด | 2–2 (7–6 ล) | โคเปนเฮเกน | 1–1 | 1–1 (ต่อเวลา) |
มารีบอร์ | 2–6 | โรเซนบอร์ก | 1–3 | 1–3 |
ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
อิสตันบูลบาชัคเชฮีร์ | 0–3 | โอลิมเบียโกส | 0–1 | 0–2 |
ครัสโนดาร์ | 3–3 (ย) | โปร์ตู | 0–1 | 3–2 |
กลึบบรึคเคอ | 4–3 | ดีนาโมคียิว | 1–0 | 3–3 |
บาเซิล | 2–5 | ลัสค์ | 1–2 | 1–3 |
รอบเพลย์ออฟ
[แก้]รอบเพลย์ออฟได้แบ่งออกเป็นสองส่วน: เส้นทางแชมเปียนส์ (สำหรับทีมที่เป็นแชมป์ลีก) และเส้นทางลีก (สำหรับทีมที่ไม่ได้เป็นแชมป์ลีก). ผู้แพ้จากสองส่วนทั้งเส้นทางแชมเปียนส์และเส้นทางลีกจะได้ผ่านเข้าสู่ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 รอบแบ่งกลุ่ม. ตั้งแต่รอบนี้, ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ จะถูกนำมาใช้.
นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 20 และ 21 สิงหาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 27 และ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2562.
ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
ดีนาโม ซาเกร็บ | 3–1 | โรเซนบอร์ก | 2–0 | 1–1 |
ซีเอฟอาร์ คลูช | 0–2 | สลาเวีย ปราก | 0–1 | 0–1 |
ยัง บอยส์ | 3–3 (ย) | เรด สตาร์ เบลเกรด | 2–2 | 1–1 |
อาโปเอล | 0–2 | อายักซ์ | 0–0 | 0–2 |
ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
ลัสค์ | 1–3 | กลึบบรึคเคอ | 0–1 | 1–2 |
โอลิมเบียโกส | 6–1 | ครัสโนดาร์ | 4–0 | 2–1 |
รอบแบ่งกลุ่ม
[แก้]กลุ่ม เอ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | PAR | RM | BRU | GAL | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ปารี แซ็ง-แฌร์แม็ง | 6 | 5 | 1 | 0 | 17 | 2 | +15 | 16 | ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 3–0 | 1–0 | 5–0 | |
2 | เรอัลมาดริด | 6 | 3 | 2 | 1 | 14 | 8 | +6 | 11 | 2–2 | — | 2–2 | 6–0 | ||
3 | กลึบบรึคเคอ | 6 | 0 | 3 | 3 | 4 | 12 | −8 | 3 | ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก | 0–5 | 1–3 | — | 0–0 | |
4 | กาลาทาซาไร | 6 | 0 | 2 | 4 | 1 | 14 | −13 | 2 | 0–1 | 0–1 | 1–1 | — |
กลุ่ม บี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | BAY | TOT | OLY | RSB | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ไบเอิร์นมิวนิก | 6 | 6 | 0 | 0 | 24 | 5 | +19 | 18 | ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 3–1 | 2–0 | 3–0 | |
2 | ทอตนัม ฮอตสเปอร์ | 6 | 3 | 1 | 2 | 18 | 14 | +4 | 10 | 2–7 | — | 4–2 | 5–0 | ||
3 | โอลิมเบียโกส | 6 | 1 | 1 | 4 | 8 | 14 | −6 | 4 | ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก | 2–3 | 2–2 | — | 1–0 | |
4 | เรด สตาร์ เบลเกรด | 6 | 1 | 0 | 5 | 3 | 20 | −17 | 3 | 0–6 | 0–4 | 3–1 | — |
กลุ่ม ซี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | MC | ATA | SHK | DZG | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | แมนเชสเตอร์ซิตี | 6 | 4 | 2 | 0 | 16 | 4 | +12 | 14 | ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 5–1 | 1–1 | 2–0 | |
2 | อาตาลันตา | 6 | 2 | 1 | 3 | 8 | 12 | −4 | 7 | 1–1 | — | 1–2 | 2–0 | ||
3 | ชัคตาร์ ดอแนตสก์ | 6 | 1 | 3 | 2 | 8 | 13 | −5 | 6 | ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก | 0–3 | 0–3 | — | 2–2 | |
4 | ดีนาโม ซาเกร็บ | 6 | 1 | 2 | 3 | 10 | 13 | −3 | 5 | 1–4 | 4–0 | 3–3 | — |
กลุ่ม ดี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | JUV | ATL | LEV | LOM | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ยูเวนตุส | 6 | 5 | 1 | 0 | 12 | 4 | +8 | 16 | ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 1–0 | 3–0 | 2–1 | |
2 | อัตเลติโกเดมาดริด | 6 | 3 | 1 | 2 | 8 | 5 | +3 | 10 | 2–2 | — | 1–0 | 2–0 | ||
