ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2007–08

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2007–08
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่18 กันยายน 2550 – 21 พฤษภาคม 2551
ทีม32 (รอบแบ่งกลุ่ม)
76 (ทั้งหมด)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศอังกฤษ เชลซี
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน125
จำนวนประตู330 (2.64 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม5,380,947 (43,048 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดโปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด (8 ประตู)

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2007–08 (อังกฤษ: 2007–08 UEFA Champion League) เป็นการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรปครั้งที่ 53 จัดขึ้นโดยยูฟ่า และเป็นครั้งที่ 16 นับตั้งแต่เปลี่ยนชื่อการแข่งขันจากยูโรเปียนแชมเปียนคลับคัพเป็นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

การคัดเลือกสโมสร[แก้]

76 สโมสรที่ได้เข้าร่วมในการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2007–08 จาก 52 ชาติสมาชิกยูฟ่า (ยกเว้นลิกเตนสไตน์ ซึ่งไม่ได้จัดการแข่งขันลีก) โดยจะจัดอันดับแต่ละประเทศสำหรับจำนวนของสโมสรที่จะได้เข้าร่วมการแข่งขัน ดังนี้

  • สมาคมอันดับที่ 1–3 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 4 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 4–6 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 3 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 7–15 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 2 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 16–53 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์) จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 1 สโมสร

การจัดอันดับตามสมาคมฟุตบอล[แก้]

การแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2007–08 จัดตามการจัดอันดับค่าสัมประสิทธิ์ยูฟ่า ในปี พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2006) ซึ่งคำนวณจากการแข่งขันตั้งแต่ฤดูกาล 2001–02 ถึง 2005–06.[1]

อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร
1 สเปน สเปน 72.748 4
2 อิตาลี อิตาลี 66.731
3 อังกฤษ อังกฤษ 63.486
4 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 50.781 3
5 เยอรมนี เยอรมนี 48.364
6 โปรตุเกส โปรตุเกส 44.041
7 เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 41.331 2
8 กรีซ กรีซ 32.081
9 รัสเซีย รัสเซีย 31.833
10 โรมาเนีย โรมาเนีย 31.457
11 สกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 30.375
12 เบลเยียม เบลเยียม 30.250
13 ยูเครน ยูเครน 26.600
14 เช็กเกีย สาธารณรัฐเช็ก 26.575
15 ตุรกี ตุรกี 26.166
16 สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 25.875 1
17 บัลแกเรีย บัลแกเรีย 24.290
18 อิสราเอล อิสราเอล 21.541
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร
19 นอร์เวย์ Norway 20.975 1
20 ออสเตรีย Austria 20.375
21 เซอร์เบีย Serbia 19.999
22 โปแลนด์ Poland 18.500
23 เดนมาร์ก Denmark 16.950
24 ฮังการี Hungary 14.665
25 โครเอเชีย Croatia 14.083
26 สวีเดน Sweden 13.249
27 สโลวาเกีย Slovakia 12.332
28 ไซปรัส Cyprus 10.165
29 สโลวีเนีย Slovenia 10.165
30 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา Bosnia and Herzegovina 8.165
31 ฟินแลนด์ Finland 7.373
32 ลัตเวีย Latvia 7.164
33 มอลโดวา Moldova 6.832
34 ประเทศจอร์เจีย Georgia 6.331
35 ลิทัวเนีย Lithuania 5.832
36 มาซิโดเนียเหนือ Macedonia 5.331
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร
37 ไอซ์แลนด์ Iceland 4.832 1
38 ลีชเทินชไตน์ Liechtenstein 4.500 0
39 เบลารุส Belarus 4.415 1
40 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ Republic of Ireland 4.331
41 แอลเบเนีย Albania 3.665
42 อาร์มีเนีย Armenia 2.998
43 เอสโตเนีย Estonia 2.665
44 มอลตา Malta 2.665
45 เวลส์ Wales 2.332
46 ไอร์แลนด์เหนือ Northern Ireland 2.332
47 อาเซอร์ไบจาน Azerbaijan 1.999
48 ลักเซมเบิร์ก Luxembourg 1.832
49 คาซัคสถาน Kazakhstan 1.666
50 หมู่เกาะแฟโร Faroe Islands 1.665
51 ซานมารีโน San Marino 0.000
52 อันดอร์รา Andorra 0.000
53 มอนเตเนโกร Montenegro 0.000

ทีม[แก้]

