ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2021–22
สตาดเดอฟร็องส์ ในแซ็ง-เดอนี สนามแข่งขันในนัดชิงชนะเลิศ
รายละเอียดการแข่งขัน
วันที่รอบคัดเลือก:
22 มิถุนายน – 25 สิงหาคม พ.ศ. 2564
การแข่งขันหลัก:
14 กันยายน พ.ศ. 2564 – 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2565
ทีมรอบแบ่งกลุ่ม: 32
ทั้งหมด: 80 (จาก 54 สมาคม)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศสเปน เรอัลมาดริด (สมัยที่ 14)
รองชนะเลิศอังกฤษ ลิเวอร์พูล
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน125
จำนวนประตู380 (3.04 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม4,402,255 (35,218 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดฝรั่งเศส การีม แบนเซมา (เรอัลมาดริด, 15 ประตู)

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22 เป็นการแข่งขันฟุตบอลสโมสรยุโรปถ้วยใหญ่ที่สุด จัดขึ้นโดยยูฟ่า โดยฤดูกาลนี้เป็นฤดูกาลที่ 67 และเป็นฤดูกาลที่ 30 ตั้งแต่มีการเปลี่ยนชื่อจากยูโรเปียนแชมเปียนคลับส์คัพ เป็นยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก

นัดชิงชนะเลิศประจำฤดูกาลนี้ มีกำหนดแข่งขันที่ สตาดเดอฟร็องส์ ใน แซ็ง-เดอนี, ประเทศฝรั่งเศส.[1] เดิมทีมีกำหนดที่จะลงเล่นที่ อัลลีอันทซ์อาเรนา ใน มิวนิก ประเทศเยอรมนี. อย่างไรก็ตาม, เนื่องจากการเลื่อนและการย้ายที่ตั้งของ นัดชิงชนะเลิศ ปี ค.ศ. 2020, เจ้าภาพสุดท้ายถูกเลื่อนกลับไปหนึ่งปี, โดยที่เซนต์ปีเตอร์สเบิร์กกำหนดให้เป็นเจ้าภาพ นัดชิงชนะเลิศปี ค.ศ. 2022.[2] เนื่องจาก การรุกรานยูเครนของรัสเซีย, นัดชิงชนะเลิศเลยถูกย้ายไปที่ แซ็ง-เดอนี.[1]ทีมที่ชนะเลิศของยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22 จะได้รับสิทธิ์การแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2022–23 รอบแบ่งกลุ่ม โดยอัตโนมัติ และนอกจากนี้ยังได้รับสิทธิ์ในการลงเล่นพบกับทีมชนะเลิศของยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2021–22 ในยูฟ่าซูเปอร์คัพ 2022.

การคัดเลือกสโมสร[แก้]

80 สโมสรจาก 54 ประเทศ ของสมาชิกยูฟ่าจำนวน 55 ประเทศ จะได้เข้าร่วมการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์,Note LIE[›] ซึ่งไม่ได้จัดการแข่งขันลีก). โดยจะจัดอันดับแต่ละประเทศสำหรับจำนวนของสโมสรที่จะได้เข้าร่วมการแข่งขัน ดังนี้:[3]

  • สมาคมอันดับที่ 1–4 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 4 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 5–6 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 3 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 7–15 จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 2 สโมสร
  • สมาคมอันดับที่ 16–55 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์)Note LIE[›] จะได้สโมสรเข้าร่วมการแข่งขัน 1 สโมสร
  • สโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2020–21 และ ยูฟ่ายูโรปาลีก ฤดูกาล 2020–21 จะได้รับสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขันหากไม่ได้สิทธิ์สำหรับยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22 ผ่านลีกในประเทศของพวกเขา. อย่างไรก็ตาม, แชมป์เก่ายูโรปาลีกจะได้สิทธิ์ผ่านลีกภายในประเทศของพวกเขา, หมายความว่าหนึ่งในสองรายการเพิ่มเติมสำหรับแชมป์เก่าแชมเปียนส์ลีกไม่จำเป็นใดๆสำหรับฤดูกาลนี้.

การจัดอันดับตามสมาคมฟุตบอล[แก้]

สำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22 จะจัดอันดับอ้างอิงตามค่าสัมประสิทธิ์ของยูฟ่าในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่งคิดตามผลการแข่งขันฟุตบอลระดับทวีปตั้งแต่ฤดูกาล 2015–16 ถึง 2019–20[4]

นอกจากการคิดจากค่าสัมประสิทธิ์แล้ว สมาคมของประเทศนั้นจะได้รับสิทธิ์ให้มีสโมสรเข้าแข่งขันเพิ่มในแชมเปียนส์ลีก ดังนี้:

  • (UCL) – สิทธิ์สำหรับสโมสรชนะเลิศแชมเปียนส์ลีก
  • (UEL) – สิทธิ์สำหรับสโมสรชนะเลิศยูโรปาลีก
อันดับตามสมาคมฟุตบอลสำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
1 สเปน สเปน 102.283 4 +1 (UEL)
2 อังกฤษ อังกฤษ 90.462
3 เยอรมนี เยอรมนี 74.784
4 อิตาลี อิตาลี 70.653
5 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 59.248 3
6 โปรตุเกส โปรตุเกส 49.449
7 รัสเซีย รัสเซีย 45.549 2
8 เบลเยียม เบลเยียม 37.900
9 ยูเครน ยูเครน 36.100
10 เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 35.750
11 ตุรกี ตุรกี 33.600
12 ออสเตรีย ออสเตรีย 32.925
13 เดนมาร์ก เดนมาร์ก 29.250
14 สกอตแลนด์ สกอตแลนด์ 27.875
15 เช็กเกีย สาธารณรัฐเช็ก 27.300
16 ไซปรัส ไซปรัส 26.750 1
17 สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 26.400
18 กรีซ กรีซ 26.300
19 เซอร์เบีย เซอร์เบีย 25.500
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
20 โครเอเชีย โครเอเชีย 24.875 1
21 สวีเดน สวีเดน 22.750
22 นอร์เวย์ นอร์เวย์ 21.750
23 อิสราเอล อิสราเอล 19.625
24 คาซัคสถาน คาซัคสถาน 19.250
25 เบลารุส เบลารุส 18.875
26 อาเซอร์ไบจาน อาเซอร์ไบจาน 18.750
27 บัลแกเรีย บัลแกเรีย 17.375
28 โรมาเนีย โรมาเนีย 16.700
29 โปแลนด์ โปแลนด์ 16.625
30 สโลวาเกีย สโลวาเกีย 15.875
31 ลีชเทินชไตน์ ลิกเตนสไตน์ 13.500 0 Note LIE[›]
32 สโลวีเนีย สโลวีเนีย 13.000 1
33 ฮังการี ฮังการี 12.875
34 ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก 8.000
35 ลิทัวเนีย ลิทัวเนีย 7.875
36 อาร์มีเนีย อาร์มีเนีย 7.625
37 ลัตเวีย ลัตเวีย 7.625
อันดับที่ สมาคม ค่าสัมประสิทธิ์ สโมสร หมายเหตุ
38 แอลเบเนีย แอลเบเนีย 7.375 1
39 มาซิโดเนียเหนือ มาซิโดเนีย 7.375
40 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา 6.875
41 มอลโดวา มอลโดวา 6.750
42 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ สาธารณรัฐไอร์แลนด์ 6.700
43 ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ 6.500
44 ประเทศจอร์เจีย จอร์เจีย 5.750
45 มอลตา มอลตา 5.750
46 ไอซ์แลนด์ ไอซ์แลนด์ 5.375
47 เวลส์ เวลส์ 5.000
48 ไอร์แลนด์เหนือ ไอร์แลนด์เหนือ 4.875
49 ยิบรอลตาร์ ยิบรอลตาร์ 4.750
50 มอนเตเนโกร มอนเตเนโกร 4.375
51 เอสโตเนีย เอสโตเนีย 4.375
52 คอซอวอ คอซอวอ 4.000
53 หมู่เกาะแฟโร หมู่เกาะแฟโร 3.750
54 อันดอร์รา อันดอร์รา 2.831
55 ซานมารีโน ซานมารีโน 0.666

การจัดการแข่งขัน[แก้]

ตารางด้านล่างนี้เป็นการจัดการแข่งขันของฤดูกาลนี้.[5] ในฐานะแชมป์เก่าแชมเปียนส์ลีก, เชลซี, ซึ่งได้รับการันตีได้สิทธิ์ในแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม, ผ่านเข้ารอบในลีกภายในประเทศแล้ว (ในฐานะทีมอันดับที่สี่ใน พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2020–21), การเปลี่ยนแปลงด้านล่างนี้สู่ลำดับการเข้ารอบที่จะจัดขึ้น:

  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 11 (ตุรกี) ผ่านเข้าสู่รอบแบ่งกลุ่มแทนที่รอบเพลย์ออฟ.
  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 13 (เดนมาร์ก) ผ่านเข้าสู่รอบเพลย์ออฟแทนที่รอบคัดเลือกรอบสาม.
  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 15 (เช็กเกีย) ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสามแทนที่รอบคัดเลือกรอบสอง.
  • แชมเปียนส์ของสมาคมลำดับที่ 18 (กรีซ) และ 19 (เซอร์เบีย) ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสองแทนที่รอบคัดเลือกรอบแรก.
ลำดับการเข้ารอบในการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22
สโมสรที่เข้ารอบนี้ สโมสรจากรอบก่อนหน้า
รอบคัดเลือกก่อนรอบแรก
(4 สโมสร)
  • 4 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 52–55
รอบคัดเลือกรอบแรก
(32 สโมสร)
  • 31 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 20–51 (ยกเว้นลิกเตนสไตน์)Note LIE[›]
  • 1 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกก่อนรอบแรก
รอบคัดเลือกรอบสอง
(26 สโมสร)
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(20 สโมสร)
  • 4 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 16–19
  • 16 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบแรก
ตัวแทนจากลีก
(6 สโมสร)
  • 6 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 10–15
รอบคัดเลือกรอบสาม
(20 สโมสร)
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(12 สโมสร)
  • 2 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 14–15
  • 10 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสอง (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
ตัวแทนจากลีก
(8 สโมสร)
  • 3 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 7–9
  • 2 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมอันดับที่ 5–6
  • 3 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสอง (ตัวแทนจากลีก)
รอบเพลย์ออฟ
(12 สโมสร)
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
(8 สโมสร)
  • 2 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 12–13
  • 6 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
ตัวแทนจากลีก
(4 สโมสร)
  • 4 สโมสรที่ชนะในรอบคัดเลือกรอบสาม (ตัวแทนจากลีก)
รอบแบ่งกลุ่ม
(32 สโมสร)
  • แชมป์เก่ายูฟ่ายูโรปาลีก
  • 11 สโมสรชนะเลิศจากสมาคมอันดับที่ 1–11
  • 6 สโมสรอันดับที่ 2 จากสมาคมอันดับที่ 1–6
  • 4 สโมสรอันดับที่ 3 จากสมาคมอันดับที่ 1–4
  • 4 สโมสรอันดับที่ 4 จากสมาคมอันดับที่ 1–4
  • 4 สโมสรที่ชนะในรอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก)
  • 2 สโมสรที่ชนะในรอบเพลย์ออฟ (ตัวแทนจากลีก)
รอบแพ้คัดออก
(16 สโมสร)
  • 8 สโมสรชนะเลิศในรอบแบ่งกลุ่ม
  • 8 สโมสรอันดับที่ 2 ในรอบแบ่งกลุ่ม

สโมสร[แก้]

อันดับในลีกซึ่งเป็นอันดับในฤดูกาลก่อนหน้าจะแสดงในวงเล็บ (TH: สโมสรชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก; EL: สโมสรชนะเลิศยูฟ่ายูโรปาลีก).