3 | ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน | 6 | 2 | 0 | 4 | 5 | 9 | −4 | 6 | ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก | 0–2 | 2–1 | — | 1–2 | |
4 | โลโคโมทีฟมอสโก | 6 | 1 | 0 | 5 | 4 | 11 | −7 | 3 | 1–2 | 0–2 | 0–2 | — |
กลุ่ม อี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | LIV | NAP | SAL | GNK | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | ลิเวอร์พูล | 6 | 4 | 1 | 1 | 13 | 8 | +5 | 13 | ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 1–1 | 4–3 | 2–1 | |
2 | นาโปลี | 6 | 3 | 3 | 0 | 11 | 4 | +7 | 12 | 2–0 | — | 1–1 | 4–0 | ||
3 | เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค | 6 | 2 | 1 | 3 | 16 | 13 | +3 | 7 | ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก | 0–2 | 2–3 | — | 6–2 | |
4 | เคงก์ | 6 | 0 | 1 | 5 | 5 | 20 | −15 | 1 | 1–4 | 0–0 | 1–4 | — |
กลุ่ม เอฟ
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | BAR | DOR | INT | SLP | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บาร์เซโลนา | 6 | 4 | 2 | 0 | 9 | 4 | +5 | 14 | ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 3–1 | 2–1 | 0–0 | |
2 | โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ | 6 | 3 | 1 | 2 | 8 | 8 | 0 | 10 | 0–0 | — | 3–2 | 2–1 | ||
3 | อินแตร์มิลาน | 6 | 2 | 1 | 3 | 10 | 9 | +1 | 7 | ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก | 1–2 | 2–0 | — | 1–1 | |
4 | สลาเวีย ปราก | 6 | 0 | 2 | 4 | 4 | 10 | −6 | 2 | 1–2 | 0–2 | 1–3 | — |
กลุ่ม จี
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | RBL | LYO | BEN | ZEN | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | แอร์เบ ไลพ์ซิช | 6 | 3 | 2 | 1 | 10 | 8 | +2 | 11 | ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 0–2 | 2–2 | 2–1 | |
2 | ลียง | 6 | 2 | 2 | 2 | 9 | 8 | +1 | 8 | 2–2 | — | 3–1 | 1–1 | ||
3 | ไบฟีกา | 6 | 2 | 1 | 3 | 10 | 11 | −1 | 7[a] | ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก | 1–2 | 2–1 | — | 3–0 | |
4 | เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก | 6 | 2 | 1 | 3 | 7 | 9 | −2 | 7[a] | 0–2 | 2–0 | 3–1 | — |
หมายเหตุ :
กลุ่ม เอช
[แก้]อันดับ | ทีม | เล่น | ชนะ | เสมอ | แพ้ | ได้ | เสีย | ต่าง | คะแนน | การผ่านเข้ารอบ | VAL | CHL | AJX | LIL | |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | บาเลนเซีย | 6 | 3 | 2 | 1 | 9 | 7 | +2 | 11[a] | ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย | — | 2–2 | 0–3 | 4–1 | |
2 | เชลซี | 6 | 3 | 2 | 1 | 11 | 9 | +2 | 11[a] | 0–1 | — | 4–4 | 2–1 | ||
3 | อายักซ์ | 6 | 3 | 1 | 2 | 12 | 6 | +6 | 10 | ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก | 0–1 | 0–1 | — | 3–0 | |
4 | ลีล | 6 | 0 | 1 | 5 | 4 | 14 | −10 | 1 | 1–1 | 1–2 | 0–2 | — |
หมายเหตุ :
รอบแพ้คัดออก
[แก้]สายการแข่งขัน
[แก้]รอบ 16 ทีมสุดท้าย | รอบก่อนรองชนะเลิศ | รอบรองชนะเลิศ | รอบชิงชนะเลิศ | |||||||||||||||||||
ทอตนัมฮอตสเปอร์ | 0 | 0 | 0 | |||||||||||||||||||
แอร์เบ ไลพ์ซิช | 1 | 3 | 4 | |||||||||||||||||||
แอร์เบ ไลพ์ซิช | 2 | |||||||||||||||||||||
อัตเลติโกเดมาดริด | 1 | |||||||||||||||||||||
อัตเลติโกเดมาดริด (ต่อเวลา) | 1 | 3 | 4 | |||||||||||||||||||
ลิเวอร์พูล | 0 | 2 | 2 | |||||||||||||||||||
แอร์เบ ไลพ์ซิช | 0 | |||||||||||||||||||||
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 3 | |||||||||||||||||||||
อาตาลันตา | 4 | 4 | 8 | |||||||||||||||||||
บาเลนเซีย | 1 | 3 | 4 | |||||||||||||||||||
อาตาลันตา | 1 | |||||||||||||||||||||
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 2 | |||||||||||||||||||||
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ | 2 | 0 | 2 | |||||||||||||||||||