รอบแบ่งกลุ่ม
สเปน เรอัลมาดริด (อันดับที่ 1) อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (อันดับที่ 1) เยอรมนี ชตุทท์การ์ท (อันดับที่ 1) เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน (อันดับที่ 1)
สเปน บาร์เซโลนา (อันดับที่ 2) อังกฤษ เชลซี (อันดับที่ 2) เยอรมนี ชัลเคอ 04 (อันดับที่ 2) กรีซ โอลิมเบียโกส (อันดับที่ 1)
อิตาลี อินเตอร์นาซีโอนาเล (อันดับที่ 1) ฝรั่งเศส ลียง (อันดับที่ 1) โปรตุเกส โปร์ตู (อันดับที่ 1) รัสเซีย ซีเอสเคเอ มอสโก (อันดับที่ 1)
อิตาลี โรมา (อันดับที่ 2) ฝรั่งเศส มาร์แซย์ (อันดับที่ 2) โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน (อันดับที่ 2) อิตาลี มิลานTH(อันดับที่ 4)
รอบคัดเลือกรอบสาม
สเปน เซบิยา (อันดับที่ 3) ฝรั่งเศส ตูลูซ (อันดับที่ 3) รัสเซีย สปาร์ตัคมอสโก (อันดับที่ 2) ยูเครน ดือนามอกือยิว (อันดับที่ 1)
สเปน บาเลนเซีย (อันดับที่ 4) เยอรมนี แวร์เดอร์เบรเมิน (อันดับที่ 3) โรมาเนีย ดินาโมบูคูเรสตี (อันดับที่ 1) เช็กเกีย สปาร์ตาปราก (อันดับที่ 1)
อิตาลี ลาซีโอ (อันดับที่ 3) โปรตุเกส ไบฟีกา (อันดับที่ 3) สกอตแลนด์ เซลติก (อันดับที่ 1) ตุรกี เฟแนร์บาห์แช (อันดับที่ 1)
อังกฤษ ลิเวอร์พูล (อันดับที่ 3) เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ (PO) เบลเยียม อันเดอร์เลคต์ (อันดับที่ 1) สวิตเซอร์แลนด์ ซือริช (อันดับที่ 1)
อังกฤษ อาร์เซนอล (อันดับที่ 4) กรีซ อาเอกเอเธนส์ (อันดับที่ 2)
รอบคัดเลือกรอบสอง
โรมาเนีย Steaua București (2nd) เช็กเกีย Slavia Prague (2nd) นอร์เวย์ Rosenborg (1st) โปแลนด์ Zagłębie Lubin (1st)
สกอตแลนด์ Rangers (2nd) ตุรกี Beşiktaş (2nd) ออสเตรีย Red Bull Salzburg (1st) เดนมาร์ก Copenhagen (1st)
เบลเยียม Genk (2nd) บัลแกเรีย Levski Sofia (1st) เซอร์เบีย Red Star Belgrade (1st) ฮังการี Debrecen (1st)
ยูเครน Shakhtar Donetsk (2nd) อิสราเอล Beitar Jerusalem (1st)
รอบคัดเลือกรอบแรก
โครเอเชีย Dinamo Zagreb (1st) ลัตเวีย Ventspils (1st) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ Derry City (2nd)[Note IRL] อาเซอร์ไบจาน Khazar Lenkoran (1st)
สวีเดน Elfsborg (1st) มอลโดวา Sheriff Tiraspol (1st) แอลเบเนีย KF Tirana (1st) ลักเซมเบิร์ก F91 Dudelange (1st)
สโลวาเกีย Žilina (1st) ประเทศจอร์เจีย Olimpi Rustavi (1st) อาร์มีเนีย Pyunik (1st) คาซัคสถาน Astana (1st)
ไซปรัส APOEL (1st) ลิทัวเนีย FBK Kaunas (1st) เอสโตเนีย Levadia Tallinn (1st) หมู่เกาะแฟโร HB (1st)
สโลวีเนีย Domžale (1st) มาซิโดเนียเหนือ Pobeda (1st) มอลตา Marsaxlokk (1st) อันดอร์รา Rànger's (1st)
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา Sarajevo (1st) ไอซ์แลนด์ FH (1st) เวลส์ The New Saints (1st) ซานมารีโน Murata (1st)
ฟินแลนด์ Tampere United (1st) เบลารุส BATE Borisov (1st) ไอร์แลนด์เหนือ Linfield (1st) มอนเตเนโกร Zeta (1st)
หมายเหตุ
  1. ^ Republic of Ireland (IRL): Second-placed Derry City were admitted to Champions League after last year champions Shelbourne were denied a Premier Division license for 2007 due to financial violations.[2]

วันแข่งขันในแต่ละรอบ[แก้]

การจับสลากทั้งหมดจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ของยูฟ่า ในเมืองนียง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์.

