ข้ามไปเนื้อหา

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2012–13
UEFA CHAMPIONS LEAGUE 2012-2013
สนามกีฬาเวมบลีย์ ใน กรุงลอนดอน เป็นสนามที่จะใช้จัดการแข่งขันในนัดชิงชนะเลิศของฤดูกาลนี้
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่18 กันยายน พ.ศ. 255525 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 (รอบแบ่งกลุ่ม)
3 กรกฎาคม29 สิงหาคม พ.ศ. 2556 (รอบคัดเลือก)
ทีม32 (รอบแบ่งกลุ่ม)
76 (ทั้งหมด) (จาก 52 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก (สมัยที่ 5)
รองชนะเลิศประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน125
จำนวนประตู368 (2.94 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม5,612,656 (44,901 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดประเทศโปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด
(12 ประตู)

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012-13 นี้จะเป็นฤดูกาลที่ 58 ของการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรป โดยการแข่งขันนี้ จัดโดย ยูฟ่า และเป็นฤดูกาลที่ 21 ในการใช้ชื่อ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

โดยมีการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีกนั้น จะเล่นที่ สนามเวมบลีย์ ใน ลอนดอน ประเทศอังกฤษ และการแข่งขันครั้งนี้เป็นครั้งที่ 7 แล้วที่นัดชิงชนะเลิศจะลงแข่งขันที่ สนามเวมบลีย์[1][2]

ทีมที่มีคุณสมบัติเข้าการแข่งขัน

[แก้]

ทีมสโมสรทั้งหมด 76 ทีมที่จะมีส่วนร่วมในการแข่งขันครั้งนี้ จะมาจาก 52 สมาชิกของ ยูฟ่า (ยกเว้น ประเทศลิกเตนสไตน์ ที่ยังไม่มีการแข่งขันฟุตบอลลีกในประเทศ) [3]

ด้านล่างนี้เป็นคุณสมบัติการเข้าแข่งขันของลีกในแต่ละประเทศ

  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 1-3 จะได้เข้าการแข่งขัน 4 ทีม
  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 4-6 จะได้เข้าการแข่งขัน 3 ทีม
  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 7-15 จะได้เข้าการแข่งขัน 2 ทีม
  • สมาคมฟุตบอลจากประเทศอันดับ 16-53 จะได้เข้าการแข่งขัน 1 ทีม (ยกเว้น ประเทศลิกเตนสไตน์)
  • แชมเปียนส์จากฤดูกาลก่อน

อันดับสมาคมฟุตบอลของแต่ละประเทศ

[แก้]
อันดับ ประเทศ ค่าสัมประสิทธิ์ ทีม
1 ประเทศอังกฤษ อังกฤษ 85.785 4
2 ประเทศสเปน สเปน 82.329
3 ประเทศเยอรมนี เยอรมนี 69.436
4 ประเทศอิตาลี อิตาลี 60.552 3
5 ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 53.678
6 ประเทศโปรตุเกส โปรตุเกส 51.596
7 ประเทศรัสเซีย รัสเซีย 44.707 2
8 ประเทศยูเครน ยูเครน 43.883
9 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 40.129
10 ประเทศตุรกี ตุรกี 35.050
11 ประเทศกรีซ กรีซ 34.166
12 ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก 30.550
13 ประเทศเบลเยียม เบลเยียม 27.000
14 ประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย 25.824
15 ประเทศสกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 25.141
16 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 24.900 1
17 ประเทศอิสราเอล อิสราเอล 22.000
18 ประเทศเช็กเกีย สาธารณรัฐเช็ก 20.850
อันดับ ประเทศ ค่าสัมประสิทธิ์ ทีม
19 ประเทศออสเตรีย ออสเตรีย 20.700 1
20 ประเทศไซปรัส ไซปรัส 18.124
21 ประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย 17.875
22 ประเทศโครเอเชีย โครเอเชีย 16.124
23 ประเทศเบลารุส เบลารุส 16.083
24 ประเทศโปแลนด์ โปแลนด์ 15.916
25 ประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย 14.499
26 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ 14.375
27 ประเทศเซอร์เบีย เซอร์เบีย 14.250
28 ประเทศสวีเดน สวีเดน 14.125
29 ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 9.124
30 ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 8.966
31 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ ไอร์แลนด์ 8.708
32 ประเทศฮังการี ฮังการี 8.500
33 ประเทศมอลโดวา มอลโดวา 7.749
34 ประเทศลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 7.708
35 ประเทศลัตเวีย ลัตเวีย 7.415
36 ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย 6.957
อันดับ ประเทศ ค่าสัมประสิทธิ์ ทีม
37 ประเทศอาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 6.165 1
38 ประเทศสโลวีเนีย สโลวีเนีย 6.124
39 มาซิโดเนียเหนือ มาซิโดเนีย 5.207
40 ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 4.957
41 ประเทศคาซัคสถาน คาซัคสถาน 4.374
42 ประเทศลีชเทินชไตน์ ลิกเตนสไตน์ 4.000 0
43 ประเทศมอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 3.875 1
44 ประเทศแอลเบเนีย แอลเบเนีย 3.874
45 ประเทศเอสโตเนีย เอสโตเนีย 3.791
46 ประเทศเวลส์ เวลส์ 2.790
47 ประเทศอาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 2.583
48 ประเทศมอลตา มอลตา 2.416
49 ไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือ 2.249
50 หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร 1.416
51 ประเทศลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 1.374
52 ประเทศอันดอร์รา อันดอร์รา 1.000
53 ประเทศซานมารีโน ซานมารีโน 0.916