23 สิงหาคม – ลิสบอน (ลุซ) | ||||||||||||||||||||||
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 1 | 2 | 3 | |||||||||||||||||||
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 0 | |||||||||||||||||||||
ไบเอิร์นมิวนิก | 1 | |||||||||||||||||||||
เรอัลมาดริด | 1 | 1 | 2 | |||||||||||||||||||
แมนเชสเตอร์ซิตี | 2 | 2 | 4 | |||||||||||||||||||
แมนเชสเตอร์ซิตี | 1 | |||||||||||||||||||||
ลียง | 3 | |||||||||||||||||||||
ลียง (ย) | 1 | 1 | 2 | |||||||||||||||||||
ยูเวนตุส | 0 | 2 | 2 | |||||||||||||||||||
ลียง | 0 | |||||||||||||||||||||
ไบเอิร์นมิวนิก | 3 | |||||||||||||||||||||
นาโปลี | 1 | 1 | 2 | |||||||||||||||||||
บาร์เซโลนา | 1 | 3 | 4 | |||||||||||||||||||
บาร์เซโลนา | 2 | |||||||||||||||||||||
ไบเอิร์นมิวนิก | 8 | |||||||||||||||||||||
เชลซี | 0 | 1 | 1 | |||||||||||||||||||
ไบเอิร์นมิวนิก | 3 | 4 | 7 | |||||||||||||||||||
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
[แก้]พิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับรอบ 16 ทีมสุดท้าย จะมีขึ้นในวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2562 (ค.ศ. 2019), 12:00 CET.[21] รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 18, 19, 25 และ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020), เช่นเดียวกันกับชุดแรกของรอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 10 และ 11 มีนาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020). เนื่องมาจากความกังวลที่มีต่อ การระบาดทั่วของโควิด-19 ในทวีปยุโรป, ชุดที่สองของแต่ละนัดในเลกที่สองได้เลื่อนการแข่งขันออกไปโดยยูฟ่าเมื่อวันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).[4] เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020), ยูฟ่าได้ประกาศออกมาว่าเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 7–8 สิงหาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020), กับสนามแข่งขันที่จะใช้ตัดสินระหว่างสนามกีฬาของทีมเจ้าบ้านและสนามเป็นกลางในประเทศโปรตุเกส (ที่ อิชตาดีอูดูดราเกา ใน โปร์ตู และ อิชตาดีอู ดี. อาฟอนโซ เฮนริเกส ใน กีมาไรช์).[22] อย่างไรก็ตาม, เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020), ยูฟ่าได้เปิดเผยออกมาว่านัดที่เหลือในเลกที่สองจะจัดขึ้นที่สนามแข่งขันที่คาดไว้ตามเดิม.[23]
ทีมแรก | ผล | ทีมที่สอง | นัดแรก | นัดที่สอง |
---|---|---|---|---|
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ | 2–3 | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 2–1 | 0–2 |
เรอัลมาดริด | 2–4 | แมนเชสเตอร์ซิตี | 1–2 | 1–2 |
อาตาลันตา | 8–4 | บาเลนเซีย | 4–1 | 4–3 |
อัตเลติโกเดมาดริด | 4–2 | ลิเวอร์พูล | 1–0 | 3–2 (ต่อเวลา) |
เชลซี | 1–7 | ไบเอิร์นมิวนิก | 0–3 | 1–4 |
ลียง | 2–2 (ย) | ยูเวนตุส | 1–0 | 1–2 |
ทอตนัมฮอตสเปอร์ | 0–4 | แอร์เบ ไลพ์ซิช | 0–1 | 0–3 |
นาโปลี | 2–4 | บาร์เซโลนา | 1–1 | 1–3 |
รอบก่อนรองชนะเลิศ
[แก้]การจับสลากสำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ จะจัดขึ้นเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).[4][24] รอบก่อนรองชนะเลิศ จะลงทำการแข่งขันตั้งแต่วันที่ 12 ถึง 15 สิงหาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
แมนเชสเตอร์ซิตี | 1–3 | ลียง |
แอร์เบ ไลพ์ซิช | 2–1 | อัตเลติโกเดมาดริด |
บาร์เซโลนา | 2–8 | ไบเอิร์นมิวนิก |
อาตาลันตา | 1–2 | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง |
รอบรองชนะเลิศ
[แก้]การจับสลากสำหรับรอบรองชนะเลิศจะจัดขึ้นในวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) (หลังจากการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ). แต่ละนัดจะลงเล่นในวันที่ 18 และ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020).