รอบคัดเลือก[แก้]

รอบคัดเลือกรอบแรก[แก้]

การจับสลากได้จัดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 2007 ในเมือง นียง, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์. การจับสลากดำเนินการโดยเลขานุการทั่วไปของยูฟ่า เดวิด เทย์เลอร์ และ มิเชเล เซนเตนาโร, หัวหน้าฝ่ายจัดการแข่งขันสโมสรของยูฟ่า. แต่ละนัดในเลกแรกได้จัดขึ้นในวันที่ 17 กรกฎาคม และ 18 กรกฎาคม, ในขณะที่เลกที่สองได้ลงเล่นในวันที่ 24 กรกฎาคม และ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 2007.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
คาซาร์ เลนโครัน อาเซอร์ไบจาน 2–4 โครเอเชีย ดีนาโมซาเกร็บ 1–1 1–3
(ต่อเวลา)
อาโปเอล ไซปรัส 2–3 เบลารุส บาเตบอรีซอฟ 2–0 0–3
(ต่อเวลา)
เชริฟฟฺ์ ตีรัสปอล มอลโดวา 5–0 อันดอร์รา รันเจอร์'ส 2–0 3–0
เอฟเอช ไอซ์แลนด์ 4–1 หมู่เกาะแฟโร เอชบี 4–1 0–0
เดอะนิวเซนต์ส เวลส์ 4–4 () ลัตเวีย เวนต์สปิลส์ 3–2 1–2
โปเบดา มาซิโดเนียเหนือ 0–1 เอสโตเนีย เอฟซี เลวาเดีย 0–1 0–0
โอลิมปี รุสตาวี ประเทศจอร์เจีย 0–3 คาซัคสถาน อัสตานา 0–0 0–3
เซตา มอนเตเนโกร 5–4 ลิทัวเนีย เอฟบีเค เคานัส 3–1 2–3
มูราตา ซานมารีโน 1–4 ฟินแลนด์ ทัมเปเร ยูไนเต็ด 1–2 0–2
เอฟ91 ดูเดลังก์ ลักเซมเบิร์ก 5–7 สโลวาเกีย ซิลินา 1–2 4–5
ลินฟีลด์ ไอร์แลนด์เหนือ 0–1 สวีเดน เอลฟ์สบอร์ก 0–0 0–1
เดอร์รีซิตี[3] สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 0–2 อาร์มีเนีย ปยูนิค 0–0 0–2
มาร์ซักซ์ลอกค์ มอลตา 1–9 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซาราเยโว 0–6 1–3
ดอมซาเล สโลวีเนีย 3–1 แอลเบเนีย เคเอฟ ติรานา 1–0 2–1

รอบคัดเลือกรอบสอง[แก้]

การจับสลากได้จัดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน ค.ศ. 2007 ในเมือง นียง, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์. การจับสลากดำเนินการโดยเลขานุการทั่วไปของยูฟ่า เดวิด เทย์เลอร์ และ มิเชเล เซนเตนาโร, หัวหน้าฝ่ายจัดการแข่งขันสโมสรของยูฟ่า. แต่ละนัดในเลกแรกได้จัดขึ้นในวันที่ 31 กรกฎาคม และ 1 สิงหาคม, ในขณะที่เลกที่สองได้ลงเล่นในวันที่ 7 สิงหาคม และ 8 สิงหาคม ค.ศ. 2007.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ปยูนิค อาร์มีเนีย 1–4 ยูเครน ชัคตาร์ดอแนตสก์ 0–2 1–2
เรดสตาร์ เบลเกรด เซอร์เบีย 2–2 () เอสโตเนีย เอฟซี เลวาเดีย 1–0 1–2
เรนเจอส์ สกอตแลนด์ 3–0 มอนเตเนโกร เซตา 2–0 1–0
เดเบรเซน ฮังการี 0–1 สวีเดน เอลฟ์สบอร์ก 0–1 0–0
ซาเกลบี ลูบิน โปแลนด์ 1–3 โรมาเนีย สเตอัวบูคูเรสตี 0–1 1–2
เคงก์ เบลเยียม 2–2 () บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ซาราเยโว 1–2 1–0
เวนต์สปิลส์ ลัตเวีย 0–7 ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค 0–3 0–4
อัสตานา คาซัคสถาน 2–10 นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก 1–3 1–7
เอฟเอช ไอซ์แลนด์ 2–4 เบลารุส บาเตบอรีซอฟ 1–3 1–1
โคเปนเฮเกน เดนมาร์ก 2–1 อิสราเอล ไบตาร์ เยรูซาเลม 1–0 1–1
(ต่อเวลา)
ซิลินา สโลวาเกีย 0–0
(ดวลลูกโทษ 3–4)
เช็กเกีย สลาเวีย ปราก 0–0 0–0
(ต่อเวลา)
ทัมเปเร ยูไนเต็ด ฟินแลนด์ 2–0 บัลแกเรีย เลฟสกี โซเฟีย 1–0 1–0
ดอมซาเล สโลวีเนีย 2–5 โครเอเชีย ดีนาโมซาเกร็บ 1–2 1–3
เบชิกทัช ตุรกี 4–0 มอลโดวา เชริฟฟฺ์ ตีรัสปอล 1–0 3–0

