ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2009–10

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2009–10
UEFA Champions League 2009–10
รายละเอียดการแข่งขัน
ทีม32 (รอบแบ่งกลุ่ม)
76 (ทั้งหมด) (จาก 52 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศอิตาลี อินเตอร์มิลาน (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน125
จำนวนประตู318 (2.54 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม5,193,947 (41,552 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดอาร์เจนตินา ลิโอเนล เมสซิ
(8 ประตู)

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2009-10 นี้จะเป็นฤดูกาลที่ 55 ของการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรป โดยการแข่งขันนี้ จัดโดย ยูฟ่า และเป็นฤดูกาลที่ 18 ในการใช้ชื่อ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

ทีมที่มีคุณสมบัติเข้าการแข่งขัน[แก้]

ทีมสโมสรทั้งหมด 76 ทีมที่จะมีส่วนร่วมในการแข่งขันครั้งนี้ จะมาจาก 52 สมาชิกของ ยูฟ่า (ยกเว้น ประเทศลิกเตนสไตน์ ที่ยังไม่มีการแข่งขันฟุตบอลลีกในประเทศ)[1]

ด้านล่างนี้เป็นคุณสมบัติการเข้าแข่งขันของลีกในแต่ละประเทศ

  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 1-3 จะได้เข้าการแข่งขัน 4 ทีม
  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 4-6 จะได้เข้าการแข่งขัน 3 ทีม
  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 7-15 จะได้เข้าการแข่งขัน 2 ทีม
  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 16-53 จะได้เข้าการแข่งขัน 1 ทีม (ยกเว้น ประเทศลิกเตนสไตน์)

อันดับสมาคมฟุตบอลของแต่ละประเทศ[แก้]

อันดับ ประเทศ ค่าสัมประสิทธิ์ ทีม
1 อังกฤษ อังกฤษ 85.785 4
2 สเปน สเปน 82.329
3 อิตาลี อิตาลี 60.410
4 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 52.668 3
5 เยอรมนี เยอรมนี 48.722
6 รัสเซีย รัสเซีย 43.750
7 โรมาเนีย โรมาเนีย 40.599 2
8 โปรตุเกส โปรตุเกส 39.927
9 เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 38.213
10 สกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 33.375
11 ตุรกี ตุรกี 31.725
12 ยูเครน ยูเครน 30.100
13 เบลเยียม เบลเยียม 26.700
14 กรีซ กรีซ 25.831
15 เช็กเกีย สาธารณรัฐเช็ก 25.750
16 สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 24.225 1
17 บัลแกเรีย บัลแกเรีย 23.166
18 นอร์เวย์ นอร์เวย์ 22.425
อันดับ ประเทศ ค่าสัมประสิทธิ์ ทีม
19 เดนมาร์ก เดนมาร์ก 20.450 1
20 ออสเตรีย ออสเตรีย 17.700
21 เซอร์เบีย เซอร์เบีย 16.750
22 อิสราเอล อิสราเอล 15.750
23 สวีเดน สวีเดน 13.691
24 สโลวาเกีย สโลวาเกีย 12.332
25 โปแลนด์ โปแลนด์ 12.041
26 ฮังการี ฮังการี 11.999
27 โครเอเชีย โครเอเชีย 11.624
28 ไซปรัส ไซปรัส 10.082
29 สโลวีเนีย สโลวีเนีย 9.915
30 ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 9.623
31 ลัตเวีย ลัตเวีย 8.831
32 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 8.498
33 ลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 7.999
34 มอลโดวา มอลโดวา 7.499
35 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ 7.332
36 มาซิโดเนียเหนือ มาซิโดเนีย 6.331
อันดับ ประเทศ ค่าสัมประสิทธิ์ ทีม
37 ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 5.999 1
38 ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย 5.831
39 ลีชเทินชไตน์ ลิกเตนสไตน์ 5.500 0
40 เบลารุส เบลารุส 5.332 1
41 เอสโตเนีย เอสโตเนีย 4.332
42 อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 3.832
43 แอลเบเนีย แอลเบเนีย 3.666
44 อาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 3.665
45 คาซัคสถาน คาซัคสถาน 2.582
46 ไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือ 2.332
47 เวลส์ เวลส์ 2.331
48 หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร 1.832
49 ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 1.498
50 มอลตา มอลตา 0.832
51 มอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 0.500
52 อันดอร์รา อันดอร์รา 0.500
53 ซานมารีโน ซานมารีโน 0.250