ทีมหนึ่ง | ผล | ทีมสอง |
---|---|---|
ลียง | 0–3 | ไบเอิร์นมิวนิก |
แอร์เบ ไลพ์ซิช | 0–3 | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง |
รอบชิงชนะเลิศ
[แก้]รอบชิงชนะเลิศจะลงเล่นที่ อิชตาดีอูดาลุช ใน ลิสบอน. ทีม "เจ้าบ้าน" (เพื่อวัตถุประสงค์ในการบริหาร) ถูกกำหนดโดยการจับสลากเพิ่มเติมที่จัดขึ้นหลังการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ..[24]
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 0–1 | ไบเอิร์นมิวนิก |
---|---|---|
รายงาน | กอมาน 59' |
สถิติ
[แก้]สถิติรวมตั้งแต่รอบคัดเลือก และ รอบเพลย์ออฟ.
การแข่งขันมีทั้งหมด 386 ประตูที่ทำได้ใน 119 นัด, สำหรับค่าเฉลี่ย 3.24 ประตูต่อนัด[25]
หมายเหตุ: ผู้เล่นและทีมที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.
อันดับผู้ทำประตู
[แก้]ลำดับ | ชื่อ | ทีม | ประตู | เวลาที่เล่น |
---|---|---|---|---|
1 | รอแบร์ต แลวันดอฟสกี | ไบเอิร์นมิวนิก | 15 | 887 |
2 | อาลิง โฮลัน[A] | เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ |
10 | 554 |
3 | แซร์ช ญาบรี | ไบเอิร์นมิวนิก | 9 | 767 |
4 | แฮร์รี เคน | ทอตนัมฮอตสเปอร์ | 6 | 450 |
ดรีส แมร์เตินส์ | นาโปลี | 586 | ||
กาบรีแยล เฌซุส | แมนเชสเตอร์ซิตี | 590 | ||
แม็มฟิส เดอไป | ลียง | 594 | ||
ราฮีม สเตอร์ลิง | แมนเชสเตอร์ซิตี | 599 | ||
9 | ซน ฮึง-มิน | ทอตนัมฮอตสเปอร์ | 5 | 365 |
เมาโร อิการ์ดิ | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 480 | ||
โจซิป อีลีชิช | อาตาลันตา | 516 | ||
เลาตาโร มาร์ติเนซ | อินเตอร์ มิลาน | 521 | ||
ลุยส์ ซัวเรซ | บาร์เซโลนา | 567 | ||
การีม แบนเซมา | เรอัลมาดริด | 643 | ||
กีลียาน อึมบาเป | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 652 |
หมายเหตุ
- ↑ อาลิง โฮลัน ยิงแปดประตูสมัยลงเล่นให้กับ เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค ระหว่างรอบแบ่งกลุ่ม, แต่ได้ย้ายทีมสู่ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ระหว่างช่วงตลาดซื้อขายนักเตะเดือนมกราคม, และจะลงทะเบียนในรายชื่อผู้เล่นของพวกเขาสำหรับรอบแพ้คัดออก.[26]
การผ่านบอล
[แก้]อันดับ | ผู้เล่น | สโมสร | การผ่านบอล | นาทีที่ลงเล่น |
---|---|---|---|---|
1 | อังเฆล ดิ มาริอา | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 6 | 750 |
รอแบร์ต แลวันดอฟสกี | ไบเอิร์นมิวนิก | 887 | ||
3 | ฮะคิม ซิเย็ช | อายักซ์ | 5 | 499 |
กีลียาน อึมบาเป | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 652 | ||
อุสเซม อาอัวร์ | ลียง | 715 | ||
6 | กอร็องแต็ง ตอลีโซ | ไบเอิร์นมิวนิก | 4 | 341 |
ริยาฎ มะห์รัซ | แมนเชสเตอร์ซิตี | 572 | ||
เนย์มาร์ | ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง | 585 | ||
โรแบร์ตู ฟีร์มีนู | ลิเวอร์พูล | 629 | ||
อัลฟอนโซ เดวีส์ | ไบเอิร์นมิวนิก | 713 |
ดูเพิ่ม
[แก้]- ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20
- ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2020
- ยูฟ่าวีเมนส์แชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20
- ยูฟ่ายูธลีก ฤดูกาล 2019–20
- ยูฟ่าฟุตซอลแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20
หมายเหตุ
[แก้]- ↑ ส่วนที่เหลือของการแข่งขันจัดขึ้นในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2020 จะลงเล่นโดยปิดประตูเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ในทวีปยุโรป.[10]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "VAR to be introduced in 2019/20 UEFA Champions League". UEFA.com. ยูฟ่า. 27 กันยายน 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-06-26. สืบค้นเมื่อ 27 กันยายน 2561.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ https://www.espn.com/soccer/uefa-champions-league/story/4070952/coronavirus-psg-dortmund-champions-league-clash-to-be-played-behind-closed-doors?platform=amp
