ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2008

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2008
รายการยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2007–08
หลังต่อเวลาพิเศษ
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ชนะลูกโทษ 6–5
วันที่21 พฤษภาคม ค.ศ. 2008
สนามสนามกีฬาลุจนีกี, มอสโก
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด ยูฟ่า
เอ็ดวิน ฟัน เดร์ซาร์
(แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด)[1]
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด แฟน
คริสเตียโน โรนัลโด
(แมนเชสเตอร์ ยูไนเต็ด)
ผู้ตัดสินลูโบส มิเชล (สโลวาเกีย)
ผู้ชม67,310 คน
สภาพอากาศมีหมอก
14 องศาเซลเซียส (57 องศาฟาเรนไฮต์)
96% ความชื้นสัมพัทธ์[2]
2007
2009

ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก นัดชิงชนะเลิศ 2008 เป็นนัดชิงชนะเลิศของการแข่งขันฟุตบอล ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2007–08 ซึ่งเป็นการพบกันระหว่างสโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด และ สโมสรฟุตบอลเชลซี จากประเทศอังกฤษ แข่งขันในวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2551 (ค.ศ. 2008) ในเวลาท้องถิ่น 22:45 น. ที่สนามกีฬาลุจนีกี ในเมืองมอสโก ของประเทศรัสเซีย นี่เป็นครั้งที่สามเท่านั้นที่มีสองสโมสรที่มาจากประเทศเดียวกันลงแข่งขันในนัดชิงชนะเลิศ

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด รอบ อังกฤษ เชลซี
คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน รอบแบ่งกลุ่ม คู่แข่งขัน ผลการแข่งขัน
โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน 1–0 (A) นัดที่ 1 นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก 1–1 (H)
อิตาลี โรมา 1–0 (H) นัดที่ 2 สเปน บาเลนเซีย 2–1 (A)
ยูเครน ดีนาโมคียิว 4–2 (A) นัดที่ 3 เยอรมนี ชัลเคอ 04 2–0 (H)
ยูเครน ดีนาโมคียิว 4–0 (H) นัดที่ 4 เยอรมนี ชัลเคอ 04 0–0 (A)
โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน 2–1 (H) นัดที่ 5 นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก 4–0 (A)
อิตาลี โรมา 1–1 (A) นัดที่ 6 สเปน บาเลนเซีย 0–0 (H)
แชมป์กลุ่ม F
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
อังกฤษ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 6 5 1 0 13 4 +9 16
อิตาลี โรมา 6 3 2 1 11 6 +5 11
โปรตุเกส สปอร์ติงลิสบอน 6 2 1 3 9 8 +1 7
ยูเครน ดีนาโมคียิว 6 0 0 6 4 19 −15 0
ตารางคะแนน แชมป์กลุ่ม B
ทีม Pld W D L GF GA GD Pts
อังกฤษ เชลชี 6 3 3 0 9 2 +7 12
เยอรมนี ชัลเคอ 04 6 2 2 2 5 4 +1 8
นอร์เวย์ โรเซนบอร์ก 6 2 1 3 6 10 −4 7
สเปน บาเลนเซีย 6 1 2 3 2 6 −4 5
คู่แข่งขัน ผล นัดแรก นัดที่สอง รอบแพ้คัดออก คู่แข่งขัน ผล นัดแรก นัดที่สอง
ฝรั่งเศส ลียง 2–1 1–1 (A) 1–0 (H) รอบแพ้คัดออกรอบแรก กรีซ โอลิมเบียโกส 3–0 0–0 (A) 3–0 (H)
อิตาลี โรมา 3–0 2–0 (A) 1–0 (H) รอบ 8 ทีมสุดท้าย ตุรกี เฟแนร์บาห์แช 3–2 1–2 (A) 2–0 (H)
สเปน บาร์เซโลนา 1–0 0–0 (A) 1–0 (H) รอบรองชนะเลิศ อังกฤษ ลิเวอร์พูล 4–3 1–1 (A) 3–2
(ต่อเวลา) (H)

การแข่งขัน[แก้]

รายละเอียด[แก้]

แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด[2]
เชลซี[2]
GK 1 เนเธอร์แลนด์ เอ็ดวิน ฟัน เดร์ซาร์
RB 6 อังกฤษ เวส บราวน์ Substituted off in the 120+5 นาที 120+5'
CB 5 อังกฤษ ริโอ เฟอร์ดินานด์ (กัปตันทีม) โดนใบเหลือง ใน 43 นาที 43'
CB 15 เซอร์เบีย เนมันยา วีดิช โดนใบเหลือง ใน 111 นาที 111'
LB 3 ฝรั่งเศส ปาทริส เอวรา
RM 4 อังกฤษ โอเวน ฮาร์กรีฟส์
CM 18 อังกฤษ พอล สโกลส์ โดนใบเหลือง ใน 21 นาที 21' Substituted off in the 87 นาที 87'
CM 16 อังกฤษ ไมเคิล แคร์ริก
LM 7 โปรตุเกส คริสเตียโน โรนัลโด
CF 10 อังกฤษ เวย์น รูนีย์ Substituted off in the 101 นาที 101'
CF 32 อาร์เจนตินา การ์โลส เตเบซ โดนใบเหลือง ใน 116 นาที 116'
ตัวสำรอง:
GK 29 โปแลนด์ ตอมัช กุชต์ชัก
DF 22 สาธารณรัฐไอร์แลนด์ จอห์น โอเช
DF 27 ฝรั่งเศส มิคาเอล ซิลแวสต์
MF 8 บราซิล อังเดร์ซง Substituted on in the 120+5 minute 120+5'
MF 11 เวลส์ ไรอัน กิกส์ Substituted on in the 87 minute 87'
MF 17 โปรตุเกส นานี Substituted on in the 101 minute 101'
MF 24 สกอตแลนด์ แดร์เรน เฟลตเชอร์
ผู้จัดการทีม:
สกอตแลนด์ เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน
GK 1 เช็กเกีย แปเตอร์ แช็ค
RB 5 กานา มิคาเอล เอสเซียง โดนใบเหลือง ใน 118 นาที 118'
CB 6 โปรตุเกส รีการ์ดู การ์วัลยู โดนใบเหลือง ใน 45+2 นาที 45+2'
CB 26 อังกฤษ จอห์น เทร์รี (กัปตันทีม)
LB 3 อังกฤษ แอชลีย์ โคล
DM 4 ฝรั่งเศส โกลด มาเกเลเล โดนใบเหลือง ใน 21 นาที 21' Substituted off in the 120+4 นาที 120+4'
CM 13 เยอรมนี มิชชาเอล บัลลัค โดนใบเหลือง ใน 116 นาที 116'
CM 8 อังกฤษ แฟรงก์ แลมพาร์ด
RW 10 อังกฤษ โจ โคล Substituted off in the 99 นาที 99'
LW 15 ฝรั่งเศส ฟลอร็อง มาลูดา Substituted off in the 92 นาที 92'
CF 11 โกตดิวัวร์ ดีดีเย ดรอกบา Red card 116'
ตัวสำรอง:
GK 23 อิตาลี การ์โล กูดีชีนี
DF 33 บราซิล อเล็กซ์
DF 35 บราซิล ชูเลียโน เบลเลตติ Substituted on in the 120+4 minute 120+4'
MF 12 ไนจีเรีย จอห์น โอบี มิเกล
FW 7 ยูเครน อันดรีย์ แชวแชนกอ
FW 21 โกตดิวัวร์ ซาลอมง กาลู Substituted on in the 92 minute 92'
FW 39 ฝรั่งเศส นีกอลา อาแนลกา Substituted on in the 99 minute 99'
ผู้จัดการทีม:
อิสราเอล อัฟราม แกรนท์

ยูฟ่า แมนออฟเดอะแมตช์:
เอ็ดวิน ฟัน เดร์ซาร์ (แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด)[4][5]
แฟน แมนออฟเดอะแมตช์:
คริสเตียโน โรนัลโด (แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด)[6]

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
Roman Slyško (สโลวาเกีย)
Martin Balko (สโลวาเกีย)
ผู้ตัดสินที่สี่:
Vladimir Hriňák (สโลวาเกีย)

สถิติ[แก้]

ครึ่งแรก ครึ่งหลัง ต่อเวลาพิเศษ โดยรวม
MU CHL MU CHL MU CHL MU CHL
ประตูที่ทำได้ 1 1 0 0 0 0 1 1
ยิงทั้งหมด 5 6 4 14 3 4 12 24
ยิงเข้ากรอบ 3 1 0 1 2 1 5 3
เปอร์เซ็นต์การครองบอล 59% 41% 58% 42%
เตะมุม 2 2 2 4 1 2 5 8
ทำฟาวล์ 5 9 9 9 8 7 22 25
ล้ำหน้า 0 1 0 1 1 0 1 2
ใบเหลือง 2 2 0 0 2 2 4 4
ใบแดง 0 0 0 0 0 1 0 1

ดูเพิ่ม[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "2. Finals" (PDF). UEFA Champions League Statistics Handbook 2014/15. UEFA.com. Union of European Football Associations. 2015. p. 10.
  2. 2.0 2.1 2.2 "Tactical Line-ups – Final – Wednesday 21 May 2008" (PDF). UEFA.com. Union of European Football Associations. 21 May 2008. สืบค้นเมื่อ 20 May 2009.
  3. "Referee appointed for UEFA Champions League final" (PDF). uefa.com. Union of European Football Associations. 19 May 2008. สืบค้นเมื่อ 19 May 2008.
  4. Taylor, Daniel (22 May 2008). "With the history of the club we deserved this trophy". The Guardian. Guardian News and Media. สืบค้นเมื่อ 22 May 2008.
  5. Rich, Tim (22 May 2008). "Champions League final: 'We're all feeling incredibly tired', says Sir Alex Ferguson". Telegraph.co.uk. Telegraph Media Group. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-18. สืบค้นเมื่อ 22 May 2008.
  6. "Man. United 1-1 Chelsea - Statistics". UEFA.com. Union of European Football Associations. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 April 2009. สืบค้นเมื่อ 22 May 2008.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]