การเข้าแข่งขัน[แก้]

ทีมที่เข้าสู่รอบนี้ ทีมที่เข้ารอบจากรอบที่แล้ว
รอบคัดเลือก รอบแรก
(4 ทีม)
  • 4 ทีมแชมป์ลีกจากประเทศอันดับที่ 50–53
รอบคัดเลือก รอบที่สอง
(34 ทีม)
  • 32 ทีมแชมป์ลีกจากประเทศอันดับที่ 17–49 (ยกเว้น ลิกเตนสไตน์)
  • 2 ทีมที่ชนะมาจากรอบแรก
รอบคัดเลือก รอบที่สาม แชมเปียนส์
(20 ทีม)
  • 3 ทีมแชมป์ลีกจากประเทศอันดับที่ 14–16
  • 17 ทีมที่ชนะมาจากรอบที่สอง
ทีมที่ไม่ใช่แชมป์
(10 ทีม)
  • 9 ทีมรองแชมป์ลีกจากประเทศที่ 7–15
  • 1 ทีมอันดับ 3 ของลีกจากประเทศที่ 6
รอบเพลย์ออฟ แชมเปียนส์
(10 ทีม)
  • 10 ทีมที่ชนะมาจากรอบที่สาม (ทีมแชมป์ลีก)
ทีมที่ไม่ใช่แชมป์
(10 ทีม)
  • 2 ทีมอันดับ 3 ของลีกจากประเทศที่ 4 และ 5
  • 3 ทีมอันดับที่ 4 ของลีกจากประเทศที่ 1–3
  • 5 ทีมที่ชนะมาจากรอบที่สาม (ทีมที่ไม่ใช่แชมป์ลีก)
รอบแบ่งกลุ่ม
(32 ทีม)
  • 5 ทีมที่ชนะมาจากรอบเพลย์ออฟ (ทีมแชมป์ลีก)
  • 5 ทีมที่ชนะมาจากรอบเพลย์ออฟ (ทีมที่ไม่ใช่แชมป์ลีก)
รอบนอกต์เอาท์
(16 ทีม)
  • 8 ทีมอันดับ 1 ของรอบแบ่งกลุ่มในแต่ละกลุ่ม
  • 8 ทีมอันดับ 2 ของรอบแบ่งกลุ่มในแต่ละกลุ่ม

รอบคัดเลือก[แก้]

รอบคัดเลือกรอบแรก[แก้]

นัดแรกลงเล่นในวันที่ 30 มิถุนายน และ 1 กรกฎาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 7 และ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
Tre Fiori ซานมารีโน 2–2 (4–5 ) อันดอร์รา Sant Julià 1–1 1–1 (aet)
Hibernians มอลตา 0–6 มอนเตเนโกร Mogren 0–2 0–4

Order of legs reversed after original draw

รอบคัดเลือกรอบสอง[แก้]