การเข้าแข่งขัน

[แก้]
ทีมที่เข้าสู่รอบนี้ ทีมที่เข้ารอบจากรอบที่แล้ว
รอบคัดเลือก รอบแรก
(6 ทีม)
  • 6 ทีมแชมป์ลีกจากประเทศอันดับที่ 48–53
รอบคัดเลือก รอบที่สอง
(34 ทีม)
  • 31 ทีมแชมป์ลีกจากประเทศอันดับที่ 16–47 (ยกเว้น ลิกเตนสไตน์)
  • 3 ทีมที่ชนะมาจากรอบแรก
รอบคัดเลือก รอบที่สาม แชมเปียนส์
(20 ทีม)
  • 3 ทีมแชมป์ลีกจากประเทศอันดับที่ 13–15
  • 17 ทีมที่ชนะมาจากรอบที่สอง
ทีมที่ไม่ใช่แชมป์
(10 ทีม)
  • 9 ทีมรองแชมป์ลีกจากประเทศที่ 7–15
  • 1 ทีมอันดับ 3 ของลีกจากประเทศที่ 6
รอบเพลย์ออฟ แชมเปียนส์
(10 ทีม)
  • 10 ทีมที่ชนะมาจากรอบที่สาม (ทีมแชมป์ลีก)
ทีมที่ไม่ใช่แชมป์
(10 ทีม)
  • 2 ทีมอันดับ 3 ของลีกจากประเทศที่ 4 และ 5
  • 3 ทีมอันดับที่ 4 ของลีกจากประเทศที่ 1–3
  • 5 ทีมที่ชนะมาจากรอบที่สาม (ทีมที่ไม่ใช่แชมป์ลีก)
รอบแบ่งกลุ่ม
(32 ทีม)
  • 5 ทีมที่ชนะมาจากรอบเพลย์ออฟ (ทีมแชมป์ลีก)
  • 5 ทีมที่ชนะมาจากรอบเพลย์ออฟ (ทีมที่ไม่ใช่แชมป์ลีก)
รอบนอกต์เอาท์
(16 ทีม)
  • 8 ทีมอันดับ 1 ของรอบแบ่งกลุ่มในแต่ละกลุ่ม
  • 8 ทีมอันดับ 2 ของรอบแบ่งกลุ่มในแต่ละกลุ่ม

ทีม

[แก้]

หมายเลขในวงเล็บคืออันดับในลีก[4]

