จักรวรรดิข่านอิล

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จักรวรรดิข่านอิล

ایل خانان
1256–1335[1]
ธงชาติข่านอิล
ธงในแผนที่ของ Angelino Dulcert ใน ค.ศ. 1339 และใน อัตลัสกาตาลา ใน ค.ศ. 1375.[2]
จักรวรรดิข่านอิลในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุด
จักรวรรดิข่านอิลในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุด
สถานะรัฐข่าน
เมืองหลวง
ภาษาทั่วไป
ศาสนา
การปกครองราชาธิปไตย
ข่าน 
• 1256–1265
ฮูลากู ข่าน
• 1316–1335
แอบู แซอีด
พื้นที่
ประมาณ ค.ศ. 1310[7][8]3,750,000 ตารางกิโลเมตร (1,450,000 ตารางไมล์)
ก่อนหน้า
ถัดไป
จักรวรรดิมองโกล
รัฐสุลต่านแจลอยีรียอน

จักรวรรดิข่านอิล (อังกฤษ: Ilkhanate, Il-khanate; เปอร์เซีย: ایل خانان, อักษรโรมัน: Īlkhānān) ชาวมองโกลรู้จักกันในชื่อ ฮือเลกืออูลุส (มองโกเลีย: Hülegü Ulus; แปลว่า ดินแดนของฮูเลกู)[9] เป็นรัฐข่านทางตะวันตกเฉียงใต้ที่แตกมาจากจักรวรรดิมองโกล ดินแดนอิลข่านมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า ดินแดนอิหร่าน หรือสั้น ๆ ว่า อิหร่าน[10][11] ดินแดนนี้ได้รับการสถาปนาหลังฮูลากู ข่าน พระราชโอรสในโทโลย ข่าน และพระราชนัดดาในเจงกีส ข่าน ได้รับดินแดนจักรวรรดิมองโกลส่วนเอเชียตะวันตกเฉียงใต้หลังมงค์ ข่านสวรรคตใน ค.ศ. 1259

ดินแดนส่วนกลางของอิลข่านอยู่ในบริเวณที่ปัจจุบันคือส่วนหนึ่งของประเทศอิหร่าน อาเซอร์ไบจาน และตุรกี โดยในช่วงสูงสุดมีขนาดกว้างถึงประเทศอิรัก ซีเรีย อาร์มีเนีย จอร์เจีย อัฟกานิสถาน เติร์กเมนิสถาน ปากีสถาน ดาเกสถานบางส่วน และทาจิกิสถานบางส่วน ผู้นำข่านอิลยุคหลังหันมาเข้ารีตเป็นอิสลามนับตั้งแต่ฆอซอนใน ค.ศ. 1295 ต่อมาในคริสต์ทศวรรษ 1330 จักรวรรดิข่านอิลเผชิญกับกาฬมรณะ แอบู แซอีด แบฮอดูร์ ข่าน อิลข่านองค์สุดท้าย สวรรคตใน ค.ศ. 1335 หลังจากนั้นจักรวรรดิข่านอิลจึงยุบสลาย

แม้ว่าผู้นำข่านอิลไม่ได้มีต้นตอจากชาวอิหร่าน แต่ก็พยายามประกาศอำนาจของตนด้วยการผูกมัดตนเองกับอดีตของอิหร่าน และคัดเลือกนักประวัติศาสตร์เพื่อเสนอให้ชาวมองโกลเป็นทายาทของจักรวรรดิซาเซเนียน (ค.ศ. 224–651) แห่งอิหร่านยุคก่อนอิสลาม[12]

คำนิยาม[แก้]

เราะชีด-อัล-ดิน-ฮามาดานี นักประวัติศาสตร์ รายงานว่า กุบไลข่านประทานตำแหน่งอิลข่านแก่ฮูลากู (ฮือเลกือ) หลังฮูลากูพ่ายแพ้ต่ออาริก เบอเก คำว่าอิลข่านหมายถึง "ข่านแห่งชนเผ่า, ข่านแห่งอูลุส" และตำแหน่งข่านที่ต่ำกว่าหมายถึงความเคารพเบื้องต้นต่อมงค์ ข่าน และผู้สืบทอดของพระองค์ในฐานะข่านใหญ่แห่งจักรวรรดิมองโกล ส่วนตำแหน่ง "อิลข่าน" ที่ลูกหลานฮูลากูและภายหลังเหล่าเจ้าชายบอร์จิกินในเปอร์เซียใช้นั้น ยังไม่ปรากฏในข้อมูลจนกระทั่งหลัง ค.ศ. 1260[13]