นัดแรกลงเล่นในวันที่ 14 และ 15 กรกฎาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 21 และ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
Tirana แอลเบเนีย 1–5 นอร์เวย์ Stabæk 1–1 0–4
WIT Georgia ประเทศจอร์เจีย 1–3 สโลวีเนีย Maribor 0–0 1–3
EB/Streymur หมู่เกาะแฟโร 0–5 ไซปรัส APOEL 0–2 0–3
Copenhagen เดนมาร์ก 12–0 มอนเตเนโกร Mogren 6–0 6–0
Debrecen ฮังการี 3–3 () สวีเดน Kalmar FF 2–0 1–3
Makedonija Gjorče Petrov มาซิโดเนียเหนือ 0–4 เบลารุส BATE Borisov 0–2 0–2
FH ไอซ์แลนด์ 0–6 คาซัคสถาน Aktobe 0–4 0–2
Pyunik อาร์มีเนีย 0–3 โครเอเชีย Dinamo Zagreb 0–0 0–3
Ventspils ลัตเวีย 6–1 ลักเซมเบิร์ก F91 Dudelange 3–0 3–1
Ekranas ลิทัวเนีย 4–6 อาเซอร์ไบจาน Baku 2–2 2–4
Red Bull Salzburg ออสเตรีย 2–1 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ Bohemians 1–1 1–0
Zrinjski บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 1–4 สโลวาเกีย Slovan Bratislava 1–0 0–4
Inter Turku ฟินแลนด์ 0–2 มอลโดวา Sheriff Tiraspol 0–1 0–1
Rhyl เวลส์ 0–12 เซอร์เบีย Partizan 0–4 0–8
Wisła Kraków โปแลนด์ 1–2 เอสโตเนีย Levadia 1–1 0–1
Levski Sofia บัลแกเรีย 9–0 อันดอร์รา Sant Julià 4–0 5–0
Maccabi Haifa อิสราเอล 10–0 ไอร์แลนด์เหนือ Glentoran 6–0 4–0

รอบคัดเลือกรอบสาม[แก้]

รอบคัดเลือกรอบสามได้ถูกแบ่งออกเป็นสองส่วน: หนึ่งส่วนสำหรับเส้นทางแชมเปียนส์และหนึ่งส่วนสำหรับเส้นทางไม่ได้เป็นแชมเปียนส์. นัดแรกจะลงเล่นในวันที่ 28 และ 29 กรกฎาคม, และนัดที่สองจะลงเล่นในวันที่ 4 และ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009). ทีมที่แพ้ในสองส่วนจะได้เข้าสู่ รอบเพลย์ออฟ ของ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2009–10.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางแชมเปียนส์
Red Bull Salzburg ออสเตรีย 3–2 โครเอเชีย Dinamo Zagreb 1–1 2–1
Slovan Bratislava สโลวาเกีย 0–4 กรีซ Olympiacos 0–2 0–2
Zürich สวิตเซอร์แลนด์ 5–3 สโลวีเนีย Maribor 2–3 3–0
APOEL ไซปรัส 2–1 เซอร์เบีย Partizan 2–0 0–1
Sheriff Tiraspol มอลโดวา 1–1 () เช็กเกีย Slavia Prague 0–0 1–1
Aktobe คาซัคสถาน 3–4 อิสราเอล Maccabi Haifa 0–0 3–4
Baku อาเซอร์ไบจาน 0–2 บัลแกเรีย Levski Sofia 0–0 0–2
Ventspils ลัตเวีย 2–2 () เบลารุส BATE Borisov 1–0 1–2
Levadia เอสโตเนีย 0–2 ฮังการี Debrecen 0–1 0–1
Copenhagen เดนมาร์ก 3–1 นอร์เวย์ Stabæk 3–1 0–0
เส้นทางไม่ได้เป็นแชมเปียนส์
Sparta Prague เช็กเกีย 3–4 กรีซ Panathinaikos 3–1 0–3
Shakhtar Donetsk ยูเครน 2–2 () โรมาเนีย Timișoara 2–2 0–0
Sporting CP โปรตุเกส 1–1 () เนเธอร์แลนด์ Twente 0–0 1–1
Celtic สกอตแลนด์ 2–1 รัสเซีย Dynamo Moscow 0–1 2–0
Anderlecht เบลเยียม 6–3 ตุรกี Sivasspor 5–0 1–3

รอบเพลย์ออฟ[แก้]