รอบแบ่งกลุ่ม
ประเทศอังกฤษ เชลซี (อันดับ 6) TH ประเทศสเปน บาเลนเซีย (อันดับ 3) ประเทศฝรั่งเศส มงเปอลีเย (อันดับ 1) ประเทศเนเธอร์แลนด์ อาแจ็กซ์ อัมสเตอร์ดัม (อันดับ 1)
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (อันดับ 2) ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ (อันดับ 1) ประเทศฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (อันดับ 2) ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร (อันดับ 1)
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี (อันดับ 1 ) ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก (อันดับ 2) ประเทศโปรตุเกส โปร์ตู (อันดับ 1) Note POR ประเทศกรีซ โอลิมเปียกอส (อันดับ 1)
ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล (อันดับ 3) ประเทศเยอรมนี ชัลเคอ 04 (อันดับ 3) Note GER ประเทศโปรตุเกส ไบฟีกา (อันดับ 2) Note POR ประเทศเดนมาร์ก (อันดับ 1)
ประเทศสเปน เรอัลมาดริด (อันดับ 1) ประเทศอิตาลี ยูเวนตุส (อันดับ 1 ) ประเทศรัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (อันดับ 1) Note RUS
ประเทศสเปน บาร์เซโลนา (อันดับ 2) ประเทศอิตาลี เอซีมิลาน (อันดับ 2) ประเทศยูเครน ชาคห์ตาร์โดเนตสค์ (อันดับ 1) Note UKR
รอบเพลย์ออฟ
แชมเปียนส์ ไม่ใช่แชมป์
ประเทศอังกฤษ มาลากา (อันดับ 4) ประเทศเยอรมนี อูดิเนเซ (อันดับ 4) Note GER ประเทศโปรตุเกส บรากา (อันดับ 3)
ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค (อับดับ 4) ประเทศฝรั่งเศส ลีลล์ (อันดับ 3) ประเทศรัสเซีย สปาร์ตักมอสโก (อันดับ 2)
รอบคัดเลือก รอบสาม
แชมเปียนส์ ไม่ใช่แชมป์
ประเทศเบลเยียม อันเดอร์เลชท์ (อันดับ 1) ประเทศยูเครน ดินาโมเคียฟ (อันดับ 2) ประเทศกรีซ พานาธิไนกอส (อันดับ 1) ประเทศโรมาเนีย วาสลุย (อันดับ 2)
ประเทศโรมาเนีย ซีเอฟอาร์คลูจ์ (อันดับ 1) ประเทศเนเธอร์แลนด์ เฟเออโนร์ด (อันดับ 2) ประเทศเดนมาร์ก (อันดับ 2) Note DEN ประเทศสกอตแลนด์ มาเธอร์เวลล์ (อันดับ 3) Note SCO
ประเทศสกอตแลนด์ เซลติก (อันดับ 1) ประเทศตุรกี เฟแนร์บาห์แช (อันดับ 2) ประเทศเบลเยียม คลับบรูซ (อันดับ 2)
รอบคัดเลือก รอบสอง
ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล (อันดับ 1) ประเทศโปแลนด์ วรอคลาฟ (อันดับ 1) ประเทศฮังการี เดเบรเซน (อันดับ 1) ไอซ์แลนด์ เรย์จาบีคัวร์ (อันดับ 1)
ประเทศอิสราเอล ฮาโปเอล อีโรนี เคอร์ยัต ชโมนา (อันดับ 1) ประเทศสโลวาเกีย เอ็มเอสเค ซีลีนา (อันดับ 1) ประเทศมอลโดวา เชริฟฟ์ ตีราสโปล (อันดับ 1) ประเทศคาซัคสถาน ชัคเตอร์ คารากันดี (อันดับ 1)
ประเทศเช็กเกีย สโลวาน ลิเบอเรช (อันดับ 1) ประเทศนอร์เวย์ โมลด์ (อันดับ 1) ประเทศลิทัวเนีย เอครานาส (อันดับ 1) ประเทศมอนเตเนโกร (อันดับ 1)
ประเทศออสเตรีย เรดบูลล์ ซัลซ์บวร์ก (อันดับ 1) ประเทศเซอร์เบีย ปาร์ติซาน (อันดับ 1) ประเทศลัตเวีย เวนท์สปิลส์ (อันดับ 1) ประเทศแอลเบเนีย สเคนเดอร์เบอู คอร์เช (อันดับ 1)
ประเทศไซปรัส เออีแอล ลีมาสโซล (อันดับ 1) ประเทศสวีเดน เฮลซิงบอร์ก (อันดับ 1) ประเทศจอร์เจีย (อันดับ 1) Note GEO ประเทศเอสโตเนีย ฟลอรา ทาลลินน์ (อันดับ 1)
ประเทศบัลแกเรีย (1st) ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เซลเยสนิการ์ (อันดับ 1) ประเทศอาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชี บากู (อันดับ 1) ประเทศเวลส์ เดอะ นิวเซนส์ (อันดับ 1)
ประเทศโครเอเชีย ดินาโม ซาเกร็บ (อันดับ 1) ประเทศฟินแลนด์ เฮลซิงกิ (อันดับ 1) ประเทศสโลวีเนีย มาริบอร์ (อันดับ 1) ประเทศอาร์มีเนีย อูลิสเซส (อันดับ 1)
ประเทศเบลารุส บาเต บอริโซฟ (อันดับ 1) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ แชมร็อก โรเวอส์ (อันดับ 1) มาซิโดเนียเหนือ วาร์ดาร์ (อันดับ 1)
รอบคัดเลือก รอบแรก
ประเทศมอลตา วาลเล็ตตา (อันดับ 1) หมู่เกาะแฟโร ทอร์ชาวน์ (อันดับ 1) ประเทศอันดอร์รา ลูซีทานอส (อันดับ 1)
ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟิลด์ (อันดับ 1) ประเทศลักเซมเบิร์ก ดูเดแลงจ์ (อันดับ 1) ประเทศซานมารีโน (อันดับ 1)
หมายเหตุ

