ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่ายูโรปาลีก 2019–20
ไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อน ใน โคโลญ เป็นเจ้าภาพนัดชิงชนะเลิศ
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่27 มิถุนายน – 29 สิงหาคม ค.ศ. 2019 (รอบคัดเลือก)
19 กันยายน ค.ศ. 2019 – 21 สิงหาคม ค.ศ. 2020 (รอบสุดท้าย)
ทีม48+8 (รอบสุดท้าย)
158+55 (จาก 55 สมาคม) (จาก 55 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศสเปน เซบิยา (สมัยที่ 6)
รองชนะเลิศอิตาลี อินแตร์มิลาน
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน197
จำนวนประตู548 (2.78 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม4,069,102 (20,655 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโปรตุเกส บรูนู ฟือร์นังดึช
(8 ประตู)

ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 เป็นฤดูกาลที่ 49 ของการแข่งขันระหว่างสโมสรฟุตบอลในระดับรองของยุโรป ซึ่งจัดขึ้นโดย สหภาพสมาคมฟุตบอลยุโรป (ยูฟ่า) และเป็นฤดูกาลที่ 11 นับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อจาก ยูฟ่าคัพ มาเป็น ยูฟ่ายูโรปาลีก.

โดย ยูฟ่ายูโรปาลีก นัดชิงชนะเลิศ 2020 จะแข่งขันกันที่ ไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อน ใน โคโลญ, ประเทศเยอรมนี. ทีมชนะเลิศของยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 จะได้รับสิทธิ์ในการเล่นพบกับทีมชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 ใน ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2020. พวกเขาจะได้สิทธิ์เข้าไปแข่งขันอัตโนมัติสำหรับ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2020–21 รอบแบ่งกลุ่ม, และถ้าพวกเขาจะได้ผ่านเข้าไปเล่นมาแล่วก่อนรอบสุดท้ายผ่านผลงานในลีกของพวกเขา, สิทธิ์ที่สงวนไว้จะถูกมอบให้กับทีมอันดับที่สามของ ลีกเอิง ฤดูกาล 2019–20 (แรน), สมาคมที่อยู่ในอันดับที่ 5 ตามการอ้างอิงถึงรายชื่อทีมที่ลงทะเบียนเข้าร่วมของฤดูกาลต่อไป.

ผู้ช่วยผู้ตัดสินวิดีโอ (วีเออาร์) ระบบได้ถูกนำมาใช่ในการแข่งขันตั้งแต่รอบแพ้คัดออกเป็นต้นไป.[1]

ในฐานะแชมป์เก่าของยูโรปาลีก, เชลซี ได้เข้าไปเล่นใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20, แม้ว่าพวกเขาจะได้ผ่านเข้าไปเล่นมาแล่วก่อนรอบสุดท้ายผ่านผลงานในลีกของพวกเขา. พวกเขาไม่สามารถไปป้องกันตำแหน่งแชมป์ของพวกเขาได้ในฐานะที่พวกเขาได้ทะลุเข้าสู่ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก รอบแพ้คัดออก.

ผลกระทบจากการระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา[แก้]

เนื่องมาจากอัตราที่ผันผวนไปของการแพร่เชื้อของ โควิด-19 ข้ามหลายประเทศในทวีปยุโรปในช่วงเวลาของ รอบ 16 ทีมสุดท้าย แต่ละคู่ในเลกแรก, แต่ละนัดที่แตกต่างกันจะได้รับผลกระทบในเส้นทางที่แตกต่างกันออกไป. เนื่องมาจากความรุนแรงของโรคนี้ การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศอิตาลี พ.ศ. 2563 ในเวลานี้, เกมที่เกี่ยวข้องกับ อินแตร์มิลาน และ โรมา ได้ถูกเลื่อนออกไป,[2] ในขณะที่แต่ละเกมที่เป็นเจ้าภาพในประเทศกรีซ, เยอรมนี, และออสเตรีย ได้ไปข้างหน้าต่อแต่ลงเล่นหลังปิดประตูสนามแข่งขัน.[3] แต่ละเกมที่เป็นเจ้าภาพในประเทศตุรกีและสกอตแลนด์ ได้เดินหน้าต่อตามปกติ. เมื่อวันที่ 15 มีนาคม, ยูฟ่าได้ประกาศออกมาว่าจะไม่มีการประกบคู่เตะในรอบ 16 ทีมสุดท้ายเลกที่สองจะไปข้างหน้าต่อในสัปดาห์ต่อไป, เลื่อนการแข่งขันของพวกเขาออกไปเรื่อยๆ,[4] กับคณะทำงานที่ได้มีกำหนดให้จัดตารางการแข่งขันใหม่ในช่วงเวลาที่เหลือของฤดูกาล.[5] เมื่อวันที่ 23 มีนาคม มีการเปิดเผยว่า ชตาดิโอน อีเนร์กา กดัญสก์ ใน กดัญสก์, ประเทศโปแลนด์ จะไมได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันอีกต่อไปใน การแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ, ซึ่งตามกำหนดเดิมจะเป็นวันที่ 27 พฤษภาคม, แต่จะจัดในการเป็นเจ้าภาพ นัดชิงชนะเลิศปี 2021 เข้ามาแทนที่.[6]

เมื่อวันที่ 17 มิถุนายน มีการเปิดเผยว่ายูโรปาลีกจะรีเทิร์นกลับมาแข่งขันกันต่อในวันที่ 5 สิงหาคมและมีบทสรุปสุดท้ายในวันที่ 21 สิงหาคม,[7] กับช่วงพักแข่งขันของทัวร์นาเมนต์ที่จะจัดขึ้นในประเทศเยอรมนี.[8] ส่วนที่เหลือของการแข่งขันจะลงเล่นในสไตล์มินิ-ทัวร์นาเมนต์กับโปรแกรมการแข่งขันที่เหลืออยู่ที่จะลงเล่นในรูปแบบเลกเดียวของแต่ละคู่ยกเว้นสำหรับโปรแกรมการแข่งขันรอบ 16 ทีมสุดท้าย ในขณะที่เลกแรกมีการลงเล่นไปบ้างแล้ว.[9] คู่ที่เหลือทั้งหมดของการแข่งขันจะลงเล่นปิดประตูสนามแข่งขันเนื่องจาก การปรากฏตัวที่เหลืออยู่ของ การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในทวีปยุโรป พ.ศ. 2563.[10]

สนามแข่งขันรอบสุดท้าย[แก้]

โคโลญ ดืสบวร์ค
ไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อน
(สนามแข่งขันของ รอบชิงชนะเลิศ)
เอ็มเอ็สเฟา-อาเรนา
ความจุ: 49,698 ความจุ: 31,514
FIFA WM06 Stadion Koeln.jpg MSV-Arena Stehtribüne.JPG
ดึสเซิลดอร์ฟ เก็ลเซินเคียร์เชิน
แมร์คัวร์ชปีล-อาเรนา อาเรนาเอาฟ์ชัลเคอ
ความจุ: 54,600 ความจุ: 62,271
ESPRIT arena in Duesseldorf-Stockum, von Sueden.jpg 080110 schalke arena germany.JPG