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
เส้นทางแชมเปียนส์
Sheriff Tiraspol มอลโดวา 0–3 กรีซ Olympiacos 0–2 0–1
Red Bull Salzburg ออสเตรีย 1–5 อิสราเอล Maccabi Haifa 1–2 0–3
Ventspils ลัตเวีย 1–5 สวิตเซอร์แลนด์ Zürich 0–3 1–2
Copenhagen เดนมาร์ก 2–3 ไซปรัส APOEL 1–0 1–3
Levski Sofia บัลแกเรีย 1–4 ฮังการี Debrecen 1–2 0–2
เส้นทางไม่ได้เป็นแชมเปียนส์
Lyon ฝรั่งเศส 8–2 เบลเยียม Anderlecht 5–1 3–1
Celtic สกอตแลนด์ 1–5 อังกฤษ Arsenal 0–2 1–3
Timișoara โรมาเนีย 0–2 เยอรมนี Stuttgart 0–2 0–0
Sporting CP โปรตุเกส 3–3 (a) อิตาลี Fiorentina 2–2 1–1
Panathinaikos กรีซ 2–5 สเปน Atlético Madrid 2–3 0–2

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

ความหมายของสัญลักษณ์สีในตารางกลุ่ม
ทีมอันดับ 1 และ อันดับ 2 ของแต่ละกลุ่มจะได้ไปเล่นใน รอบ 16 ทีมสุดท้าย
ทีมอันดับ 3 ของแต่ละกลุ่มจะได้ไปเล่น ยูฟ่ายูโรปาลีก ที่ รอบ 32 ทีมสุดท้าย

กลุ่ม A[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ฝรั่งเศส บอร์โด 6 5 1 0 9 2 +7 16
เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 6 3 1 2 9 5 +4 10
อิตาลี ยูเวนตุส 6 2 2 2 4 7 −3 8
อิสราเอล มัคคาบี ไฮฟา 6 0 0 6 0 8 −8 0
  BAY BDX JUV MHA
บาเยิร์นมิวนิก 0–2 0–0 1–0
บอร์โด 2–1 2–0 1–0
ยูเวนตุส 1–4 1–1 1–0
มัคคาบี ไฮฟา 0–3 0–1 0–1
  • มัคคาบี ไฮฟา เป็นสโมสรแรกที่จบแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม กับสถิติชนะ 0 นัด, 0 ประตู และ 0 คะแนน.

กลุ่ม B[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 6 4 1 1 10 6 +4 13
รัสเซีย ซีเอสเคเอ มอสโก 6 3 1 2 10 10 0 10
เยอรมนี ว็อลฟส์บูร์ก 6 2 1 3 9 8 +1 7
ตุรกี เบซิกตัส 6 1 1 4 3 8 −5 4
  BJK CSK MU WOL
เบซิกตัส 1–2 0–1 0–3
ซีเอสเคเอ มอสโก 2–1 0–1 2–1
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 0–1 3–3 2–1
ว็อลฟส์บูร์ก 0–0 3–1 1–3

กลุ่ม C[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
สเปน เรอัลมาดริด 6 4 1 1 15 7 +8 13
อิตาลี มิลาน 6 2 3 1 8 7 +1 9
ฝรั่งเศส มาร์แซย์ 6 2 1 3 10 10 0 7
สวิตเซอร์แลนด์ ซูริก 6 1 1 4 5 14 −9 4
  OM MIL RM ZÜR
มาร์แซย์ 1–2 1–3 6–1
มิลาน 1–1 1–1 0–1
เรอัลมาดริด 3–0 2–3 1–0
ซูริก 0–1 1–1 2–5

กลุ่ม D[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
อังกฤษ เชลซี 6 4 2 0 11 4 +7 14
โปรตุเกส โปร์ตู 6 4 0 2 8 3 +5 12
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 6 0 3 3 3 12 −9 3
ไซปรัส อาโปเอล 6 0 3 3 4 7 −3 3
  APO ATL CHE POR
อาโปเอล 1–1 0–1 0–1
อัตเลติโกเดมาดริด 0–0 2–2 0–3
เชลซี 2–2 4–0 1–0
โปร์ตู 2–1 2–0 0–1