ตารางการแข่งขัน

[แก้]

Note: กำหนดการเบื้องต้นจากยูฟ่า[6]

ช่วง รอบ วันที่กำหนด นัดที่ 1 นัดที่ 2
รอบคัดเลือก รอบแรก 25 มิถุนายน 2555 3–4 กรกฎาคม 2555 10–11 กรกฎาคม 2555
รอบสอง 17–18 กรกฎาคม 2555 24–25 กรกฎาคม 2555
รอบสาม 20 กรกฎาคม 2555 31 กรกฎาคม – 1 สิงหาคม 2555 7–8 สิงหาคม 2555
เพลย์ออฟ รอบเพลย์ออฟ 10 สิงหาคม 2555 21–22 สิงหาคม 2555 28–29 สิงหาคม 2555
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 30 สิงหาคม 2555
(โมนาโก)
18–19 กันยายน 2555
นัดที่ 2 2–3 ตุลาคม 2555
นัดที่ 3 23–24 ตุลาคม 2555
นัดที่ 4 6–7 พฤศจิกายน 2555
นํดที่ 5 20–21 พฤศจิกายน 2555
นัดที่ 6 4–5 ธันวาคม 2555
รอบแพ้คัดออก 16 ทีมสุดท้าย 14 ธันวาคม 2555 12–13 และ 19–20 กุมภาพันธ์ 2556 5–6 และ 12–13 มีนาคม 2556
8 ทีมสุดท้าย 15 มีนาคม 2556 2–3 เมษายน 2556 9–10 เมษายน 2556
รองชนะเลิศ 23–24 เมษายน 2556 30 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2556
ชิงชนะเลิศ 25 พฤษภาคม 2556 ที่ สนามเวมบลีย์, ลอนดอน

รอบคัดเลือก

[แก้]

รอบคัดเลือกจะเป็นทีมที่มาจากประเทศตามที่ ฟีฟ่า ได้กำหนดเกณฑ์เอาไว้ โดยจะแข่งขันกันแบบ เหย้า-เยือน[7][8]

รอบคัดเลือกรอบแรก

[แก้]

นัดแรกแข่งขันกันในวันที่ 3 กรกฎาคม และนัดที่สอง ในวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เอฟ91 ดูเดแลงจ์ ประเทศลักเซมเบิร์ก 11–0 ประเทศซานมารีโน เทร เพนเน 7–0 4–0
วาลเล็ทตา ประเทศมอลตา 9–0 ประเทศอันดอร์รา ลูซีทาโนส 8–0 1–0
ลินฟิลด์ ไอร์แลนด์เหนือ 0–0 (4–3 ลูกโทษ) หมู่เกาะแฟโร บี36 ทอร์ชาวน์ 0–0 0–0 (ต่อเวลาพิเศษ)

รอบคัดเลือกรอบสอง

[แก้]

นัดแรกแข่งขันกันในวันที่ 17 และ 18 กรกฎาคม และนัดที่สอง ในวันที่ 24 และ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
สเคนเดอร์บิว คอร์เซ ประเทศแอลเบเนีย 1–3 ประเทศฮังการี เดเบรเซน 1–0 0–3
มาริบอร์ ประเทศสโลวีเนีย 6–2 ประเทศบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เซลเจซนิการ์ 4–1 2–1
ซีลีนา ประเทศสโลวาเกีย 1–2 ประเทศอิสราเอล อาโปเอล อีโรนี เคอร์ยาท ชโมนา 1–0 0–2
บาเต บอรีโซฟ ประเทศเบลารุส 3–2 มาซิโดเนียเหนือ วาร์ดาร์ 3–2 0–0
ลีมาซโซล ประเทศไซปรัส 3–0 ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟิลด์ 3–0 0–0
แชมร็อก โรเวอร์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 1–2 ประเทศลิทัวเนีย เอครานาส 0–0 1–2
ฟลอรา ทาลลินน์ ประเทศเอสโตเนีย 0–5 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บาเซิล 0–2 0–3
เดอะ นิว เซนท์ ประเทศเวลส์ 0–3 ประเทศสวีเดน เฮลซิงบอร์ก 0–0 0–3
เฮลซิงกิน จาลคาปาลโลคลูบี ประเทศฟินแลนด์ 9–1 ไอซ์แลนด์ คนาทท์สปีย์นูเฟลัก เรย์จาวีกูร์ 7–0 2–1
โมลเด ประเทศนอร์เวย์ 4–1 ประเทศลัตเวีย เวนท์สปิลส์ 3–0 1–1
ดูเดแลงจ์ ประเทศลักเซมเบิร์ก (กฎประตูทีมเยือน) 4–4 ประเทศออสเตรีย เรดบูลล์ ซัลส์บวร์ก 1–0 3–4
สโลวาน ลิเบเรค ประเทศเช็กเกีย 2–1 ประเทศคาซัคสถาน ชาร์กตาร์ คารากานดีย์ 1–0 1–1 (ต่อเวลาพิเศษ)
ลูโดโกเร็ตส์ ราซกราด ประเทศบัลแกเรีย 3–4 ประเทศโครเอเชีย ดินาโม ซาเกร็บ 1–1 2–3
เนฟท์ชี บากู ประเทศอาเซอร์ไบจาน 5–2 ประเทศจอร์เจีย เซสตาโฟนี 3–0 2–2
อูลีสเซส ประเทศอาร์มีเนีย 0–2 ประเทศมอลโดวา เชริฟฟ์ ทีราสโพล 0–1 0–1
วาลเล็ทตา ประเทศมอลตา 2–7 ประเทศเซอร์เบีย พาร์ติซาน 1–4 1–3
บูดูคโนสท์ ปอดโกริกา ประเทศมอนเตเนโกร 1–2 ประเทศโปแลนด์ สลาค วอร์ซอ 0–2 1–0