รอบคัดเลือกรอบสาม[แก้]

การจับสลากได้จัดขึ้นเมื่อวันศุกร์ที่ 3 สิงหาคม ค.ศ. 2007 ในเมือง นียง, ประเทศสวิตเซอร์แลนด์. การจับสลากดำเนินการโดยเลขานุการทั่วไปของยูฟ่า เดวิด เทย์เลอร์ และ จอร์จิโอ มาร์เค็ตติ, ผู้อำนวยการฝ่ายฟุตบอลอาชีพของยูฟ่า. แต่ละนัดในเลกแรกได้จัดขึ้นในวันที่ 14 สิงหาคม และ 15 สิงหาคม, ในขณะที่เลกที่สองได้ลงเล่นในวันที่ 28 สิงหาคม และ 29 สิงหาคม ค.ศ. 2007. ทีมที่ชนะเลิศในรอบนี้จะได้สิทธิ์เข้ารอบแบ่งกลุ่ม, ในขณะที่สโมสรที่แพ้จะได้เข้าสู่รอบแรกของ ยูฟ่าคัพ. เนื่องมาจากการเสียชีวิตของ อันโตนิโอ ปูเอร์ตา, เลกที่สองของเกม เซบิยา ในนัดที่พบกับ อาเอกเอเธนส์ ได้เลื่อนการแข่งขันออกไปจนถึงวันที่ 3 กันยายน.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
บาเตบอรีซอฟ เบลารุส 2–4 โรมาเนีย สเตอัวบูคูเรสตี 2–2 0–2
ทัมเปเร ยูไนเต็ด ฟินแลนด์ 0–5 นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก 0–3 0–2
สปาร์ตัคมอสโก รัสเซีย 2–2
(ดวลลูกโทษ 3–4)
สกอตแลนด์ เซลติก 1–1 1–1
(ต่อเวลา)
แวร์เดอร์เบรเมิน เยอรมนี 5–3 โครเอเชีย ดีนาโมซาเกร็บ 2–1 3–2
เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค ออสเตรีย 2–3 ยูเครน ชัคตาร์ดอแนตสก์ 1–0 1–3
อายักซ์ เนเธอร์แลนด์ 1–3 เช็กเกีย สลาเวีย ปราก 0–1 1–2
บาเลนเซีย สเปน 5–1 สวีเดน เอลฟ์สบอร์ก 3–0 2–1
ซาราเยโว บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 0–4 ยูเครน ดือนามอกือยิว 0–1 0–3
เฟแนร์บาห์แช ตุรกี 3–0 เบลเยียม อันเดอร์เลคต์ 1–0 2–0
เรนเจอส์ สกอตแลนด์ 1–0 เซอร์เบีย เรดสตาร์ เบลเกรด 1–0 0–0
ตูลูซ ฝรั่งเศส 0–5 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 0–1 0–4
ไบฟีกา โปรตุเกส 3–1 เดนมาร์ก โคเปนเฮเกน 2–1 1–0
ลาซีโอ อิตาลี 4–2 โรมาเนีย ดินาโมบูคูเรสตี 1–1 3–1
สปาร์ตาปราก เช็กเกีย 0–5 อังกฤษ อาร์เซนอล 0–2 0–3
ซือริช สวิตเซอร์แลนด์ 1–3 ตุรกี เบชิกทัช 1–1 0–2
เซบิยา สเปน 6–1 กรีซ อาเอกเอเธนส์ 2–0 4–1

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

การจับสลากได้จัดขึ้นเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 2007 ที่ กริมัลดี ฟอรัม ใน ราชรัฐโมนาโก. การจับสลากเป็นเจ้าภาพโดย เปโดร ปินโต และดำเนินการโดยเลขานุการทั่วไปของยูฟ่า เดวิด เทย์เลอร์ และ มิเชเล เซนเตนาโร, หัวหน้าฝ่ายจัดการแข่งขันสโมสรของยูฟ่า. แต่ละนัดจะลงเล่นระหว่างวันที่ 18 กันยายน และ 12 ธันวาคม ค.ศ. 2007.