ทีมที่มีคุณสมบัติเข้าการแข่งขัน[แก้]

ทีมสโมสรทั้งหมด 215 ทีมจากทั้งหมด 55 สมาชิกสมาคมของแต่ละประเทศ ที่จะเข้าร่วมการแข่งขันในยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 โดยการจัดอันดับของแต่ละสมาคมขึ้นอยู่กับค่าสัมประสิทธิ์ยูฟ่าซึ่งจะถูกใช้ในการกำหนดจำนวนทีมที่จะเข้าร่วมในแต่ละสมาคม โดยมีคุณสมบัติดังนี้

  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 1–51 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์) แต่ละสมาคมจะมีสามทีมที่มีคุณสมบัติเข้าการแข่งขัน
  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 52–54 แต่ละสมาคมจะมีสองทีมที่มีคุณสมบัติเข้าการแข่งขัน
  • ลิกเตนสไตน์และคอซอวอ (สมาคมที่ 55) จะมีทีมเดียวที่มีคุณสมบัติเข้าการแข่งขัน (ลิกเตนสไตน์จัดการแข่งขันเฉพาะถ้วยในประเทศเท่านั้นและไม่มีลีกในประเทศเข้าร่วมแข่งขัน ส่วนกรณียิบรอลตาร์เป็นไปตามการตัดสินใจของคณะกรรมการบริหารยูฟ่า)[11]
  • นอกเหนือจากนั้น, 57 ทีมที่ตกรอบมาจากยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2019–20 คือย้ายมาสู่ยูโรปาลีก

อันดับสมาคมฟุตบอลของแต่ละประเทศ[แก้]

สำหรับยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 แต่ละสมาคมจะได้รับการจัดอันดับตาม ค่าสัมประสิทธิ์แต่ละประเทศของยูฟ่าในปี 2018 ซึ่งคำนวณจากการทำผลงานแข่งขันระดับสโมสรยุโรปตั้งแต่ฤดูกาล 2013–14 ถึงฤดูกาล 2017–18.[12]

นอกเหนือจากการจัดสรรซึ่งจะยึดเป็นหลักในการคิดค่าสัมประสิทธิ์ประเทศ, สมาคมอาจจะมีทีมที่เข้าร่วมในยูโรปาลีก, ตามที่ระบุไว้ด้านล่าง:

  • (CL) – ทีมเพิ่มเติมที่โยกย้ายมาจาก ยูฟ่า แชมเปียนส์ ลีก
  • (EL) – สิทธิ์ที่ถูกยกเลิกเนื่องจากแชมป์เก่ายูโรปาลีกได้ลงเล่นในแชมเปียนส์ลีก
การจัดอันดับสมาคมฟุตบอลสำหรับยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20
อันดับ ประเทศ ค่าสัมประสิทธิ์ ทีม หมายเหตุ
1 สเปน สเปน 106.998 3
2 อังกฤษ อังกฤษ 79.605
3 อิตาลี อิตาลี 76.249
4 เยอรมนี เยอรมนี 71.427
5 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 56.415
6 รัสเซีย รัสเซีย 53.382
7 โปรตุเกส โปรตุเกส 47.248
8 ยูเครน ยูเครน 41.133
9 เบลเยียม เบลเยียม 38.500
10 ตุรกี ตุรกี 35.800
11 ออสเตรีย ออสเตรีย 32.850
12 สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 30.200
13 เช็กเกีย สาธารณรัฐเช็ก 30.175
14 เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 29.749
15 กรีซ กรีซ 28.600
16 โครเอเชีย โครเอเชีย 26.000
17 เดนมาร์ก เดนมาร์ก 25.950
18 อิสราเอล อิสราเอล 21.750
19 ไซปรัส ไซปรัส 21.550
อันดับ ประเทศ ค่าสัมประสิทธิ์ ทีม หมายเหตุ
20 โรมาเนีย โรมาเนีย 20.450 3
21 โปแลนด์ โปแลนด์ 20.125
22 สวีเดน สวีเดน 19.975
23 อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 19.125
24 บัลแกเรีย บัลแกเรีย 19.125
25 เซอร์เบีย เซอร์เบีย 18.750
26 สกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 18.625
27 เบลารุส เบลารุส 18.625
28 คาซัคสถาน คาซัคสถาน 18.125
29 นอร์เวย์ นอร์เวย์ 17.425
30 สโลวีเนีย สโลวีเนีย 14.500
31 ลีชเทินชไตน์ ลิกเตนสไตน์ 13.000 1
32 สโลวาเกีย สโลวาเกีย 12.125 3
33 มอลโดวา มอลโดวา 10.000
34 แอลเบเนีย แอลเบเนีย 8.500
35 ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 8.250
36 ฮังการี ฮังการี 8.125
37 มาซิโดเนียเหนือ มาซิโดเนีย 7.500
อันดับ ประเทศ ค่าสัมประสิทธิ์ ทีม หมายเหตุ
38 ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 6.900 3
39 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 6.700
40 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 6.625
41 ลัตเวีย ลัตเวีย 5.625
42 เอสโตเนีย เอสโตเนีย 5.500
43 ลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 5.375
44 มอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 5.000
45 ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย 5.000
46 อาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 4.875
47 มอลตา มอลตา 4.500
48 ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 4.375
49 ไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือ 4.250
50 เวลส์ เวลส์ 3.875
51 หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร 3.750
52 ยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ 3.000 2
53 อันดอร์รา อันดอร์รา 1.331
54 ซานมารีโน ซานมารีโน 0.499
55 คอซอวอ คอซอวอ 0.000 1

ทีม[แก้]