รอบคัดเลือกรอบสาม

[แก้]

รอบคัดเลือกรอบสามนี้ จะแบ่งเป็น 2 เส้นทาง คือ เส้นทางแชมเปียนส์ (ทีมที่ชนะจากรอบที่แล้ว) และ เส้นทางลีก (ทีมที่ได้คัดเลือกมาจากการแข่งขันลีกภายในประเทศ) โดยผู้ชนะ จะได้เข้ารอบต่อ ส่วนผู้แพ้ จะไปลงเล่นใน ยูฟ่ายูโรปาลีก 2012-13 รอบแบ่งกลุ่ม นัดแรกแข่งขันกันในวันที่ 31 กรกฎาคม และ 1 สิงหาคม และนัดที่สอง ในวันที่ 7 และ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เส้นทางแชมเปียนส์
มาริบอร์ ประเทศสโลวีเนีย 5–1 ประเทศลักเซมเบิร์ก เอฟ91 ดูเดแลงจ์ 4–1 1–0
บาเต้ บอริซอฟ ประเทศเบลารุส 3–1 ประเทศฮังการี เดเบรเซ่น 1–1 2–0
ซีเอฟอาร์ คลูจ์ ประเทศโรมาเนีย 3–1 ประเทศเช็กเกีย สโลวาน ลิเบอเรช 1–0 2–1
อันเดอร์เลชท์ ประเทศเบลเยียม 11–0 ประเทศลิทัวเนีย เอครานาส 5–0 6–0
สลาส์ค วรอคลาฟ ประเทศโปแลนด์ 1–6 ประเทศสวีเดน เฮลซิงบอร์ก 0–3 1–3
เชริฟฟ์ ติราสโพล ประเทศมอลโดวา 0–5 ประเทศโครเอเชีย ดินาโม ซาเกร็บ 0–1 0–4
เซลติก ประเทศสกอตแลนด์ 4–1 ประเทศฟินแลนด์ เฮลซิงกิ จาลคาปาลโลคลูบี 2–1 2–0
โมลด์ ประเทศนอร์เวย์ 1–2 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ บาเซิ่ล 0–1 1–1
ฮาโปเอล อีโรนี่ เคอร์ยัต ชโมน่า ประเทศอิสราเอล 6–2 ประเทศอาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชี่ บากู 4–0 2–2
เออีแอล ลิมาสโซล ประเทศไซปรัส 2–0 ประเทศเซอร์เบีย ปาร์ติซาน เบลเกรด 1–0 1–0
เส้นทางลีก
เฟเนร์บาห์เช่ ประเทศตุรกี 5–2 ประเทศโรมาเนีย วาสลุย 1–1 4–1
มาเธอร์เวลล์ ประเทศสกอตแลนด์ 0–5 ประเทศกรีซ พานาธิไนกอส 0–2 0–3
โคเปนเฮเก้น ประเทศเดนมาร์ก 3–2 ประเทศเบลเยียม คลับ บรูซ 0–0 3–2
ดินาโม เคียฟ ประเทศยูเครน 3–1 ประเทศเนเธอร์แลนด์ เฟเยนูร์ด 2–1 1–0

รอบเพลย์-ออฟ

[แก้]