ป้ายกำกับในวงเล็บแสดงให้เห็นว่าแต่ละทีมมีคุณสมบัติสำหรับพื้นที่ของรอบที่เริ่มต้น:

  • TH: แชมป์เก่ายูฟ่าแชมเปียนส์ลีก
  • EL: แชมป์เก่ายูฟ่ายูโรปาลีก
  • 1st, 2nd, 3rd, 4th, etc.: อันดับในลีกของฤดูกาลที่ผ่านมา
  • Abd-: อันดับในลีกของฤดูกาลที่ถูกระงับการแข่งขันเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 ในทวีปยุโรป ตามที่กำหนดโดยสมาคมของแต่ละชาติ; ทีมทั้งหมดจะต้องได้รับการอนุมัติจากยูฟ่าตามแนวทางการเข้าร่วมการแข่งขันในระดับยุโรป เพื่อตอบสนองต่อการแพร่ระบาดโควิด-19.[6]

รอบคัดเลือกรอบสอง, รอบคัดเลือกรอบสามและรอบเพลย์ออฟ แบ่งออกเป็น ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก (CH) และตัวแทนจากลีก (LP).

CC: 2021 ค่าสัมประสิทธิ์สโมสรยูฟ่า.[7]

สโมสรที่ได้รับสิทธิ์เข้าร่วมแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22 (เรียงตามรอบที่เข้าแข่งขัน)
รอบที่เข้าร่วม ทีม
รอบแบ่งกลุ่ม อังกฤษ เชลซี (อันดับที่ 4)TH สเปน บิยาร์เรอัล (อันดับที่ 7)EL สเปน อัตเลติโกเดมาดริด (อันดับที่ 1) สเปน เรอัลมาดริด (อันดับที่ 2)
สเปน บาร์เซโลนา (อันดับที่ 3) สเปน เซบิยา (อันดับที่ 4) อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี (อันดับที่ 1) อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (อันดับที่ 2)
อังกฤษ ลิเวอร์พูล (อันดับที่ 3) เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก (อันดับที่ 1) เยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช (อันดับที่ 2) เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ (อันดับที่ 3)
เยอรมนี เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค (อันดับที่ 4) อิตาลี อินเตอร์ มิลาน (อันดับที่ 1) อิตาลี มิลาน (อันดับที่ 2) อิตาลี อาตาลันตา (อันดับที่ 3)
อิตาลี ยูเวนตุส (อันดับที่ 4) ฝรั่งเศส ลีล (อันดับที่ 1) ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง (อันดับที่ 2) โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน (อันดับที่ 1)
โปรตุเกส โปร์ตู (อันดับที่ 2) รัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก (อันดับที่ 1) เบลเยียม กลึบบรึคเคอ (อันดับที่ 1) ยูเครน ดือนามอกือยิว (อันดับที่ 1)
เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ (อันดับที่ 1) ตุรกี เบชิกทัช (อันดับที่ 1)
รอบเพลย์ออฟ CH ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค (อันดับที่ 1) เดนมาร์ก บรอนด์บี (อันดับที่ 1)
รอบคัดเลือกรอบสาม CH สกอตแลนด์ เรนเจอส์ (อันดับที่ 1) เช็กเกีย สลาเวียปราฮา (อันดับที่ 1)
LP ฝรั่งเศส มอนาโก (อันดับที่ 3) โปรตุเกส ไบฟีกา (อันดับที่ 3) รัสเซีย สปาร์ตัคมอสโก (อันดับที่ 2) เบลเยียม แค็งก์ (อันดับที่ 2)
ยูเครน ชัคตาร์ดอแนตสก์ (อันดับที่ 2)
รอบคัดเลือกรอบสอง CH ไซปรัส Omonia (1st) สวิตเซอร์แลนด์ Young Boys (1st) กรีซ Olympiacos (1st) เซอร์เบีย Red Star Belgrade (1st)
LP เนเธอร์แลนด์ PSV Eindhoven (2nd) ตุรกี Galatasaray (2nd) ออสเตรีย Rapid Wien (2nd) เดนมาร์ก Midtjylland (2nd)
สกอตแลนด์ Celtic (2nd) เช็กเกีย Sparta Prague (2nd)
รอบคัดเลือกรอบแรก โครเอเชีย Dinamo Zagreb (1st) สวีเดน Malmö FF (1st) นอร์เวย์ Bodø/Glimt (1st) อิสราเอล Maccabi Haifa (1st)
คาซัคสถาน Kairat (1st) เบลารุส Shakhtyor Soligorsk (1st) อาเซอร์ไบจาน Neftçi Baku (1st) บัลแกเรีย Ludogorets Razgrad (1st)
โรมาเนีย CFR Cluj (1st) โปแลนด์ Legia Warsaw (1st) สโลวาเกีย Slovan Bratislava (1st) สโลวีเนีย Mura (1st)
ฮังการี Ferencváros (1st) ลักเซมเบิร์ก Fola Esch (1st) ลิทัวเนีย Žalgiris (1st) อาร์มีเนีย Alashkert (1st)
ลัตเวีย Riga (1st) แอลเบเนีย Teuta (1st) มาซิโดเนียเหนือ Shkëndija (1st) บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา Borac Banja Luka (1st)
มอลโดวา Sheriff Tiraspol (1st) สาธารณรัฐไอร์แลนด์ Shamrock Rovers (1st) ฟินแลนด์ HJK (1st) ประเทศจอร์เจีย Dinamo Tbilisi (1st)
มอลตา Hibernians (Abd-2nd)[Note MLT] ไอซ์แลนด์ Valur (Abd-1st)[Note ISL] เวลส์ Connah's Quay Nomads (1st) ไอร์แลนด์เหนือ Linfield (1st)
ยิบรอลตาร์ Lincoln Red Imps (1st) มอนเตเนโกร Budućnost Podgorica (1st) เอสโตเนีย Flora (1st)
รอบก่อนรอบแรก คอซอวอ Prishtina (1st) หมู่เกาะแฟโร HB (1st) อันดอร์รา Inter Club d'Escaldes (1st) ซานมารีโน Folgore (1st)

หมายเหตุ

  1. ^ Iceland (ISL): The 2020 Úrvalsdeild was abandoned due to the COVID-19 pandemic in Iceland. The top team of the league at the time of the abandonment based on the average number of points per matches played for each team, Valur (who were declared champions), were selected to play in the 2021–22 UEFA Champions League by the Football Association of Iceland.[8]
  2. ^ Liechtenstein (LIE): The seven teams affiliated with the Liechtenstein Football Association (LFV) all play in the Swiss football league system. The only competition organised by the LFV is the Liechtenstein Football Cup – the winners of which qualify for the UEFA Europa Conference League.
  3. ^ Malta (MLT): The 2020–21 Maltese Premier League was abandoned due to the COVID-19 pandemic in Malta. The top team of the league at the time of the abandonment, Ħamrun Spartans, were declared champions but were subsequently banned from competing in European competitions for a match fixing case dating back to 2013. As a result, the second-placed team, Hibernians, were selected to play in the 2021–22 UEFA Champions League by the Malta Football Association.[9][10][11]