ข้อความในวงเล็บคือวิธีการที่แต่ละทีมเข้ามาแข่งในรอบนั้นๆ

  • อันดับที่ : อันดับในลีก
  • CW: ผู้ชนะฟุตบอลถ้วย
  • LC: ผู้ชนะลีกคัพ
  • RW: ผู้ชนะฤดูกาลปกติ
  • PW: ผู้ชนะการแข่งขันเพลย์ออฟยุโรปหลังจบฤดูกาล
  • UCL: ย้ายมาจากแชมเปียนส์ลีก
    • GS: ทีมอันดับสามจากรอบแบ่งกลุ่ม
    • PO: ผู้แพ้จากรอบเพลย์ออฟ
    • Q3: ผู้แพ้จากรอบคัดเลือกรอบสาม
    • Q2: ผู้แพ้จากรอบคัดเลือกรอบสอง
    • Q1: ผู้แพ้จากรอบคัดเลือกรอบแรก
    • PR: ผู้แพ้จากรอบเบื้องต้น
ทีมที่เข้ารอบสำหรับยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20 (โดยรอบที่เข้า)
รอบ 32 ทีมสุดท้าย
เบลเยียม กลึบบรึคเคอ (UCL GS) ยูเครน ชัคตาร์ดอแนตสก์ (UCL GS) ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค (UCL GS) โปรตุเกส ไบฟีกา (UCL GS)
กรีซ โอลิมเบียโกส (UCL GS) เยอรมนี ไบเออร์ เลเวอร์คูเซิน (UCL GS) อิตาลี อินเตอร์มิลาน (UCL GS) เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ (UCL GS)
รอบแบ่งกลุ่ม
สเปน เฆตาเฟ (อันดับที่ 5) เยอรมนี เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค (อันดับที่ 6) ตุรกี เบชิกทัช (อันดับที่ 3) รัสเซีย ครัสโนดาร์ (UCL PO)
สเปน เซบิยา (อันดับที่ 6) ฝรั่งเศส แรน (CW) ออสเตรีย ว็อล์ฟส์แบร์เกอร์ เอซี (อันดับที่ 3) ออสเตรีย ลัสค์ (UCL PO)
อังกฤษ อาร์เซนอล (อันดับที่ 5) ฝรั่งเศส แซ็งเตเตียน (อันดับที่ 4) สวิตเซอร์แลนด์ ลูกาโน (อันดับที่ 3) โปรตุเกส โปร์ตู (UCL Q3)
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (อันดับที่ 6) รัสเซีย ซีเอสเคเอ มอสโก (อันดับที่ 4) สวิตเซอร์แลนด์ ยัง บอยส์ (UCL PO) ยูเครน ดีนาโมเคียฟ (UCL Q3)
อิตาลี ลาซีโอ (CW) โปรตุเกส สปอร์ติง (CW) ไซปรัส อาโปเอล (UCL PO) ตุรกี อิสตันบูล บาชัคเชฮีร์ (UCL Q3)
อิตาลี โรมา (อันดับที่ 6)[Note ITA] ยูเครน โอเล็กซันดริยา (อันดับที่ 3) โรมาเนีย ซีเอฟอาร์ คลูช (UCL PO) สวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล (UCL Q3)
เยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค (อันดับที่ 5) เบลเยียม สต็องดาร์ลีแยฌ (อันดับที่ 3)[Note BEL] นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก (UCL PO)
รอบเพลย์ออฟ
เส้นทางแชมเปียนส์ เส้นทางหลัก
กรีซ พีเอโอเค (UCL Q3) สกอตแลนด์ เซลติก (UCL Q3)
เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน (UCL Q3) สโลวีเนีย มารีบอร์ (UCL Q3)
อาเซอร์ไบจาน คาราบัก (UCL Q3) ฮังการี เฟเรนส์วาโรช (UCL Q3)
รอบคัดเลือกรอบสาม
เส้นทางแชมเปียนส์ เส้นทางหลัก
อิสราเอล มัคคาบี เทล อาวีฟ (UCL Q2) เอสโตเนีย นูมเมคาลยู (UCL Q2) รัสเซีย สปาร์ตัค มอสโก (อันดับที่ 5) เนเธอร์แลนด์ ไฟเยอโนร์ด (อันดับที่ 3)
สวีเดน อาอีคอ (UCL Q2) มอนเตเนโกร ซุตเยสกา นิคชิช (UCL Q2) โปรตุเกส บรากา (อันดับที่ 4) กรีซ อาเอก เอเธนส์ (อันดับที่ 3)
เบลารุส บาเต บอรีซอฟ (UCL Q2) ประเทศจอร์เจีย ซาบูร์ตาโล ทบิลีซี (UCL Q2) ยูเครน มาริอูปอล (อันดับที่ 4) โครเอเชีย ริเยกา (CW)
ฟินแลนด์ เอชเจเค (UCL Q2) มอลตา วัลเล็ตตา (UCL Q2) เบลเยียม อันท์เวิร์ป (PW)[Note BEL] เดนมาร์ก มิดทิลลันด์ (CW)
สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ดันดอล์ก (UCL Q2) เวลส์ เดอะนิวเซนส์ (UCL Q2) ตุรกี แทรบซอนสปอร์ (อันดับที่ 4) อิสราเอล บีไน เยฮูดา (CW)
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซาราเยโว (UCL Q1)[Note UCL Q1] ออสเตรีย ออสเตรีย เวียน (อันดับที่ 4) เช็กเกีย วิกตอเรีย เปิลเซน (UCL Q2)
สวิตเซอร์แลนด์ ธูน (อันดับที่ 4) เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน (UCL Q2)
เช็กเกีย สปาร์ตาปราก (อันดับที่ 3)
รอบคัดเลือกรอบสอง
เส้นทางแชมเปียนส์ เส้นทางหลัก
โปแลนด์ ปัสต์กลีวิตเซ (UCL Q1) ลิทัวเนีย ซูดูวา (UCL Q1) สเปน อัสปัญญ็อล (อันดับที่ 7) เนเธอร์แลนด์ อาแซด (อันดับที่ 4)
บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์ รัซกราด (UCL Q1) อาร์มีเนีย อารารัต-อาร์เมเนีย (UCL Q1) อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตัน วอนเดอเรอส์ (อันดับที่ 7) เนเธอร์แลนด์ เอฟเซ อูเตร็คต์ (PW)
คาซัคสถาน อัสตานา (UCL Q1) ลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดแลงก์ (UCL Q1) อิตาลี โตรีโน (อันดับที่ 7)[Note ITA] กรีซ อาโตรมิตอส (อันดับที่ 4)
สโลวาเกีย สโลวาน บราติสลาวา (UCL Q1) ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟีลด์ (UCL Q1) เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท (อันดับที่ 7) กรีซ อาริส (อันดับที่ 5)
มอลโดวา เชริฟฟ์ ตีรัสปอล (UCL Q1) หมู่เกาะแฟโร เอชเบทอร์สเฮาน์ (UCL Q1) ฝรั่งเศส สทราชบูร์ (LC) โครเอเชีย โอซิเยค (อันดับที่ 3)
แอลเบเนีย ปาร์ติซานี (UCL Q1) คอซอวอ เฟโรนิเคลี (UCL Q1) รัสเซีย อาร์เซนัล ตูลา (อันดับที่ 6) เดนมาร์ก เอสเบิร์ก (อันดับที่ 3)
ไอซ์แลนด์ วาลูร์ (UCL Q1) อันดอร์รา ซานตาโคโลมา (UCL PR) โปรตุเกส วิตอเรีย เด กิมาไรส์ (อันดับที่ 5) ไซปรัส เออีแอล ลิมาสซอล (CW)
มาซิโดเนียเหนือ ชคืนดิยา (UCL Q1) ยิบรอลตาร์ ลินคอล์น เรด อิมป์ส (UCL PR) ยูเครน ซอร์ยา ลูแฮนสค์ (อันดับที่ 5) โรมาเนีย วีตอรุล คอนสแตนตา (CW)