รอบเพลย์ออฟนี้ จะแบ่งเป็น 2 เส้นทาง คือ เส้นทางแชมเปียนส์ (ทีมที่ชนะจากรอบที่แล้ว) และ เส้นทางลีก (ทีมที่ได้คัดเลือกมาจากการแข่งขันลีกภายในประเทศ) โดยผู้ชนะ จะได้เข้ารอบต่อ ส่วนผู้แพ้ จะไปลงเล่นใน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2012-13 รอบแบ่งกลุ่ม นัดแรกแข่งขันกันในวันที่ 21 และ 22 สิงหาคม และนัดที่สอง ในวันที่ 28 และ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เส้นทางแชมเปี้ยนส์
บาเซิ่ล ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ 1–2 ประเทศโรมาเนีย คลูจ์ 0–1 1–3
เฮลซิงบอร์ก ประเทศสวีเดน 0–4 ประเทศสกอตแลนด์ เซลติก 0–2 0–2
บาเต้ บอริซอฟ ประเทศเบลารุส 3–1 ประเทศอิสราเอล ฮาโปเอล อีโรนี่ เคอร์ยัต ชโมน่า 2–0 1–1
เออีแอล ลิมาสโซล ประเทศไซปรัส 2–3 ประเทศเบลเยียม อันเดอร์เลชท์ 2–1 0–2
ดินาโม ซาเกร็บ ประเทศโครเอเชีย 3–1 ประเทศสโลวีเนีย มาริบอร์ 2–1 1–0
เส้นทางลีก
บราก้า ประเทศโปรตุเกส 2–2 บราก้า ชนะจุดโทษ 5-4 ประเทศอิตาลี อูดิเนเซ่ 1–1 1–1
สปาร์ตัก มอสโก ประเทศรัสเซีย 3–2 ประเทศตุรกี เฟเนร์บาห์เช่ 2–1 1–1
มาลาก้า ประเทศสเปน 2–0 ประเทศกรีซ พานาธิไนกอส 2–0 0–0
โบรุสซีอาเมินเชินกลัทบัค ประเทศเยอรมนี 3–4 ประเทศยูเครน ดินาโม เคียฟ 1–3 2–1
ลีลล์ ประเทศฝรั่งเศส 2–1 ประเทศเดนมาร์ก โคเปนเฮเก้น 0–1 2–0

รอบแบ่งกลุ่ม

[แก้]

32 ทีมที่จะเล่นในรอบแบ่งกลุ่ม โดยจะมี 10 ทีมที่เข้ามาจากรอบเพลย์ออฟ และอีก 22 ทีมที่เข้ารอบโดยอัตโนมัติ

โดย 32 ทีมนี้จะถูกจัดใน 8 กลุ่ม กลุ่มละ 4 ทีม ซึ่งแชมป์ของกลุ่มและอันดับที่ 2 ของกลุ่มจะเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย ส่วนอันดับที่ 3 จะได้เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2012-13 รอบแบ่งกลุ่ม

ความหมายของสัญลักษณ์สี
แชมป์กลุ่มและทีมอันดับที่ 2 ของกลุ่ม จะได้ผ่านเข้าไปเล่นในรอบ 16 ทีมสุดท้าย
ทีมอันดับที่ 3 จะได้ไปเล่น ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2012-13 รอบ 32 ทีมสุดท้าย
ทีมตกรอบจากการแข่งขันระดับสโมสรยุโรป

กลุ่ม A

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศฝรั่งเศส ปารีส แซงต์-แชร์กแมง 6 5 0 1 14 3 +11 15
ประเทศโปรตุเกส ปอร์โต้ 6 4 1 1 10 4 +6 13
ประเทศยูเครน ดินาโม เคียฟ 6 1 2 3 6 10 −4 5
ประเทศโครเอเชีย ดินาโม ซาเกร็บ 6 0 1 5 1 14 −13 1
  DZ DK PSG POR
ดินาโม ซาเกร็บ 1–1 0–2 0–2
ดินาโม เคียฟ 2–0 0–2 0–0
ปารีส แซงต์-แชร์กแมง 4–0 4–1 2–1
ปอร์โต้ 3–0 3–2 1–0

กลุ่ม B

[แก้]

กลุ่ม C

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศสเปน มาลาก้า 6 3 3 0 12 5 +7 12
ประเทศอิตาลี เอซี มิลาน 6 2 2 2 7 6 +1 8
ประเทศรัสเซีย เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก 6 2 2 2 6 9 −3 7
ประเทศเบลเยียม อันเดอร์เลชท์ 6 1 2 3 4 9 −5 5
  AND MGA MLN ZNT
อันเดอร์เลชท์ 0–3 1–3 1–0
มาลาก้า 2–2 1–0 3–0
เอซี มิลาน 0–0 1–1 0–1
เซนิต เซนต์ ปีเตอร์สเบิร์ก 1–0 2–2 2–3