วันแข่งขันและวันจับสลาก[แก้]

การจับสลากทั้งหมด ยกเว้นรอบแบ่งกลุ่ม เริ่มต้นที่เวลา 12:00 CEST/CET, และจัดขึ้นที่สำนักงานใหญ่ของยูฟ่า ในเมืองนียง ประเทศสวิตเซอร์แลนด์. การจับสลากรอบแบ่งกลุ่มจะเริ่มต้นที่เวลา 18:00 CEST, ที่สนามแข่งขันที่ได้รับการยืนยัน.

วันแข่งขันสำหรับการแข่งขัน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2021–22
การแข่งขัน รอบ วันจับสลาก นัดแรก นัดที่สอง
รอบคัดเลือก รอบคัดเลือกก่อนรอบแรก 8 มิถุนายน 2564 22 มิถุนายน 2564 (รอบรองชนะเลิศ) 25 มิถุนายน 2564 (รอบชิงชนะเลิศ)
รอบคัดเลือกรอบแรก 15 มิถุนายน 2564 6–7 กรกฎาคม 2564 13–14 กรกฎาคม 2564
รอบคัดเลือกรอบสอง 16 มิถุนายน 2564 20–21 กรกฎาคม 2564 27–28 กรกฎาคม 2564
รอบคัดเลือกรอบสาม 19 กรกฎาคม 2564 3–4 สิงหาคม 2564 10 สิงหาคม 2564
รอบเพลย์ออฟ 2 สิงหาคม 2564 17–18 สิงหาคม 2564 24–25 สิงหาคม 2564
รอบแบ่งกลุ่ม นัดที่ 1 26 สิงหาคม 2564 14–15 กันยายน 2564
นัดที่ 2 28–29 กันยายน 2564
นัดที่ 3 19–20 ตุลาคม 2564
นัดที่ 4 2–3 พฤศจิกายน 2564
นัดที่ 5 23–24 พฤศจิกายน 2564
นัดที่ 6 7–8 ธันวาคม 2564
รอบแพ้คัดออก รอบ 16 ทีม 13 ธันวาคม 2564 15–16 และ 22–23 กุมภาพันธ์ 2565 8–9 และ 15–16 มีนาคม 2565
รอบ 8 ทีม 18 มีนาคม 2565 5–6 เมษายน 2565 12–13 เมษายน 2565
รอบรองชนะเลิศ 26–27 เมษายน 2565 3–4 พฤษภาคม 2565
รอบชิงชนะเลิศ 28 พฤษภาคม 2565 ที่ สตาดเดอฟร็องส์, แซ็งเดอนี

รอบคัดเลือก[แก้]

รอบคัดเลือกก่อนรอบแรก[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบเบื้องต้นได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2564, 12:00 CEST..[12] แต่ละแมตช์ในรอบเบื้องต้น, จะถูกแบ่งออกเป็นรอบรองชนะเลิศสองนัดจะลงเล่นในวันที่ 22 มิถุนายน และรอบชิงชนะเลิศเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ. 2021, ตามกำหนดเดิมจะต้องลงเล่นที่ กุนดาดาลูร์, ทอร์ชาฟน์ ในประเทศ หมู่เกาะแฟโร,[13] แต่ถูกย้ายเนื่องจากข้อจำกัดที่เกี่ยวข้องกับ การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศหมู่เกาะแฟโร.[14] แต่ละนัดจะถูกแทนที่การลงเล่นในประเทศ แอลเบเนีย, กับรอบรองชนะเลิศที่ เอลบาซัน อารีนา, เอลบาซัน และ นิกอ ดอวานา สเตเดียม, ดูร์เริส, และรอบชิงชนะเลิศที่ เอลบาซัน อารีนา.[15]

ผู้ชนะของรอบชิงชนะเลิศ, ปริชตินา, ผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบแรก. ผู้แพ้ของรอบรองชนะเลิศและรอบชิงชนะเลิศจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก รอบคัดเลือกรอบสอง.

ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
รอบรองชนะเลิศ
โฟลโกเร ซานมารีโน 0–2 คอซอวอ ปริชตินา
เอชบี ทอร์ชาฟน์ หมู่เกาะแฟโร 0–1 อันดอร์รา อินเตอร์ คลับ ดี'เอสคัลเดส
ทีมหนึ่ง  ผล  ทีมสอง
รอบชิงชนะเลิศ
ปริชตินา คอซอวอ 2–0 อันดอร์รา อินเตอร์ คลับ ดี'เอสคัลเดส

รอบคัดเลือกรอบแรก[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบแรกได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2564, 12:00 CEST.[16] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 6 และ 7 กรกฎาคม และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 13 และ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2021.