ลัตเวีย ริกา (UCL Q1) ซานมารีโน เทร เพนเน (UCL PR) เบลเยียม เคเอเอ เกนต์ (อันดับที่ 5)[Note BEL] โปแลนด์ แลเชีย กดัญสก์ (CW)
ตุรกี เยนิ มาลัตยาสปอร์ (อันดับที่ 5) สวีเดน บีเค ฮัคเคน (CW)
ออสเตรีย สตวร์ม กราซ (PW) อาเซอร์ไบจาน กาบาลา (CW)
สวิตเซอร์แลนด์ ลูเซิร์น (อันดับที่ 5) บัลแกเรีย โลโคโมทิฟ พลอฟดิฟ (CW)
เช็กเกีย ยาโบลเนช (อันดับที่ 4) เซอร์เบีย ปาร์ตีซาน (CW)
เช็กเกีย มลาดา บอเลสลาฟ (PW)
รอบคัดเลือกรอบแรก
โครเอเชีย ไฮจ์ดุ๊ก สปลิต (อันดับที่ 4) เบลารุส ดินาโม มินสค์ (อันดับที่ 3) ไอซ์แลนด์ ไบรดาบลิก (อันดับที่ 2) เอสโตเนีย ฟลอรา (อันดับที่ 3)
เดนมาร์ก บรอนด์บี (PW) เบลารุส วิเตบสค์ (อันดับที่ 4) ไอซ์แลนด์ เคอาร์ (อันดับที่ 4) ลิทัวเนีย ซัลกิริส (CW)
อิสราเอล มัคคาบี ไฮฟา (อันดับที่ 2) คาซัคสถาน ไครัต (CW) ฮังการี เฟเฮอร์วาร์ (CW) ลิทัวเนีย ริเตริไอ (อันดับที่ 3)
อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ เชวา (อันดับที่ 3) คาซัคสถาน ทอบอล (อันดับที่ 3) ฮังการี เดเบรเซน (อันดับที่ 3) ลิทัวเนีย คาอูโน ซัลกิริส (5th)[Note LTU]
ไซปรัส เออีเค ลาร์นากา (2nd) คาซัคสถาน ออร์ดาบาซี (อันดับที่ 4) ฮังการี ฮอนเวด (อันดับที่ 4) มอนเตเนโกร บูดุคนอสต์ พอดกอริซา (CW)
ไซปรัส อาพอลลอน ลิมาสซอล (อันดับที่ 3) นอร์เวย์ โมลด์ (อันดับที่ 2) มาซิโดเนียเหนือ อาคาเดมีจา ปันเดฟ (CW) มอนเตเนโกร เซตา (อันดับที่ 3)
โรมาเนีย เอฟซีเอสบี (อันดับที่ 2) นอร์เวย์ บรานน์ (อันดับที่ 3) มาซิโดเนียเหนือ ชคูปิ (อันดับที่ 4) มอนเตเนโกร ติโตกราด (อันดับที่ 4)
โรมาเนีย ยูนิเวร์ซิตาเตีย ไครโอวา (อันดับที่ 4) นอร์เวย์ เฮาเกซุนด์ (อันดับที่ 4) มาซิโดเนียเหนือ มาเคดอนิจา จีพี (อันดับที่ 5)[Note MKD] ประเทศจอร์เจีย ตอร์เปโด คูไตซี (CW)
โปแลนด์ แลเกีย วอร์ซอ (อันดับที่ 2) สโลวีเนีย โอลิมปิยา ลูบลิยานา (CW) ฟินแลนด์ อินเตอร์ ตูร์คู (CW) ประเทศจอร์เจีย ดินาโม ทบิลีซี (อันดับที่ 2)
โปแลนด์ คราคอเวีย (อันดับที่ 4) สโลวีเนีย ดอมซาเล (อันดับที่ 3) ฟินแลนด์ โรพีเอส (อันดับที่ 2) ประเทศจอร์เจีย ชิคูรา ซัชเคเร (อันดับที่ 4)
สวีเดน ไอเอฟเค นอร์โคปิง (อันดับที่ 2) สโลวีเนีย มูรา (อันดับที่ 4) ฟินแลนด์ คูพีเอส (อันดับที่ 3) อาร์มีเนีย อาลาชเคิร์ต (CW)
สวีเดน มัลเมอ เอฟเอฟ (3rd) ลีชเทินชไตน์ วาดุซ (CW) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ คอร์ก ซิตี (2nd) อาร์มีเนีย ปยูนิก (อันดับที่ 2)
อาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชี บากู (2nd) สโลวาเกีย สปาร์ตัค เตอร์นาวา (CW) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ แชมร็อก โรเวอส์ (อันดับที่ 3) อาร์มีเนีย บานานต์ส (อันดับที่ 3)
อาเซอร์ไบจาน ซาบาอิล (อันดับที่ 3) สโลวาเกีย ดีเอซี ดูนัจสกา สเตรดา (อันดับที่ 2) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ เซนต์ แพทริกส์ แอทเลติก (อันดับที่ 5)[Note IRL] มอลตา บัลซาน (CW)
บัลแกเรีย ซีเอสเคเอ โซเฟีย (อันดับที่ 2) สโลวาเกีย รูซอมเบรอค (อันดับที่ 3) บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ (อันดับที่ 2) มอลตา ฮิเบอร์เนียนส์ (อันดับที่ 2)
บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย (PW) มอลโดวา มิลซามี ออร์ไฮ (อันดับที่ 2) บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซิโรกิ บริเย็ก (อันดับที่ 3) มอลตา กซิรา ยูไนเต็ด (อันดับที่ 3)
เซอร์เบีย รัดนิคกี นิช (อันดับที่ 2) มอลโดวา เปโตรคุบ ฮินเชสติ (อันดับที่ 3) บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา รัดนิก บิเยลยินา (อันดับที่ 5)[Note BIH] ลักเซมเบิร์ก ฟอลา เอสช์ (อันดับที่ 2)
เซอร์เบีย คูคาริคกิ (อันดับที่ 4) มอลโดวา สเปรันตา นิสปอเรนี (อันดับที่ 4) ลัตเวีย เวนท์สปิลส์ (อันดับที่ 2) ลักเซมเบิร์ก เจอูเนสเซ เอสช์ (อันดับที่ 3)
สกอตแลนด์ เรนเจอส์ (อันดับที่ 2) แอลเบเนีย คูเคอซี (CW) ลัตเวีย อาร์เอฟเอส (อันดับที่ 3) ไอร์แลนด์เหนือ ครูซาเดอร์ส (CW)
สกอตแลนด์ คิลมาร์น็อก (อันดับที่ 3) แอลเบเนีย เตอูตา (อันดับที่ 3) ลัตเวีย ไลปายา (อันดับที่ 4) เวลส์ คอนนาห์ส ควูไอย์ โนแมดส์ (อันดับที่ 2)
สกอตแลนด์ อาเบอร์ดีน (อันดับที่ 4) แอลเบเนีย ลาชี (อันดับที่ 6)[Note ALB] เอสโตเนีย นาร์วา ทรานส์ (CW) หมู่เกาะแฟโร บี36 ทอร์เชาฟน์ (CW)
เบลารุส ชัคห์ตียอร์ ซอลีกอร์สค์ (CW) ไอซ์แลนด์ เซนต์ยาร์นาน (CW) เอสโตเนีย เอฟซีไอ เลวาเดีย (อันดับที่ 2)
รอบเบื้องต้น
ลักเซมเบิร์ก พรอเกรส ไนเดอร์คอร์น (อันดับที่ 4) เวลส์ คาร์ดิฟฟ์ เมโทรโปลิแทน ยูนิเวอร์ซิตี (PW) ยิบรอลตาร์ เซนต์ โจเซฟส์ (อันดับที่ 3) ซานมารีโน ลา ฟิออริตา (อันดับที่ 2)
ไอร์แลนด์เหนือ บอลลีเมนา ยูไนเต็ด (อันดับที่ 2) หมู่เกาะแฟโร เอ็นเอสไอ รูนาวิค (อันดับที่ 2) อันดอร์รา เอนกอร์ดานี (CW) คอซอวอ พริชตินา (อันดับที่ 2)
ไอร์แลนด์เหนือ คลิฟตันวิลล์ (PW) หมู่เกาะแฟโร เคไอ คลาคส์วิค (อันดับที่ 4) อันดอร์รา ซันต์ จูลิอา (อันดับที่ 2)
เวลส์ แบร์รี ทาวน์ ยูไนเต็ด (อันดับที่ 3) ยิบรอลตาร์ ยูโรปา (CW) ซานมารีโน เทร ฟิออรี (CW)