กลุ่ม D

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 6 4 2 0 11 5 +6 14
ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 6 3 2 1 15 9 +6 11
ประเทศเนเธอร์แลนด์ อาแจ็กซ์ อัมสเตอร์ดัม 6 1 1 4 8 16 −8 4
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 6 0 3 3 7 11 −4 3
  AJX DOR MC RM
อาแจ็กซ์ อัมสเตอร์ดัม 1–4 3–1 1–4
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 1–0 1–0 2–1
แมนเชสเตอร์ซิตี 2–2 1–1 1–1
เรอัลมาดริด 4–1 2–2 3–2

กลุ่ม E

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศอิตาลี ยูเวนตุส 6 3 3 0 12 4 +8 12
ประเทศยูเครน ชัคเตอร์ โดเนทส์ค 6 3 1 2 12 8 +4 10
ประเทศอังกฤษ เชลซี 6 3 1 2 16 10 +6 10
ประเทศเดนมาร์ก นอร์ดเยลลันด์ 6 0 1 5 4 22 −18 1
  CHL JUV NOR SD
เชลซี 2–2 6–1 3–2
ยูเวนตุส 3–0 4–0 1–1
นอร์ดเยลลันด์ 0–4 1–1 2–5
ชัคเตอร์ โดเนทส์ค 2–1 0–1 2–0

กลุ่ม F

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 6 4 1 1 15 7 +8 13
ประเทศสเปน บาเลนเซีย 6 4 1 1 12 5 +7 13
ประเทศเบลารุส บาเต้ บอริซอฟ 6 2 0 4 9 15 −6 6
ประเทศฝรั่งเศส ลีลล์ 6 1 0 5 4 13 −9 3
  BTE BM LIL VAL
บาเต้ บอริซอฟ 3–1 0–2 0–3
บาเยิร์นมิวนิก 4–1 6–1 2–1
ลีลล์ 1–3 0–1 0–1
บาเลนเซีย 4–2 1–1 2–0

กลุ่ม G

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 6 4 1 1 11 5 +6 13
ประเทศสกอตแลนด์ กลาสโกว์ เซลติก 6 3 1 2 9 8 +1 10
ประเทศโปรตุเกส เบนฟิก้า 6 2 2 2 5 5 0 8
ประเทศรัสเซีย สปาร์ตัก มอสโก 6 1 0 5 7 14 −7 3
  BAR BEN CEL SM
บาร์เซโลนา 0–0 2–1 3–2
เบนฟิก้า 0–2 2–1 2–0
กลาสโกว์ เซลติก 2–1 0–0 2–1
สปาร์ตัก มอสโก 0–3 2–1 2–3

กลุ่ม H

[แก้]
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 6 4 0 2 9 6 +3 12
ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร 6 3 1 2 7 6 +1 10
ประเทศโรมาเนีย ซีเอฟอาร์ คลูช 6 3 1 2 9 7 +2 10
ประเทศโปรตุเกส บราก้า 6 1 0 5 7 13 −6 3
  BRA CFR GAL MU
บราก้า 0–2 1–2 1–3
ซีเอฟอาร์ คลูช 3–1 1–3 1–2
กาลาทาซาไร 0–2 1–1 1–0
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 3–2 0–1 1–0

รอบน็อกเอาต์

[แก้]

ในรอบแพ้คัดออก หรือรอบน็อกเอาต์ แต่ละทีมจะเล่น 2 นัด โดยแบ่งเป็นเหย้าและเยือน ส่วนนัดชิงชนะเลิศจะเล่นเพียงนัดเดียว ในการจับสลากแบ่งสายของรอบ 16 ทีมสุดท้าย จะนำทีมอันดับที่ 1 ของแต่ละกลุ่ม มาพบกับทีมอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่ม โดยทีมอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่มนั้นจะได้เล่นเป็นเจ้าบ้านก่อน ส่วนรอบ 8 ทีมสุดท้ายจะไม่มีการจับสลากแบ่งสาย แต่จะเป็นการเข้ารอบมาพบกันเอง

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

[แก้]
ความหมายของสี
แชมป์กลุ่ม
รองแชมป์กลุ่ม
กลุ่ม แชมป์กลุ่ม รองแชมป์กลุ่ม
A ประเทศฝรั่งเศส ปารีส แซงต์-แชร์กแมง ประเทศโปรตุเกส ปอร์โต้
B ประเทศเยอรมนี ชัลเคอ 04 ประเทศอังกฤษ อาร์เซนอล
C ประเทศสเปน มาลาก้า ประเทศอิตาลี เอซี มิลาน
D ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ประเทศสเปน เรอัลมาดริด
E ประเทศอิตาลี ยูเวนตุส ประเทศยูเครน ชัคห์ตาร์ โดเนตสค์
F ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก ประเทศสเปน บาเลนเซีย
G ประเทศสเปน บาร์เซโลนา ประเทศสกอตแลนด์ เซลติก
H ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร

รอบ 16 ทีมสุดท้าย

[แก้]
  • รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 12, 13, 19 และ 20 กุมภาพันธ์ 2013
  • รอบ 16 ทีมสุดท้าย นัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 5, 6, 12 และ 13 มีนาคม 2013
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
กาลาทาซาไร ประเทศตุรกี 4–3 ประเทศเยอรมนี ชัลเคอ 04 1–1 3–2
เซลติก ประเทศสกอตแลนด์ 0–5 ประเทศอิตาลี ยูเวนตุส 0–3 0–2
อาร์เซนอล ประเทศอังกฤษ 3–3 (ag) ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก 1–3 2–0
ชัคห์ตาร์ โดเนตสค์ ประเทศยูเครน 2–5 ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 2–2 0–3
เอซี มิลาน ประเทศอิตาลี 2–4 ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 2–0 0–4
เรอัลมาดริด ประเทศสเปน 3–2 ประเทศอังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1–1 2–1
บาเลนเซีย ประเทศสเปน 2–3 ประเทศฝรั่งเศส ปารีส แซงต์-แชร์กแมง 1–2 1–1
ปอร์โต้ ประเทศโปรตุเกส 1–2 ประเทศสเปน มาลาก้า 1–0 0–2

รอบ 8 ทีมสุดท้าย

[แก้]

มีการจับสลากในวันที่ 15 มีนาคม ค.ศ. 2013 รอบ 8 ทีมสุดท้าย นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 2 และ 3 เมษายน ค.ศ. 2013 , และนัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 9 และ 10 เมษายน 2013

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
มาลากา ประเทศสเปน 2–3 ประเทศเยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 0–0 2–3
เรอัลมาดริด ประเทศสเปน 5–3 ประเทศตุรกี กาลาทาซาไร 3–0 2–3
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ประเทศฝรั่งเศส 3–3 (ag) ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 2–2 1–1
บาเยิร์นมิวนิก ประเทศเยอรมนี 4–0 ประเทศอิตาลี ยูเวนตุส 2–0 2–0

รอบรองชนะเลิศ

[แก้]

การจับสลากประกบคู่รอบรองชนะเลิศมีขึ้นในวันที่ 12 เมษายน ค.ศ. 2013. รอบรองชนะเลิศ นัดแรก จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 23 และ 24 เมษายน 2013 , และนัดที่ 2 จะลงทำการแข่งขันระหว่างวันที่ 30 เมษายน และ 1 พฤษภาคม 2013.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง   นัดแรก     นัดที่สอง  
บาเยิร์นมิวนิก ประเทศเยอรมนี 7–0 ประเทศสเปน บาร์เซโลนา 4–0 3–0
โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ประเทศเยอรมนี 4–3 ประเทศสเปน เรอัลมาดริด 4–1 0–2

รอบชิงชนะเลิศ

[แก้]

สถิติ

[แก้]

สถิติการทำประตู และ สถิติการจ่ายบอล (นับตั้งแต่รอบคัดเลือก และ รอบเพลย์ออฟ)

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Wembley chosen to host 2013 Champions League final". BBC Sport. 16 June 2011. สืบค้นเมื่อ 29 April 2020.
  2. "Wembley Stadium to host 2013 Uefa Champions League final as FA celebrates 150th anniversary". The Telegraph. 16 June 2011. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 July 2011. สืบค้นเมื่อ 16 June 2011.
  3. "UEFA Country Ranking 2011". Bert Kassies.
  4. "Qualification for European Cup Football 2012/2013". Bert Kassies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-10. สืบค้นเมื่อ 2012-04-26.
  5. "Europe bid is doomed to fall short". Glasgow Evening Times. 4 April 2012.
  6. "UEFA circular #18 on 2012-13 calendar and access list". UEFA. RFEF. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-20. สืบค้นเมื่อ 2012-05-28.
  7. "UEFA Team Ranking 2012". Bert Kassies.
  8. "Seeding in the Champions League 2012/2013". Bert Kassies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-12-20. สืบค้นเมื่อ 2012-08-10.
  9. "Player statistics – Goalscorers". UEFA. สืบค้นเมื่อ 3 April 2012.
  10. "Player statistics – Assists". UEFA. สืบค้นเมื่อ 3 April 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]