ผู้ชนะของแต่ละคู่จะได้ผ่านเข้าสู่ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก รอบคัดเลือกรอบสอง. ผู้แพ้จะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก รอบคัดเลือกรอบสอง.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ฟอลา แอ็ช ลักเซมเบิร์ก 2–7 ยิบรอลตาร์ ลินคอล์นเรดอิมป์ส 2–2 0–5
สโลวาน บราติสลาวา สโลวาเกีย 3–2[A] สาธารณรัฐไอร์แลนด์ แชมร็อกโรเวอส์ 2–0 1–2
มัลเมอ เอฟเอฟ สวีเดน 2–1 ลัตเวีย ริกา 1–0 1–1
โบโด/กลิมต์ นอร์เวย์ 2–5 โปแลนด์ แลเกีย วอร์ซอ 2–3 0–2
คอนนาห์ส ควูไอย์ โนแมดส์ เวลส์ 2–3 อาร์มีเนีย อลาชเคิร์ต 2–2 0–1
(ต่อเวลา)
เอชเจเค ฟินแลนด์ 7–1 มอนเตเนโกร บูดุชนอสต์พอดกอรีตซา 3–1 4–0
ซีเอฟอาร์ คลูช โรมาเนีย 4–3 บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา บอรัค บันยา ลูคา 3–1 1–2
(ต่อเวลา)
ชคืนดิยา มาซิโดเนียเหนือ 0–6 สโลวีเนีย มูรา 0–1 0–5
เตอูตา แอลเบเนีย 0–5 มอลโดวา เชริฟฟ์ ติรัสปอล 0–4 0–1
ดีนาโม ทบิลีซี ประเทศจอร์เจีย 2–4 อาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชีบากู 1–2 1–2
มัคคาบีไฮฟา อิสราเอล 1–3 คาซัคสถาน ไครัต 1–1 0–2
ลูโดโกเรตส์รัซกราด บัลแกเรีย 2–0 เบลารุส ชัคห์ตียอร์ ซอลีกอร์สค์ 1–0 1–0
แฟแร็นตส์วาโรช ฮังการี 6–1 คอซอวอ ปริชตินา 3–0 3–1
ชัลกิริส ลิทัวเนีย 5–2 ไอร์แลนด์เหนือ ลินฟีลด์ 3–1 2–1
ฟลอรา เอสโตเนีย 5–0 มอลตา ฮิเบอร์เนียนส์ 2–0 3–0
ดินามอซาเกร็บ โครเอเชีย 5–2 ไอซ์แลนด์ วาลูร์ 3–2 2–0

หมายเหตุ

  1. ผู้แพ้ได้รับสิทธิ์บายสู่ ยูโรปาคอนเฟอเรนซ์ลีก รอบคัดเลือกรอบสาม.

รอบคัดเลือกรอบสอง[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสองได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2564, 12:00 CEST.[17] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 20 และ 21 กรกฎาคม และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 27 และ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 2021.

ผู้ชนะของแต่ละคู่จะผ่านเข้าสู่รอบคัดเลือกรอบสามของเส้นทางของตนเอง. ผู้แพ้ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีกจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก รอบคัดเลือกรอบสาม, ในขณะที่ผู้แพ้ตัวแทนจากลีกจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก ตัวแทนจากลีก รอบคัดเลือกรอบสาม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
ดินามอซาเกร็บ โครเอเชีย 3–0 ไซปรัส โอโมเนีย 2–0 1–0
สโลวาน บราติสลาวา สโลวาเกีย 2–3 สวิตเซอร์แลนด์ ยัง บอยส์ 0–0 2–3
แลเกีย วอร์ซอ โปแลนด์ 3–1 เอสโตเนีย ฟลอรา 2–1 1–0
อลาชเคิร์ต อาร์มีเนีย 1–4 มอลโดวา เชริฟฟ์ ตีรัสปอล 0–1 1–3
โอลิมเบียโกส กรีซ 2–0 อาเซอร์ไบจาน เนฟต์ชีบากู 1–0 1–0
ไครัต คาซัคสถาน 2–6 เซอร์เบีย เรดสตาร์ เบลเกรด 2–1 0–5
ลินคอล์นเรดอิมป์ส ยิบรอลตาร์ 1–4 โรมาเนีย ซีเอฟอาร์ คลูช 1–2 0–2
มัลเมอ เอฟเอฟ สวีเดน 4–3 ฟินแลนด์ เอชเจเค 2–1 2–2
แฟแร็นตส์วาโรช ฮังการี 5–1 ลิทัวเนีย ชัลกิริส 2–0 3–1
มูรา สโลวีเนีย 1–3 บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์รัซกราด 0–0 1–3
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนจากลีก
ราพีท วีน ออสเตรีย 2–3 เช็กเกีย สปาร์ตา ปราก 2–1 0–2
เซลติก สกอตแลนด์ 2–3 เดนมาร์ก มีจือแลน 1–1 1–2
(ต่อเวลา)
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน เนเธอร์แลนด์ 7–2 ตุรกี กาลาทาซาไร 5–1 2–1

รอบคัดเลือกรอบสาม[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบคัดเลือกรอบสามได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2564, 12:00 CEST.[18] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 3 และ 4 สิงหาคม และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 10 สิงหาคม ค.ศ. 2021.

ผู้ชนะของแต่ละคู่จะผ่านเข้าสู่รอบเพลย์ออฟของเส้นทางของตนเอง. ผู้แพ้ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีกจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก รอบเพลย์ออฟ, ในขณะที่ผู้แพ้ตัวแทนจากลีกจะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก รอบแบ่งกลุ่ม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
ดินามอซาเกร็บ โครเอเชีย 2–1 โปแลนด์ แลเกีย วอร์ซอ 1–1 1–0
ซีเอฟอาร์ คลูช โรมาเนีย 2–4 สวิตเซอร์แลนด์ ยัง บอยส์ 1–1 1–3
โอลิมเบียโกส กรีซ 3–3
(ดวลลูกโทษ 1–4)
บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์รัซกราด 1–1 2–2
(ต่อเวลา)
เรดสตาร์ เบลเกรด เซอร์เบีย 1–2 มอลโดวา เชริฟฟ์ ตีรัสปอล 1–1 0–1
มัลเมอ เอฟเอฟ สวีเดน 4–2 สกอตแลนด์ เรนเจอส์ 2–1 2–1
แฟแร็นตส์วาโรช ฮังการี 2–1 เช็กเกีย สลาเวีย ปราฮา 2–0 0–1
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนจากลีก
เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน เนเธอร์แลนด์ 4–0 เดนมาร์ก มีจือแลน 3–0 1–0
สปาร์ตัคมอสโก รัสเซีย 0–4 โปรตุเกส ไบฟีกา 0–2 0–2
แค็งก์ เบลเยียม 2–4 ยูเครน ชัคตาร์ดอแนตสก์ 1–2 1–2
สปาร์ตา ปราก เช็กเกีย 1–5 ฝรั่งเศส มอนาโก 0–2 1–3

รอบเพลย์ออฟ[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบเพลย์ออฟได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564, 12:00 CEST.[19] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 17 และ 18 สิงหาคม และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 24 และ 25 สิงหาคม ค.ศ. 2021.