One team not playing a national top division will take part in the competition; Vaduz (representing Liechtenstein) played in 2018–19 Swiss Challenge League, which is Switzerland's 2nd tier.

หมายเหตุ
  1. ^ Albania (ALB): Skënderbeu would have qualified for the Europa League first qualifying round as the fourth-placed team of the 2018–19 Albanian Superliga, but were banned from entering UEFA competitions.[13] As a result, the berth was given to the sixth-placed team of the league, Laçi, since the fifth-placed team of the league, Flamurtari, failed to obtain a UEFA licence.[14]
  2. ^ Belgium (BEL): KV Mechelen would have qualified for the Europa League group stage as the winners of the 2018–19 Belgian Cup, but were found guilty on match-fixing as part of the 2017–19 Belgian football fraud scandal, and thus prohibited by the Royal Belgian Football Association to take part in the 2019–20 European competitions. Mechelen appealed the decision,[15] but the final ruling was announced on 17 July 2019 by the Belgian Arbitration Court for Sports, and KV Mechelen remained banned,[16] and were subsequently replaced by UEFA.[17] As a result, the third-placed team of the 2018–19 Belgian First Division A, Standard Liège, entered the group stage instead of the third qualifying round, the Europa League play-off winners of the league, Antwerp, entered the third qualifying round instead of the second qualifying round, and the second qualifying round berth was given to the fifth-placed team of the league, Gent.[18]
  3. ^ Bosnia and Herzegovina (BIH): Željezničar would have qualified for the Europa League first qualifying round as the fourth placed team of the 2018–19 Premier League of Bosnia and Herzegovina, but failed to obtain a UEFA licence.[19] As a result, the berth was given to the fifth-placed team of the league, Radnik Bijeljina.
  4. ^ Italy (ITA): Milan qualified for the Europa League group stage as the fifth-placed of the 2018–19 Serie A, but were found guilty of breaching Financial Fair Play rules and were excluded from competing in European competitions in 2019–20.[20] As a result, the sixth-placed team of the 2018–19 Serie A, Roma, entered the group stage instead of the second qualifying round, and the second qualifying round berth was given to the seventh-placed team of the league, Torino.
  5. ^ Lithuania (LTU): Stumbras would have qualified for the Europa League first qualifying round as the fourth placed team of the 2018 A Lyga, but had their UEFA licence stripped.[21] As a result, the berth was given to the fifth-placed team of the league, Kauno Žalgiris.[22]
  6. ^ North Macedonia (MKD): Vardar would have qualified for the Europa League first qualifying round as the runners-up of the 2018–19 Macedonian First Football League, but failed to obtain a UEFA licence.[23] As a result, the berth was given to the fifth-placed team of the league, Makedonija GP.
  7. ^ Republic of Ireland (IRL): Waterford would have qualified for the Europa League first qualifying round as the fourth-placed team of the 2018 League of Ireland Premier Division, but were ruled by UEFA to have not passed the "three-year rule" as the club were reformed in 2016.[24] As a result, the berth was given to the fifth-placed team of the league, St Patrick's Athletic.
  8. ^ Champions League (UCL Q1): Sarajevo were drawn to receive a bye to the third qualifying round, as one fewer loser from the Champions League first qualifying round were transferred to the Europa League second qualifying round (Champions Path), due to a Champions League group stage berth vacated by the Champions League title holders.

กำหนดการในแต่ละวันและแต่ละรอบ[แก้]

ตารางของการแข่งขันเป็นไปตามนี้ (การจับสลากทั้งหมดจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ยูฟ่าในเมือง นียง, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์, เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น).[25]

ตารางการแข่งขันสำหรับ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2019–20
เฟส รอบ วันจับสลาก เลกแรก เลกที่สอง
การคัดเลือก รอบเบื้องต้น 11 มิถุนายน ค.ศ. 2019 27 มิถุนายน ค.ศ. 2019 4 กรกฎาคม ค.ศ. 2019
รอบคัดเลือกรอบแรก 18 มิถุนายน ค.ศ. 2019 (เส้นทางแชมเปียนส์)
19 มิถุนายน ค.ศ. 2019 (เส้นทางลีก)
11 กรกฎาคม ค.ศ. 2019 18 กรกฎาคม ค.ศ. 2019
รอบคัดเลือกรอบสอง 25 กรกฎาคม ค.ศ. 2019 1 สิงหาคม ค.ศ. 2019
รอบคัดเลือกรอบสาม 22 กรกฎาคม ค.ศ. 2019 8 สิงหาคม ค.ศ. 2019 15 สิงหาคม ค.ศ. 2019
การเพลย์ออฟ รอบเพลย์ออฟ 5 สิงหาคม ค.ศ. 2019 22 สิงหาคม ค.ศ. 2019 29 สิงหาคม ค.ศ. 2019
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 30 สิงหาคม ค.ศ. 2019
(โมนาโก)
19 กันยายน ค.ศ. 2019
นัดที่ 2 3 ตุลาคม ค.ศ. 2019
นัดที่ 3 24 ตุลาคม ค.ศ. 2019
นัดที่ 4 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019
นัดที่ 5 28 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019
นัดที่ 6 12 ธันวาคม ค.ศ. 2019
รอบแพ้คัดออก รอบ 32 ทีมสุดท้าย 16 ธันวาคม ค.ศ. 2019 20 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020
รอบ 16 ทีมสุดท้าย 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 12 มีนาคม ค.ศ. 2020 5–6 สิงหาคม ค.ศ. 2020[a]
รอบก่อนรองชนะเลิศ 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2020[b] 10–11 สิงหาคม ค.ศ. 2020[c]
รอบรองชนะเลิศ 16–17 สิงหาคม ค.ศ. 2020[d]
รอบชิงชนะเลิศ 21 สิงหาคม ค.ศ. 2020 ที่ RheinEnergieStadion, Cologne[e]
  1. Round of 16 second legs originally scheduled for 19 March 2020
  2. Quarter-final, semi-final and final draws originally scheduled for 20 March 2020
  3. Quarter-final first legs originally scheduled for 9 April, and second legs 16 April 2020
  4. Semi-final first legs originally scheduled for 30 April, and second legs 7 May 2020
  5. Final originally scheduled for 27 May 2020

แต่ละนัดในการคัดเลือก (รวมไปถึงเบื้องต้นและเพลย์ออฟ) และรอบแพ้คัดออกจะลงเล่นในทุกวันอังคารและทุกวันพุธแทนที่จะเป็นวันพฤหัสบดีตามปกติเนื่องมาจากปัญหาความคาดเคลื่อนเรื่องโปรแกรมการแข่งขัน.