- ↑ https://www.espn.co.uk/football/uefa-champions-league/story/4066185/coronavirus-valencia-vs-atalanta-champions-league-clash-behind-closed-doors?platform=amp
- ↑ 4.0 4.1 4.2 "All of this week's UEFA matches postponed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 15 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
- ↑ "UEFA postpones EURO 2020 by 12 months". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 March 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-03-17. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
- ↑ "Resolution of the European football family on a coordinated response to the impact of the COVID-19 on competitions". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
- ↑ "UEFA Club Finals postponed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 23 March 2020. สืบค้นเมื่อ 23 March 2020.
- ↑ 8.0 8.1 https://www.uefa.com/uefachampionsleague/news/025e-0f9a3f8c5c4d-3323c8a96a4d-1000--champions-league-to-resume-on-7-august/amp/
- ↑ https://amp.dw.com/en/champions-league-final-to-be-held-in-lisbon-cologne-gets-europa-league/a-53846514
- ↑ 10.0 10.1 "Venues for Round of 16 matches confirmed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 9 July 2020. สืบค้นเมื่อ 10 July 2020.
- ↑ "2018/19 UEFA Champions League regulations" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2561. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2018-05-12. สืบค้นเมื่อ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
และ|date=
(help) - ↑ "Country coefficients 2017/18". UEFA.com. ยูฟ่า. 10 สิงหาคม 2561. สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2561.
{{cite web}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ 13.0 13.1 "Champions League and Europa League changes next season". UEFA.com. ยูฟ่า. 27 กุมภาพันธ์ 2561. สืบค้นเมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 2561.
{{cite news}}
: ตรวจสอบค่าวันที่ใน:|access-date=
(help) - ↑ "2019/20 Champions League match and draw calendar". UEFA.com. 14 มกราคม 2562.
- ↑ 15.0 15.1 "Club coefficients". UEFA.com. Union of European Football Associations. 10 August 2018. สืบค้นเมื่อ 10 August 2018.
- ↑ "UEFA Champions League preliminary round draw". UEFA.com.
- ↑ "UEFA Champions League first qualifying round draw". UEFA.com.
- ↑ "UEFA-botrány: Üres teremben sorsolták újra a Fradi-Ludogorecet" (ภาษาฮังการี). origo.hu.
- ↑ "UEFA Champions League second qualifying round draw". UEFA.com.
- ↑ "UEFA Champions League third qualifying round draw". UEFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-08-07. สืบค้นเมื่อ 2019-08-08.
- ↑ "UEFA Champions League round of 16 draw". UEFA.com.
- ↑ "UEFA competitions to resume in August". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 June 2020. สืบค้นเมื่อ 17 June 2020.
- ↑ "Champions League round of 16 venues confirmed". UEFA.com. Union of European Football Associations. 9 July 2020. สืบค้นเมื่อ 10 July 2020.
- ↑ 24.0 24.1 "UEFA Champions League quarter-final, semi-final and final draws". UEFA.com.
- ↑ "UEFA Champions League – Statistics". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 August 2020. สืบค้นเมื่อ 23 August 2020.
- ↑ "Champions League squad changes: Fantasy managers, take note". UEFA.com. 5 February 2020.