ผู้ชนะของแต่ละคู่จะผ่านเข้าสู่ รอบแบ่งกลุ่ม. ผู้แพ้จะถูกย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก รอบแบ่งกลุ่ม.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนที่ชนะเลิศจากลีก
เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค ออสเตรีย 4–2 เดนมาร์ก บรอนด์บี 2–1 2–1
ยัง บอยส์ สวิตเซอร์แลนด์ 6–4 ฮังการี แฟแร็นตส์วาโรช 3–2 3–2
มัลเมอ เอฟเอฟ สวีเดน 3–2 บัลแกเรีย ลูโดโกเรตส์รัซกราด 2–0 1–2
เชริฟฟ์ ตีรัสปอล มอลโดวา 3–0 โครเอเชีย ดินามอซาเกร็บ 3–0 0–0
ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
ตัวแทนจากลีก
มอนาโก ฝรั่งเศส 2–3 ยูเครน ชัคตาร์ดอแนตสก์ 0–1 2–2
(ต่อเวลา)
ไบฟีกา โปรตุเกส 2–1 เนเธอร์แลนด์ เปเอสเฟ ไอนด์โฮเฟิน 2–1 0–0

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบแบ่งกลุ่มจะจัดขึ้นในวันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2564, 18:00 CEST (19:00 TRT), ใน อิสตันบูล, ประเทศตุรกี.[20][21]

เชริฟฟ์ ตีรัสปอล ได้สร้างโอกาสการลงสนามของพวกเขาเป็นครั้งแรกในรอบแบ่งกลุ่ม. พวกเขาจะเป็นทีมแรกที่มาจากมอลโดวาที่เล่นในแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่ม.

กลุ่ม เอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ MCI PAR RBL BRU
1 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 6 4 0 2 18 10 +8 12 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–1 6–3 4–1
2 ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 6 3 2 1 13 8 +5 11 2–0 3–2 4–1
3 เยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช 6 2 1 3 15 14 +1 7 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 2–1 2–2 1–2
4 เบลเยียม กลึบบรึคเคอ 6 1 1 4 6 20 −14 4 1–5 1–1 0–5
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม บี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ LIV ATM POR MIL
1 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 6 6 0 0 17 6 +11 18 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–0 2–0 3–2
2 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 6 2 1 3 7 8 −1 7 2–3 0–0 0–1
3 โปรตุเกส โปร์ตู 6 1 2 3 4 11 −7 5 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–5 1–3 1–0
4 อิตาลี มิลาน 6 1 1 4 6 9 −3 4 1–2 1–2 1–1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม ซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ AJX SPO DOR BES
1 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 6 6 0 0 20 5 +15 18 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 4–2 4–0 2–0
2 โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน 6 3 0 3 14 12 +2 9[a] 1–5 3–1 4–0
3 เยอรมนี โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 6 3 0 3 10 11 −1 9[a] ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–3 1–0 5–0
4 ตุรกี เบชิกทัช 6 0 0 6 3 19 −16 0 1–2 1–4 1–2
แหล่งที่มา : ยูฟ่า
หมายเหตุ :
  1. 1.0 1.1 คะแนนเฮด-ทู-เฮด: สปอร์ติงลิสบอน 3, โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ 3. ผลต่างประตู เฮด-ทู-เฮด: สปอร์ติงลิสบอน +1, โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ –1.

กลุ่ม ดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ RMA INT SHE SHK
1 สเปน เรอัลมาดริด 6 5 0 1 14 3 +11 15 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–0 1–2 2–1
2 อิตาลี อินเตอร์ มิลาน 6 3 1 2 8 5 +3 10 0–1 3–1 2–0
3 มอลโดวา เชริฟฟ์ ตีรัสปอล 6 2 1 3 7 11 −4 7 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 0–3 1–3 2–0
4 ยูเครน ชัคตาร์ดอแนตสก์ 6 0 2 4 2 12 −10 2 0–5 0–0 1–1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม อี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ BAY BEN BAR DKV
1 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 6 6 0 0 22 3 +19 18 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 5–2 3–0 5–0
2 โปรตุเกส ไบฟีกา 6 2 2 2 7 9 −2 8 0–4 3–0 2–0
3 สเปน บาร์เซโลนา 6 2 1 3 2 9 −7 7 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 0–3 0–0 1–0
4 ยูเครน ดือนามอกือยิว 6 0 1 5 1 11 −10 1 1–2 0–0 0–1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม เอฟ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ MUN VIL ATA YB
1 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 6 3 2 1 11 8 +3 11 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–1 3–2 1–1
2 สเปน บิยาร์เรอัล 6 3 1 2 12 9 +3 10 0–2 2–2 2–0
3 อิตาลี อาตาลันตา 6 1 3 2 12 13 −1 6 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 2–2 2–3 1–0
4 สวิตเซอร์แลนด์ ยัง บอยส์ 6 1 2 3 7 12 −5 5 2–1 1–4 3–3
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม จี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ LOSC SAL SEV WOL
1 ฝรั่งเศส ลีล 6 3 2 1 7 4 +3 11 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–0 0–0 0–0
2 ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค 6 3 1 2 8 6 +2 10 2–1 1–0 3–1
3 สเปน เซบิยา 6 1 3 2 5 5 0 6 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 1–2 1–1 2–0
4 เยอรมนี เฟาเอ็ฟเอ็ล ว็อลฟส์บวร์ค 6 1 2 3 5 10 −5 5 1–3 2–1 1–1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

กลุ่ม เอช[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ JUV CHE ZEN MAL
1 อิตาลี ยูเวนตุส 6 5 0 1 10 6 +4 15 ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–0 4–2 1–0
2 อังกฤษ เชลซี 6 4 1 1 13 4 +9 13 4–0 1–0 4–0
3 รัสเซีย เซนิตเซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก 6 1 2 3 10 10 0 5 ย้ายไปสู่ ยูโรปาลีก 0–1 3–3 4–0
4 สวีเดน มัลเมอ เอฟเอฟ 6 0 1 5 1 14 −13 1 0–3 0–1 1–1
แหล่งที่มา : ยูฟ่า

รอบแพ้คัดออก[แก้]

สายการแข่งขัน[แก้]

 
รอบ 16 ทีมสุดท้ายรอบก่อนรองชนะเลิศรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
                      