รอบเบื้องต้น[แก้]

ในรอบเบื้องต้น, แต่ละทีมจะถูกแบ่งออกเป็นทีมวางและทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวางซึ่งขึ้นอยู่กับค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า ปี ค.ศ. 2019,[26] และจากนั้นถูกจับสลากอยู่ในระบบเหย้าและเยือนสองนัด. ทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่ถูกนำมาจับสลากมาพบกันได้.

การจับสลากสำหรับรอบเบื้องต้นได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 13:00 CEST.[27] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 27 มิถุนายน, และนัดที่สองในวันที่ 2 และ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
พรอเกรส ไนเดอร์คอร์น ลักเซมเบิร์ก 2–2 () เวลส์ คาร์ดิฟฟ์ เมโทรโปลิแทน ยูนิเวอร์ซิตี 1–0 1–2
ลา ฟิออริตา ซานมารีโน 1–3 อันดอร์รา เอนกอร์ดานี 0–1 1–2
ซันต์ จูลิอา อันดอร์รา 3–6 ยิบรอลตาร์ ยูโรปา 3–2 0–4
บอลลีเมนา ยูไนเต็ด ไอร์แลนด์เหนือ 2–0 หมู่เกาะแฟโร เอ็นเอสไอ รูนาวิค 2–0 0–0
พริชตินา คอซอวอ 1–3 ยิบรอลตาร์ เซนต์ โจเซฟส์ 1–1 0–2
เคไอ คลาคส์วิค หมู่เกาะแฟโร 9–1[A] ซานมารีโน เทร ฟิออรี 5–1 4–0
แบร์รี ทาวน์ ยูไนเต็ด เวลส์ 0–4 ไอร์แลนด์เหนือ คลิฟตันวิลล์ 0–0 0–4

หมายเหตุ

  1. Order of legs reversed after original draw.

รอบคัดเลือก[แก้]

ในรอบคัดเลือกและรอบเพลย์ออฟ, แต่ละทีมจะถูกแบ่งอยู่ในกลุ่มทีมวางและกลุ่มทีมที่ไม่ได้เป็นทีมวางซึ่งขึ้นอยู่กับปี ค.ศ. 2019 ค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า (สำหรับเส้นทางหลัก),[26] หรือขึ้นอยู่กับบางรอบที่พวกเขาได้สิทธิ์เข้าแข่รอบจาก (สำหรับเส้นทางแชมเปียนส์), และจากนั้นถูกจับสลากอยู่ในระบบสองนัดเหย้าและเยือน.

รอบคัดเลือกรอบแรก[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบแรกได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2562, 15:30 CEST.[28] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 9, 10 และ 11 กรกฎาคม, และนัดที่สองในวันที่ 16, 17 และ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
มัลเมอ เอฟเอฟ สวีเดน 11–0 ไอร์แลนด์เหนือ บอลลีเมนา ยูไนเต็ด 7–0 4–0
คอนนาห์ส ควูไอย์ โนแมดส์ เวลส์ 3–2 สกอตแลนด์ คิลมาร์น็อก 1–2 2–0
คูพีเอส ฟินแลนด์ 3–1[A] เบลารุส วิเตบสค์ 2–0 1–1
ไบรดาบลิก ไอซ์แลนด์ 1–2 ลีชเทินชไตน์ วาดุซ 0–0 1–2
บรานน์ นอร์เวย์ 3–4 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ แชมร็อก โรเวอส์ 2–2 1–2
ออร์ดาบาซี คาซัคสถาน 3–0 ประเทศจอร์เจีย ตอร์เปโด คูไตซี 1–0 2–0
ยูโรปา ยิบรอลตาร์ 0–3 โปแลนด์ แลเกีย วอร์ซอ 0–0 0–3
ซีเอสเคเอ โซเฟีย บัลแกเรีย 4–0 มอนเตเนโกร ติโตกราด 4–0 0–0
กซิรา ยูไนเต็ด มอลตา 3–3 () โครเอเชีย ไฮจ์ดุ๊ก สปลิต 0–2 3–1
ฟลอรา เอสโตเนีย 4–2[A] เซอร์เบีย รัดนิคกี นิช 2–0 2–2
มัคคาบี ไฮฟา อิสราเอล 5–2 สโลวีเนีย มูรา 2–0 3–2
เดเบรเซน ฮังการี 4–1 แอลเบเนีย คูเคอซี 3–0 1–1
คูคาริคกิ เซอร์เบีย 8–0 อาร์มีเนีย บานานต์ส 3–0 5–0
เจอูเนสเซ เอสช์ ลักเซมเบิร์ก 1–1 () คาซัคสถาน ทอบอล 0–0 1–1
เอฟซีเอสบี โรมาเนีย 4–1 มอลโดวา มิลซามี ออร์ไฮ 2–0 2–1
ครูซาเดอร์ส ไอร์แลนด์เหนือ 5–2 หมู่เกาะแฟโร บี36 ทอร์เชาฟน์ 2–0 3–2
บรอนด์บี เดนมาร์ก 4–3[A] ฟินแลนด์ อินเตอร์ ตูร์คู 4–1 0–2
โมลด์ นอร์เวย์ 7–1 ไอซ์แลนด์ เคอาร์ 7–1 0–0
เซนต์ โจเซฟส์ ยิบรอลตาร์ 0–10 สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 0–4 0–6
คอร์ก ซิตี สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 2–3 ลักเซมเบิร์ก พรอเกรส ไนเดอร์คอร์น 0–2 2–1
รูซอมเบรอค สโลวาเกีย 0–4[A] บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย 0–2 0–2
อาคาเดมีจา ปันเดฟ มาซิโดเนียเหนือ 0–6 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ 0–3 0–3
สเปรันตา นิสปอเรนี มอลโดวา 0–9[A] อาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชี บากู 0–3 0–6
เซตา มอนเตเนโกร 1–5 ฮังการี เฟเฮอร์วาร์ 1–5 0–0
ชัคห์ตียอร์ ซอลีกอร์สค์ เบลารุส 2–0 มอลตา ฮิเบอร์เนียนส์ 1–0 1–0
โอลิมปิยา ลูบลิยานา สโลวีเนีย 4–3 ลัตเวีย อาร์เอฟเอส 2–3 2–0
ฮอนเวด ฮังการี 4–2 ลิทัวเนีย ซัลกิริส 3–1 1–1
อาลาชเคิร์ต อาร์มีเนีย 6–1 มาซิโดเนียเหนือ มาเคดอนิจา จีพี 3–1 3–0
รัดนิก บิเยลยินา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 2–2
(ดวลลูกโทษ 2–3)
สโลวาเกีย สปาร์ตัค เตอร์นาวา 2–0 0–2
(ต่อเวลา)
ฟอลา เอสช์ ลักเซมเบิร์ก 2–4 ประเทศจอร์เจีย ชิคูรา ซัชเคเร 1–2 1–2
ดินาโม ทบิลีซี ประเทศจอร์เจีย 7–0 อันดอร์รา เอนกอร์ดานี 6–0 1–0
ซิโรกิ บริเย็ก บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 2–4 คาซัคสถาน ไครัต 1–2 1–2
ดีเอซี ดูนัจสกา สเตรดา สโลวาเกีย 3–3 ()[A] โปแลนด์ คราคอเวีย 1–1 2–2
(ต่อเวลา)
คาอูโน ซัลกิริส ลิทัวเนีย 0–6 ไซปรัส อาพอลลอน ลิมาสซอล 0–2 0–4
เวนท์สปิลส์ ลัตเวีย 3–1 แอลเบเนีย เตอูตา 3–0 0–1
เซนต์ยาร์นาน ไอซ์แลนด์ 4–4 () เอสโตเนีย เอฟซีไอ เลวาเดีย 2–1 2–3
(ต่อเวลา)
คลิฟตันวิลล์ ไอร์แลนด์เหนือ 1–6 นอร์เวย์ เฮาเกซุนด์ 0–1 1–5
ริเตริไอ ลิทัวเนีย 1–1 () หมู่เกาะแฟโร เคไอ คลาคส์วิค 1–1 0–0
ไลปายา ลัตเวีย 3–2[A] เบลารุส ดินาโม มินสค์ 1–1 2–1
เซนต์ แพทริกส์ แอทเลติก สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 1–4[A] สวีเดน ไอเอฟเค นอร์โคปิง 0–2 1–2
อาเบอร์ดีน สกอตแลนด์ 4–2 ฟินแลนด์ โรพีเอส 2–1 2–1
บัลซาน มอลตา 3–5[A] สโลวีเนีย ดอมซาเล 3–4 0–1
ลาชี แอลเบเนีย 1–2 อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ เชวา 1–1 0–1
นาร์วา ทรานส์ เอสโตเนีย 1–6[A] มอนเตเนโกร บูดุคนอสต์ พอดกอริซา 0–2 1–4
ซาบาอิล อาเซอร์ไบจาน 4–6 โรมาเนีย ยูนิเวร์ซิตาเตีย ไครโอวา 2–3 2–3
ปยูนิก อาร์มีเนีย 5–4 มาซิโดเนียเหนือ ชคูปิ 3–3 2–1
เออีเค ลาร์นากา ไซปรัส 2–0 มอลโดวา เปโตรคุบ ฮินเชสติ 1–0 1–0