กลุ่ม A[แก้]

กลุ่ม B[แก้]

กลุ่ม C[แก้]

กลุ่ม D[แก้]

กลุ่ม E[แก้]

กลุ่ม F[แก้]

กลุ่ม G[แก้]

กลุ่ม H[แก้]

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

  รอบแพ้คัดออกรอบแรก รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                                         
 เยอรมนี ชัลเคอ 04 () 1 0 1 (4)  
 โปรตุเกส โปร์ตู 0 1 1 (1)  
   เยอรมนี ชัลเคอ 04 0 0 0  
   สเปน บาร์เซโลนา 1 1 2  
 สกอตแลนด์ เซลติก 2 0 2
 สเปน บาร์เซโลนา 3 1 4  
   สเปน บาร์เซโลนา 0 0 0  
   อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 0 1 1  
 อิตาลี โรมา 2 2 4  
 สเปน เรอัลมาดริด 1 1 2  
   อิตาลี โรมา 0 0 0
   อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 2 1 3  
 ฝรั่งเศส ลียง 1 0 1
 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1 1 2  
   อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด () 1 (6)
   อังกฤษ เชลซี 1 (5)
 อังกฤษ อาร์เซนอล 0 2 2  
 อิตาลี มิลาน 0 0 0  
   อังกฤษ อาร์เซนอล 1 2 3
   อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1 4 5  
 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 2 1 3
 อิตาลี อินแตร์นาซีโอนาเล 0 0 0  
   อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1 2 3
   อังกฤษ เชลซี (aet) 1 3 4  
 ตุรกี เฟแนร์บาห์แช () 3 2 5 (3)  
 สเปน เซบิยา 2 3 5 (2)  
   ตุรกี เฟแนร์บาห์แช 2 0 2
   อังกฤษ เชลซี 1 2 3  
 กรีซ โอลิมเบียโกส 0 0 0
 อังกฤษ เชลซี 0 3 3  

รอบแพ้คัดออกรอบแรก[แก้]

แต่ละนัดในนัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 19 กุมภาพันธ์ และ 20 กุมภาพันธ์, ในขณะที่นัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 4 มีนาคม และ 5 มีนาคม ค.ศ. 2008. เนื่องมาจาก สนามกีฬาใช้พร้อมกัน กับ มิลาน, เลกที่สองของเกม อินแตร์นาซีโอนาเล ในนัดที่พบกับ ลิเวอร์พูล ได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เซลติก สกอตแลนด์ 2–4 สเปน บาร์เซโลนา 2–3 0–1
ลียง ฝรั่งเศส 1–2 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1–1 0–1
ชัลเคอ 04 เยอรมนี 1–1 (4–1 ) โปรตุเกส โปร์ตู 1–0 0–1
(ต่อเวลา)
ลิเวอร์พูล อังกฤษ 3–0 อิตาลี อินแตร์นาซีโอนาเล 2–0 1–0
โรมา อิตาลี 4–2 สเปน เรอัลมาดริด 2–1 2–1
อาร์เซนอล อังกฤษ 2–0 อิตาลี มิลาน 0–0 2–0
โอลิมเบียโกส กรีซ 0–3 อังกฤษ เชลซี 0–0 0–3
เฟแนร์บาห์แช ตุรกี 5–5 (3–2 ) สเปน เซบิยา 3–2 2–3
(ต่อเวลา)

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 1 เมษายน และ 2 เมษายน, ในขณะที่นัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 8 เมษายน และ 9 เมษายน ค.ศ. 2008

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
อาร์เซนอล อังกฤษ 3–5 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1–1 2–4
โรมา อิตาลี 0–3 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 0–2 0–1
ชัลเคอ 04 เยอรมนี 0–2 สเปน บาร์เซโลนา 0–1 0–1
เฟแนร์บาห์แช ตุรกี 2–3 อังกฤษ เชลซี 2–1 0–2

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 22 เมษายน และ 23 เมษายน, ในขณะที่นัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 29 เมษายน และ 30 เมษายน ค.ศ. 2008

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
ลิเวอร์พูล อังกฤษ 3–4 อังกฤษ เชลซี 1–1 2–3
(ต่อเวลา)
บาร์เซโลนา สเปน 0–1 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 0–0 0–1

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

สถิติ[แก้]

สถิติรวมตั้งแต่รอบคัดเลือก.