ดินามอซาเกร็บ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ดินามอซาเกร็บ
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลพลเมืองดินามอซาเกร็บ
ฉายาModri, Plavi (เดอะบลู)
ก่อตั้ง9 มิถุนายน พ.ศ. 2488
สนามสตาดีออนมักซีมีร์
Ground ความจุ35,123[1]
ประธานซดรัฟโก มามิช
ผู้จัดการซอรัน มามิช
ลีกโครเอเชียนเฟิสต์ฟุตบอลลีก
2022-23โครเอเชียนเฟิสต์ฟุตบอลลีก, อันดับที่ 1
เว็บไซต์เว็บไซต์สโมสร
สีชุดทีมเยือน
สีชุดที่สาม

สโมสรฟุตบอลพลเมืองดินามอซาเกร็บ (โครเอเชีย: Građanski nogometni klub Dinamo Zagreb)[2][3][4] หรือที่รู้จักกันในชื่อ เกเอ็นกา ดินามอซาเกร็บ (GNK Dinamo Zagreb) หรือ ดินามอซาเกร็บ เป็นสโมสรฟุตบอลในประเทศโครเอเชียที่ตั้งอยู่ในซาเกร็บ มีสนามเหย้าคือสตาดีออนมักซีมีร์ พวกเขาเป็นสโมสรฟุตบอลที่ประสบความสำเร็จที่สุดในโครเอเชีย ซึ่งเป็นแชมป์ลีกสูงสุดของโครเอเชีย ถ้วยโครเอเชีย 12 ถ้วย และโครเอเชียซูเปอร์คัพอีก 4 ถ้วย สโมสรนี้อยู่บนลีกสูงสุดตลอดนับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสรขึ้น และเป็นสมาชิกของยูโกสลาฟเฟิสต์ลีก ตั้งแต่ พ.ศ. 2489 ถึง พ.ศ. 2534 และเป็นสมาชิกของโครเอเชียเฟิร์สลีกตั้งแต่ พ.ศ. 2535

เกียรติประวัติ[แก้]

ระบบฟุตบอลลีกโครเอเชีย (พ.ศ. 2534 – ปัจจุบัน)
ระบบฟุตบอลลีกยูโกสลาฟ (พ.ศ. 2489 – พ.ศ. 2534)

ผู้เล่น[แก้]

ณ วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2566 [5]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
1 GK โครเอเชีย อันทอนียอ เยชีนา
33 GK โครเอเชีย มาร์โก มีคูลิช
34 GK โปรตุเกส เอดัวร์ดู
3 DF โครเอเชีย มารีออ มูซา
5 DF โครเอเชีย ยอซอ ชีมูนอวิช
6 DF โปรตุเกส อีวู ปิงตู
19 DF โครเอเชีย ยอซิป พีวาริช
22 DF อาร์เจนตินา เลโอนาร์โด ซีกาลี
23 DF โครเอเชีย กอร์ดอน ชิลเดนเฟลด์
26 DF โครเอเชีย ฟีลิป เบนคอวิช
77 DF โรมาเนีย อาเลกซานดรู มัตเซล
87 DF ฝรั่งเศส เฌเรมี ตาราแวล
8 MF โครเอเชีย ดอมากอย อันทอลิช (กัปตันทีม)
10 MF โปรตุเกส เปาลู มาชาดู
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
13 MF โปรตุเกส กงซาลู
14 MF บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อาเมร์ โกยัก
16 MF มาซิโดเนียเหนือ อารียัน อาดีมี
17 FW แอลเบเนีย เอนดรี เชกีชี
18 MF โครเอเชีย ดอมากอย พาวีชิช
21 MF สเปน ดานี โอลโม
24 MF โครเอเชีย อันเท ชอริช
30 MF ญี่ปุ่น ทาคุโร คาเนโกะ (ยืมตัวจาก ฮกไกโด คอนซาโดเล ซัปโปโระ)
2 FW แอลจีเรีย เอล อัรบี ฮิลเลล ซูดานี
9 FW ชิลี อังเคโล เอนรีเกซ
11 FW ชิลี คูนีออร์ เฟร์นันเดซ
15 FW บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา อาร์มิน ฮอจิช
20 FW โครเอเชีย มาร์โก เพียตซา

ผู้เล่นที่ยืมตัว[แก้]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
DF โครเอเชีย บอร์นา บารีซิช (ไปยังลอกอมอตีวา)
MF บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา กอราน ซาการิช (ไปยัง บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินีสกี)
MF บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซาอิด ฮูเซยีนอวิช (ไปยัง ลอกอมอตีวา)
MF โครเอเชีย ฟรานกอ อันดรียาเซวิช (ไปยัง ลอกอมอตีวา)
MF โครเอเชีย จวอนกอ ปามิช (ไปยัง ลอกอมอตีวา)
MF โครเอเชีย มาร์เซลอ บรอซอวิช (ไปยัง อิตาลี อินเตอร์มิลาน)
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
FW โครเอเชีย มารีออ ชีทัม (ไปยัง อิตาลี สปีเซีย)
FW โครเอเชีย ครูนอ อีวานซิช (ไปยัง สโลวีเนีย ออลิมปียา)
FW โครเอเชีย เดยาน ราโดนิช (ไปยัง อิสราเอล มัคคาบีเทลอาวีฟ)
FW โครเอเชีย ดูเย กอป (ไปยัง สเปน มาลากา)
FW โครเอเชีย ฟีลีป มีฮัลเยวิช (ไปยัง สลาเวน เบลูโป)

อ้างอิง[แก้]

  1. "Stadion Maksimir" (ภาษาโครเอเชีย). GNK Dinamo Zagreb. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-06-27. สืบค้นเมื่อ 2014-03-17.
  2. "Članovi sportskog savez grada Zagreba" [Members of the Sports Association of Zagreb] (ภาษาโครเอเชีย). Sportski savez Grada Zagreba. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 December 2014. สืบค้นเมื่อ 2014-11-12.
  3. "NK Dinamo ponovo promijenio ime" [NK Dinamo changed its name again] (ภาษาโครเอเชีย). ZGportal Zagreb. 2011-04-13. สืบค้นเมื่อ 2014-11-12.
  4. "Dinamo od danas ima novo ime – Građanski nogometni klub Dinamo" [Dinamo from today has a new name – Citizens' Football Club Dinamo] (ภาษาโครเอเชีย). Metro Portal. 2011-04-12. สืบค้นเมื่อ 2014-11-12.
  5. "1. momčad - igrači" (ภาษาโครเอเชีย). GNK Dinamo Zagreb. สืบค้นเมื่อ 15 August 2014.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]