หมายเหตุ

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 Order of legs reversed after original draw.

รอบคัดเลือกรอบสอง[แก้]

นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 23, 24 และ 25 กรกฎาคม, และนัดที่สองในวันที่ 30, 31 กรกฎาคม และ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เส้นทางแชมเปียนส์
ซาราเยโว บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บาย N/A N/A N/A
เทร เพนเน ซานมารีโน 0–10 ลิทัวเนีย ซูดูวา 0–5 0–5
ปัสต์กลีวิตเซ โปแลนด์ 4–4 () ลัตเวีย ริกา 3–2 1–2
ปาร์ติซานี แอลเบเนีย 1–2 มอลโดวา เชริฟฟ์ ตีรัสปอล 0–1 1–1
อารารัต-อาร์เมเนีย อาร์มีเนีย 4–1 ยิบรอลตาร์ ลินคอล์น เรด อิมป์ส 2–0 2–1
วาลูร์ ไอซ์แลนด์ 1–5 บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์ รัซกราด 1–1 0–4
สโลวาน บราติสลาวา สโลวาเกีย 4–1 คอซอวอ เฟโรนิเคลี 2–1 2–0
ซานตาโคโลมา อันดอร์รา 1–4 คาซัคสถาน อัสตานา 0–0 1–4
เอชเบทอร์สเฮาน์ หมู่เกาะแฟโร 2–3 ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟีลด์ 2–2 0–1
ชคืนดิยา มาซิโดเนียเหนือ 2–3 ลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดแลงก์ 1–2 1–1
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางหลัก
ไอเอฟเค นอร์โคปิง สวีเดน 3–0 ลัตเวีย ไลปายา 2–0 1–0
ฮาโปเอล เบียร์ เชวา อิสราเอล 3–1 คาซัคสถาน ไครัต 2–0 1–1
อาร์เซนัล ตูลา รัสเซีย 0–4 อาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชี บากู 0–1 0–3
อัสปัญญ็อล สเปน 7–1 ไอซ์แลนด์ เซนต์ยาร์นาน 4–0 3–1
ดีเอซี ดูนัจสกา สเตรดา สโลวาเกีย 3–5 กรีซ อาโตรมิตอส 1–2 2–3
เฮาเกซุนด์ นอร์เวย์ 3–2 ออสเตรีย สตวร์ม กราซ 2–0 1–2
เออีเค ลาร์นากา ไซปรัส 7–0 บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย 3–0 4–0
แลเกีย วอร์ซอ โปแลนด์ 1–0 ฟินแลนด์ คูพีเอส 1–0 0–0
เอฟเซ อูเตร็คต์ เนเธอร์แลนด์ 2–3 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ 1–1 1–2
(ต่อเวลา)
ปยูนิก อาร์มีเนีย 2–1 เช็กเกีย ยาโบลเนช 2–1 0–0
แลเชีย กดัญสก์ โปแลนด์ 3–5 เดนมาร์ก บรอนด์บี 2–1 1–4
(ต่อเวลา)
เฟเฮอร์วาร์ ฮังการี 1–2 ลีชเทินชไตน์ วาดุซ 1–0 0–2
(ต่อเวลา)
กาบาลา อาเซอร์ไบจาน 0–5 ประเทศจอร์เจีย ดินาโม ทบิลีซี 0–2 0–3
เยนิ มาลัตยาสปอร์ ตุรกี 3–2 สโลวีเนีย โอลิมปิยา ลูบลิยานา 2–2 1–0
ฟลอรา เอสโตเนีย 2–4 เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ฟรังค์ฟวร์ท 1–2 1–2
ดอมซาเล สโลวีเนีย 4–5 สวีเดน มัลเมอ เอฟเอฟ 2–2 2–3
โมลด์ นอร์เวย์ 3–1 เซอร์เบีย คูคาริคกิ 0–0 3–1
ชิคูรา ซัชเคเร ประเทศจอร์เจีย 1–6[A] สกอตแลนด์ อาเบอร์ดีน 1–1 0–5
เคเอเอ เกนต์ เบลเยียม 7–5 โรมาเนีย วีตอรุล คอนสแตนตา 6–3 1–2
บูดุคนอสต์ พอดกอริซา มอนเตเนโกร 1–4 ยูเครน ซอร์ยา ลูแฮนสค์ 1–3 0–1
ซีเอสเคเอ โซเฟีย บัลแกเรีย 1–1 (4–3 ) โครเอเชีย โอซิเยค 1–0 0–1
(ต่อเวลา)
โตรีโน อิตาลี 7–1 ฮังการี เดเบรเซน 3–0 4–1
ลูเซิร์น สวิตเซอร์แลนด์ 2–0 หมู่เกาะแฟโร เคไอ คลาคส์วิค 1–0 1–0
เรนเจอส์ สกอตแลนด์ 2–0 ลักเซมเบิร์ก พรอเกรส ไนเดอร์คอร์น 2–0 0–0
เวนท์สปิลส์ ลัตเวีย 6–2 มอลตา กซิรา ยูไนเต็ด 4–0 2–2
สทราชบูร์ ฝรั่งเศส 4–3 อิสราเอล มัคคาบี ไฮฟา 3–1 1–2
มลาดา บอเลสลาฟ เช็กเกีย 4–3 คาซัคสถาน ออร์ดาบาซี 1–1 3–2
แชมร็อก โรเวอส์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 3–4 ไซปรัส อาพอลลอน ลิมาสซอล 2–1 1–3
(ต่อเวลา)
อาแซด เนเธอร์แลนด์ 3–0 สวีเดน บีเค ฮัคเคน 0–0 3–0
อาลาชเคิร์ต อาร์มีเนีย 3–5 โรมาเนีย เอฟซีเอสบี 0–3 3–2
โลโคโมทิฟ พลอฟดิฟ บัลแกเรีย 3–3 () สโลวาเกีย สปาร์ตัก เตอร์นาวา 2–0 1–3
วุลเวอร์แฮมป์ตัน วอนเดอเรอส์ อังกฤษ 6–1 ไอร์แลนด์เหนือ ครูซาเดอร์ส 2–0 4–1
อาริส กรีซ 1–0 ไซปรัส เออีแอล ลิมาสซอล 0–0 1–0
เจอูเนสเซ เอสช์ ลักเซมเบิร์ก 0–5 โปรตุเกส วิตอเรีย เด กิมาไรส์ 0–1 0–4
ฮอนเวด ฮังการี 0–0 (1–3 ) โรมาเนีย ยูนิเวร์ซิตาเตีย ไครโอวา 0–0 0–0
(ต่อเวลา)
ชัคห์ตียอร์ ซอลีกอร์สค์ เบลารุส 2–0 เดนมาร์ก เอสเบิร์ก 2–0 0–0
คอนนาห์ส ควูไอย์ โนแมดส์ เวลส์ 0–4 เซอร์เบีย ปาร์ตีซาน 0–1 0–3