 
 
 
 
โปรตุเกส ไบฟีกา213
 
 
 
เนเธอร์แลนด์ อายักซ์202
 
โปรตุเกส ไบฟีกา134
 
 
 
อังกฤษ ลิเวอร์พูล336
 
อิตาลี อินเตอร์ มิลาน011
 
 
 
อังกฤษ ลิเวอร์พูล202
 
อังกฤษ ลิเวอร์พูล235
 
 
 
สเปน บิยาร์เรอัล022
 
สเปน บิยาร์เรอัล134
 
 
 
อิตาลี ยูเวนตุส101
 
สเปน บิยาร์เรอัล112
 
 
 
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก011
 
ออสเตรีย เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค112
 
28 พฤษภาคม – แซ็ง-เดอนี
 
เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก178
 
อังกฤษ ลิเวอร์พูล0
 
 
 
สเปน เรอัลมาดริด1
 
โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน000
 
 
 
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี505
 
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี101
 
 
 
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด000
 
สเปน อัตเลติโกเดมาดริด112
 
 
 
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด101
 
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี415
 
 
 
สเปน เรอัลมาดริด
(ต่อเวลา)
336
 
อังกฤษ เชลซี224
 
 
 
ฝรั่งเศส ลีล011
 
อังกฤษ เชลซี134
 
 
 
สเปน เรอัลมาดริด
(ต่อเวลา)
325
 
ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง112
 
 
สเปน เรอัลมาดริด033
 

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

พิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับรอบ 16 ทีมสุดท้าย มีขึ้นในวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2564 (ค.ศ. 2021), ตามเดิมเป็น 12:00 CET.[22] การจับสลากครั้งนี้มีความผิดปกติหลายประการ: แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ถูกรวมเข้าไปอย่างผิดพลาดในการจับสลากสำหรับคู่ต่อสู้ของ บิยาร์เรอัล (ทั้งคู่เคยอยู่ใน กลุ่ม เอฟ), และต่อมาได้รับเลือก; จากนั้นหยิบลูกบอลลูกอื่นขึ้นมา, เป็น แมนเชสเตอร์ซิตี ถูกเลือกมาแทนที่. ในคู่ต่อมา, ลิเวอร์พูล ถูกรวมเข้าไปอย่างผิดพลาดในการจับสลากสำหรับคู่ต่อสู้ของ อัตเลติโกเดมาดริด (ทั้งคู่เคยอยู่ใน กลุ่ม บี), ในขณะที่แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดกลับถูกคัดออกไปอย่างไม่ถูกต้อง.[23] ต่อมาในวันนั้น, ยูฟ่าได้โมฆะผลการจับสลากเดิม เนื่องจาก "ปัญหาทางเทคนิค" กับการจับสลากด้วยคอมพิวเตอร์, และทำการจับสลากใหม่ทั้งหมดในเวลา 15:00 CET.[24] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 15, 16, 22 และ 23 กุมภาพันธ์, และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 8, 9, 15 และ 16 มีนาคม พ.ศ. 2565 (ค.ศ. 2022).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เร็ดบุลซัลทซ์บวร์ค ออสเตรีย 2–8 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 1–1 1–7
สปอร์ติงลิสบอน โปรตุเกส 0–5 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 0–5 0–0
ไบฟีกา โปรตุเกส 3–2 เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 2–2 1–0
เชลซี อังกฤษ 4–1 ฝรั่งเศส ลีล 2–0 2–1
อัตเลติโกเดมาดริด สเปน 2–1 อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1–1 1–0
บิยาร์เรอัล สเปน 4–1 อิตาลี ยูเวนตุส 1–1 3–0
อินเตอร์ มิลาน อิตาลี 1–2 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 0–2 1–0
ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง ฝรั่งเศส 2–3 สเปน เรอัลมาดริด 1–0 1–3

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

พิธีการจับสลากประกบคู่สำหรับรอบก่อนรองชนะเลิศ จะจัดขึ้นในวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2565 (ค.ศ. 2022), 12:00 CET.[25] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 5 และ 6 เมษายน, และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 12 และ 13 เมษายน พ.ศ. 2565 (ค.ศ. 2022).

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
เชลซี อังกฤษ 4–5 สเปน เรอัลมาดริด 1–3 3–2
(ต่อเวลา)
แมนเชสเตอร์ซิตี อังกฤษ 1–0 สเปน อัตเลติโกเดมาดริด 1–0 0–0
บิยาร์เรอัล สเปน 2–1 เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 1–0 1–1
ไบฟีกา โปรตุเกส 4–6 อังกฤษ ลิเวอร์พูล 1–3 3–3

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

การจับสลากสำหรับรอบรองชนะเลิศได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 2022, 12:00 CET, หลังจากการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศ.[25] เลกแรกจะลงเล่นในวันที่ 26 และ 27 เมษายน, และเลกที่สองจะลงเล่นในวันที่ 3 และ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 2022.

ทีมแรก   ผล   ทีมที่สอง นัดแรก นัดที่สอง
แมนเชสเตอร์ซิตี อังกฤษ 5–6 สเปน เรอัลมาดริด 4–3 1–3
(ต่อเวลา)
ลิเวอร์พูล อังกฤษ 5–2 สเปน บิยาร์เรอัล 2–0 3–2

รอบชิงชนะเลิศ[แก้]

นัดชิงชนะเลิศจะลงเล่นในวันที่ 28 พฤษภาคม ค.ศ. 2022 ที่ สตาดเดอฟร็องส์ ใน แซ็ง-เดอนี. การจับสลากได้จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 2022, หลังการจับสลากรอบก่อนรองชนะเลิศและรอบรองชนะเลิศ, เพื่อกำหนดหาทีม "เจ้าบ้าน" เพื่อวัตถุประสงค์ในการบริหาร.[25]

สถิติ[แก้]

สถิติรวมตั้งแต่รอบคัดเลือก และ รอบเพลย์ออฟ.

อันดับผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

ลำดับ[27] ชื่อ ทีม ประตู เวลาที่เล่น
1 ฝรั่งเศส การีม แบนเซมา สเปน เรอัลมาดริด 15 1106
2 โปแลนด์ รอแบร์ต แลวันดอฟสกี เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 13 876
3 โกตดิวัวร์ เซบัสเตียง อาแลร์ เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 11 668
4 อียิปต์ มุฮัมมัด เศาะลาห์ อังกฤษ ลิเวอร์พูล 8 1008
5 ฝรั่งเศส คริสตอเฟอร์ อึนคุนคู เยอรมนี แอร์เบ ไลพ์ซิช 7 531
แอลจีเรีย ริยาฎ มะห์รัซ อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 986
7 โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 6 611
อุรุกวัย ดาร์วิน นูเญซ โปรตุเกส ไบฟีกา 613
ฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 673
เยอรมนี ลีร็อย ซาเน เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 798
เนเธอร์แลนด์ อาร์เนาท์ ดันยูมา สเปน บิยาร์เรอัล 906

อันดับผู้ผ่านบอลสูงสุด[แก้]

อันดับ[28] ผู้เล่น ทีม ผ่านบอล นาทีที่ลงเล่น
1 โปรตุเกส บรูนู ฟือร์นังดึช อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 7 520
2 เยอรมนี ลีร็อย ซาเน เยอรมนี ไบเอิร์นมิวนิก 6 798
บราซิล วีนีซียุส ฌูนีโยร์ สเปน เรอัลมาดริด 1199
4 บราซิล อังตูนี เนเธอร์แลนด์ อายักซ์ 5 577
5 โปรตุเกส ฌูเวา มารียู โปรตุเกส ไบฟีกา 4 493
สเปน ฌาราร์ต มูแรนู สเปน บิยาร์เรอัล 524
ฝรั่งเศส กีลียาน อึมบาเป ฝรั่งเศส ปารีแซ็ง-แฌร์แม็ง 673
เบลเยียม เกฟิน เดอ เบรยเนอ อังกฤษ แมนเชสเตอร์ซิตี 734
อังกฤษ เทรนต์ อเล็กซานเดอร์-อาร์โนลด์ อังกฤษ ลิเวอร์พูล 794
ฝรั่งเศส เอเตียนน์ กาปู สเปน บิยาร์เรอัล 1046
โครเอเชีย ลูกา มอดริช สเปน เรอัลมาดริด 1077

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. รอบชิงชนะเลิศ, ตามกำหนดการเดิมจะเป็นเวลา 21:00 CEST, แต่ถูกเลื่อนแข่งขันเป็นเวลา 21:36 CEST เนื่องจากปัญหาด้านความปลอดภัยกับแฟนบอลที่เข้ามาในสนาม.

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Decisions from today's extraordinary UEFA Executive Committee meeting". UEFA.com. Union of European Football Associations. 25 February 2022. สืบค้นเมื่อ 25 February 2022.
  2. "UEFA competitions to resume in August". UEFA.com. Union of European Football Associations. 17 June 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 August 2020. สืบค้นเมื่อ 17 June 2020.
  3. "Regulations of the UEFA Champions League, 2021/22 Season". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2021. สืบค้นเมื่อ 30 April 2021.
  4. "Association coefficients 2019/20". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2019. สืบค้นเมื่อ 24 August 2020.
  5. "Access list 2021–24" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 4 December 2018. สืบค้นเมื่อ 16 February 2020.
  6. "Guidelines on eligibility principles for 2020/21 UEFA Club Competitions – COVID 19" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 23 April 2020. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 25 November 2020. สืบค้นเมื่อ 1 November 2020.
  7. "Club coefficients 2020/21". UEFA.com. Union of European Football Associations.
  8. "Keppni hætt". Knattspyrnusamband Íslands. 30 October 2020. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 November 2020. สืบค้นเมื่อ 1 November 2020.
  9. "Sports ban forces termination of domestic competitions". Malta Football Association. 9 April 2021.
  10. "UEFA board turns down Ħamrun Spartans' appeal to compete in 2021-22 Champions League". Sportsdesk.com.mt. Times of Malta. สืบค้นเมื่อ 9 June 2021.
  11. "Hamrun Spartans to be excluded from Champions League by UEFA over past match fixing case". Malta Independent. 9 June 2021.
  12. "UEFA Champions League preliminary round draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. 8 June 2021. สืบค้นเมื่อ 8 June 2021.
  13. "Champions League í Gundadali". Havnar Bóltfelag. 23 May 2021.
  14. "Einki Champions League í Føroyum". 4 June 2021.
  15. "Champions League: Folgore sorteggiata coi kosovari del Prishtina". Federazione Sammarinese Giuoco Calcio. 8 June 2021.
  16. "UEFA Champions League first qualifying round draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. 15 June 2021.
  17. "UEFA Champions League second qualifying round draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. 16 June 2021. สืบค้นเมื่อ 16 June 2021.
  18. "UEFA Champions League third qualifying round draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. 19 July 2021.
  19. "UEFA Champions League play-off round draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. 2 August 2021.
  20. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ ExCo
  21. "UEFA Champions League group stage draw". UEFA.com. Union of European Football Associations. 26 August 2021.
  22. "Round of 16 draw". UEFA.com.
  23. Crafton, Adam; Brown, Luke (13 December 2021). "Controversy as Manchester United incorrectly excluded from section of Champions League draw". The Athletic. สืบค้นเมื่อ 13 December 2021.
  24. "Champions League round of 16 draw declared void and will be redone at 15:00 CET". UEFA. 13 December 2021. สืบค้นเมื่อ 13 December 2021.
  25. 25.0 25.1 25.2 "UEFA Champions League quarter-final, semi-final and final draws". UEFA.com. Union of European Football Associations. สืบค้นเมื่อ 18 March 2022.
  26. "Spielinfo | FC Liverpool – Real Madrid 0:1 | Finale in Paris | Champions League 2021/22" [Match info | Liverpool 0–1 Real Madrid | Final in Paris | 2021–22 Champions League]. kicker (ภาษาเยอรมัน). 28 May 2022. สืบค้นเมื่อ 29 May 2022.
  27. "UEFA Champions League – Top Scorers". UEFA.com. Union of European Football Associations. สืบค้นเมื่อ 28 May 2022.
  28. "UEFA Champions League – Top Assists". UEFA.com. Union of European Football Associations. สืบค้นเมื่อ 28 May 2022.