กลุ่ม E[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
อิตาลี ฟีออเรนตีนา 6 5 0 1 14 7 +7 15
ฝรั่งเศส ลียง 6 4 1 1 12 3 +9 13
อังกฤษ ลิเวอร์พูล 6 2 1 3 5 7 −2 7
ฮังการี เดเบรเซน 6 0 0 6 5 19 −14 0
  DEB FIO LIV OL
เดเบรเซน 3–4 0–1 0–4
ฟีออเรนตีนา 5–2 2–0 1–0
ลิเวอร์พูล 1–0 1–2 1–2
ลียง 4–0 1–0 1–1

กลุ่ม F[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
สเปน บาร์เซโลนา 6 3 2 1 7 3 +4 11
อิตาลี อินเตอร์มิลาน 6 2 3 1 7 6 +1 9
รัสเซีย รูบิน คาซาน 6 1 3 2 4 7 −3 6
ยูเครน ดีนาโม คียิว 6 1 2 3 7 9 −2 5
  BAR DK INT RUB
บาร์เซโลนา 2–0 2–0 1–2
ดีนาโม คียิว 1–2 1–2 3–1
อินแตร์นาซีโอนาเล 0–0 2–2 2–0
รูบิน คาซาน 0–0 0–0 1–1

กลุ่ม G[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
สเปน เซบิยา 6 4 1 1 11 4 +7 13
เยอรมนี ชตุทท์การ์ท 6 2 3 1 9 7 +2 9
โรมาเนีย อูนีเรอา อูร์ซีเซนี 6 2 2 2 8 8 0 8
สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 6 0 2 4 4 13 −9 2
  RAN SEV STU URZ
เรนเจอส์ 1–4 0–2 1–4
เซบิยา 1–0 1–1 2–0
ชตุทท์การ์ท 1–1 1–3 3–1
อูนีเรอา อูร์ซีเซนี 1–1 1–0 1–1

กลุ่ม H[แก้]

ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
อังกฤษ อาร์เซนอล 6 4 1 1 12 5 +7 13
กรีซ โอลิมเปียกอส 6 3 1 2 4 5 −1 10
เบลเยียม สตองดาร์ ลีแยฌ 6 1 2 3 7 9 −2 5
เนเธอร์แลนด์ อาแซด 6 0 4 2 4 8 −4 4
  ARS AZ OLY STD
อาร์เซนอล 4–1 2–0 2–0
อาแซด 1–1 0–0 1–1
โอลิมเปียกอส 1–0 1–0 2–1
สตองดาร์ ลีแยฌ 2–3 1–1 2–0

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

  Round of 16 Quarter-finals Semi-finals Final
                                         
 เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก (a) 2 2 4  
 อิตาลี ฟีออเรนตีนา 1 3 4  
   เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก (a) 2 2 4  
   อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1 3 4  
 อิตาลี มิลาน 2 0 2
 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 3 4 7  
   เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 1 3 4  
   ฝรั่งเศส ลียง 0 0 0  
 ฝรั่งเศส ลียง 1 1 2  
 สเปน เรอัลมาดริด 0 1 1  
   ฝรั่งเศส ลียง 3 0 3
   ฝรั่งเศส บอร์โด 1 1 2  
 กรีซ โอลิมเปียกอส 0 1 1
 ฝรั่งเศส บอร์โด 1 2 3  
   เยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 0
   อิตาลี อินเตอร์มิลาน 2
 อิตาลี อินเตอร์มิลาน 2 1 3  
 อังกฤษ เชลซี 1 0 1  
   อิตาลี อินเตอร์มิลาน 1 1 2
   รัสเซีย ซีเอชเคเอมอสโก 0 0 0  
 รัสเซีย ซีเอสเคเอมอสโก 1 2 3
 สเปน เซบีญ่า 1 1 2  
   อิตาลี อินเตอร์มิลาน 3 0 3
   สเปน บาร์เซโลนา 1 1 2  
 โปรตุเกส โปร์ตู 2 0 2  
 อังกฤษ อาร์เซนอล 1 5 6  
   อังกฤษ อาร์เซนอล 2 1 3
   สเปน บาร์เซโลนา 2 4 6  
 เยอรมนี ชตุทท์การ์ท 1 0 1
 สเปน บาร์เซโลนา 1 4 5  

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Country coefficients 2007/08". UEFA.com.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]