หมายเหตุ

  1. Order of legs reversed after original draw.

รอบคัดเลือกรอบสาม[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสามได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2562, 12:25 (เส้นทางแชมเปียนส์) และ 14:00 (เส้นทางหลัก) CEST.[29] นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 6, 7 และ 8 สิงหาคม, และนัดที่สองในวันที่ 13, 14 และ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2562.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางแชมเปียนส์
ซุตเยสกา นิคชิช มอนเตเนโกร 3–5 ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟีลด์ 1–2 2–3
มัคคาบี เทล อาวีฟ อิสราเอล 2–4 ลิทัวเนีย ซูดูวา 1–2 1–2
อารารัต-อาร์เมเนีย อาร์มีเนีย 3–2 ประเทศจอร์เจีย ซาบูร์ตาโล ทบิลีซี 1–2 2–0
ริกา ลัตเวีย 3–3 () ฟินแลนด์ เอชเจเค 1–1 2–2
ลูโดโกเรตส์ รัซกราด บัลแกเรีย 9–0 เวลส์ เดอะนิวเซนส์ 5–0 4–0
ซาราเยโว บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 1–2 เบลารุส บาแตบารือเซา 1–2 0–0
เอฟ91 ดูเดแลงก์ ลักเซมเบิร์ก 4–1 เอสโตเนีย นูมเมคาลยู 3–1 1–0
อัสตานา คาซัคสถาน 9–1 มอลตา วัลเล็ตตา 5–1 4–0
เชริฟฟ์ ตีรัสปอล มอลโดวา 2–3 สวีเดน อาอีคอ 1–2 1–1
สโลวาน บราติสลาวา สโลวาเกีย 4–1 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ดันดอล์ก 1–0 3–1
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางหลัก
ไอเอฟเค นอร์โคปิง สวีเดน 2–4 อิสราเอล ฮาโปเอล เบียร์ เชวา 1–1 1–3
โตรีโน อิตาลี 6–1 เบลารุส ชัคห์ตียอร์ ซอลีกอร์สค์ 5–0 1–1
อันท์เวิร์ป เบลเยียม 2–2 () เช็กเกีย วิกตอเรีย เปิลเซน 1–0 1–2
(ต่อเวลา)
ออสเตรีย เวียน ออสเตรีย 2–5 ไซปรัส อาพอลลอน ลิมาสซอล 1–2 1–3
ไฟเยอโนร์ด เนเธอร์แลนด์ 5–1 ประเทศจอร์เจีย ดินาโม ทบิลีซี 4–0 1–1
บรอนด์บี เดนมาร์ก 3–7 โปรตุเกส บรากา 2–4 1–3
โมลด์ นอร์เวย์ 4–3 กรีซ อาริส 3–0 1–3
(ต่อเวลา)
โลโคโมทิฟ พลอฟดิฟ บัลแกเรีย 0–2 ฝรั่งเศส สทราชบูร์ 0–1 0–1
ธูน สวิตเซอร์แลนด์ 3–5 รัสเซีย สปาร์ตัค มอสโก 2–3 1–2
เอฟซีเอสบี โรมาเนีย 1–0 เช็กเกีย มลาดา บอเลสลาฟ 0–0 1–0
ปยูนิค อาร์มีเนีย 0–8 อังกฤษ วุลเวอร์แฮมป์ตัน วอนเดอเรอส์ 0–4 0–4
มิดทิลลันด์ เดนมาร์ก 3–7 สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 2–4 1–3
มาริอูปอล ยูเครน 0–4 เนเธอร์แลนด์ อาแซด 0–0 0–4
เออีเค ลาร์นากา ไซปรัส 1–4 เบลเยียม เคเอเอ เกนต์ 1–1 0–3
แลเกีย วอร์ซอ โปแลนด์ 2–0 กรีซ อาโตรมิตอส 0–0 2–0
เฮาเกซุนด์ นอร์เวย์ 0–1 เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 0–1 0–0
ริเยกา โครเอเชีย 4–0 สกอตแลนด์ อาเบอร์ดีน 2–0 2–0
เวนท์สปิลส์ ลัตเวีย 0–9 โปรตุเกส วิตอเรีย เด กิมาไรส์ 0–3 0–6
วาดุซ ลีชเทินชไตน์ 0–6 เยอรมนี ไอน์ทรัคท์ ฟรังค์ฟวร์ท 0–5 0–1
ปาร์ตีซาน เซอร์เบีย 3–2 ตุรกี เยนิ มาลัตยาสปอร์ 3–1 0–1
มัลเมอ เอฟเอฟ สวีเดน 3–1 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซรินจ์สกี มอสตาร์ 3–0 0–1
ซีเอสเคเอ โซเฟีย บัลแกเรีย 1–2 ยูเครน ซอร์ยา ลูแฮนสค์ 1–1 0–1
เนฟต์ชี บากู อาเซอร์ไบจาน 3–4 อิสราเอล บีไน เยฮูดา 2–2 1–2
ลูเซิร์น สวิตเซอร์แลนด์ 0–6 สเปน อัสปัญญ็อล 0–3 0–3