ประวัติ[แก้]

ต้นกำเนิด[แก้]

พันธมิตรฝรั่งเศส-มองโกล[แก้]

ราชสำนักยุโรปตะวันตกหลายแห่งพยายามสร้างพันธมิตรกับมองโกลหลายครั้ง โดยเป้าหมายหลักคือจักรวรรดิข่านอิลในคริสต์ศตวรรษที่ 13 ถึง 14 เริ่มตั้งแต่ประมาณช่วงสงครามครูเสดครั้งที่ 7 (มุสลิมและชาวเอเชียในช่วงครูเรียกชาวยุโรปตะวันตกเป็นชาวแฟรงก์) แม่ว่าจะมีศัตรูมุสลิมเกียวกัน (โดยหลักคือมัมลูก) แต่ก็ไม่มีการลงมติความเป็นพันธมิตรอย่างเป็นทางการ[14]

อ้างอิง[แก้]

  1. Biran, Michal (2016). "Il-Khanate Empire". ใน Dalziel, N.; MacKenzie, J. M. (บ.ก.). The Encyclopedia of Empire. p. 1. doi:10.1002/9781118455074.wbeoe362.
  2. The flag of the Ilkhante as seen in the Catalan Atlas
  3. Fragner 2006, pp. 78–79.
  4. Fragner 2006, pp. 78.
  5. Badiee 1984, p. 97.
  6. Vásáry 2016, p. 149.
  7. Turchin, Peter; Adams, Jonathan M.; Hall, Thomas D (December 2006). "East-West Orientation of Historical Empires". Journal of World-Systems Research. 12 (2): 223. ISSN 1076-156X. สืบค้นเมื่อ 13 September 2016.
  8. Rein Taagepera (September 1997). "Expansion and Contraction Patterns of Large Polities: Context for Russia". International Studies Quarterly. 41 (3): 496. doi:10.1111/0020-8833.00053. JSTOR 2600793.
  9. Biran, Michael (2016). Dalziel, N.; MacKenzie, J. M. (บ.ก.). "Il‐Khanate Empire". The Encyclopedia of Empire: 1–6. doi:10.1002/9781118455074.wbeoe362. ISBN 9781118455074.
  10. Danilenko, Nadja (2020). "In Persian, Please! The Translations of al-Iṣṭakhrī's Book of Routes and Realms". Picturing the Islamicate World: The Story of al-Iṣṭakhrī's Book of Routes and Realms. Brill. p. 101. Connecting to īrān as illustrated in the Shāhnāma, 'land of Iran' rose to the official name for the Ilkhanid realm.
  11. Ashraf, Ahmad (2006). "Iranian Identity iii. Medieval Islamic Period". ใน Yarshater, Ehsan (บ.ก.). Encyclopædia Iranica, Volume XIII/5: Iran X. Religions in Iran–Iraq V. Safavid period. London and New York: Routledge & Kegan Paul. pp. 507–522. ISBN 978-0-933273-93-1. ... the Mongol and Timurid phase, during which the name 'Iran' was used for the dynastic realm and a pre-modern ethno-national history of Iranian dynasties was arranged.
  12. Danilenko, Nadja (2020). "In Persian, Please! The Translations of al-Iṣṭakhrī's Book of Routes and Realms". Picturing the Islamicate World: The Story of al-Iṣṭakhrī's Book of Routes and Realms. Brill. pp. 94–95.
  13. Peter Jackson The Mongols and the West, p.127
  14. "Despite numerous envoys and the obvious logic of an alliance against mutual enemies, the papacy and the Crusaders never achieved the often-proposed alliance against Islam". Atwood, Encyclopedia of Mongolia and the Mongol Empire, p. 583, "Western Europe and the Mongol Empire"

ข้อมูล[แก้]

  • Allsen, Thomas (1994). "The rise of the Mongolian empire and Mongolian rule in north China". ใน Denis C. Twitchett; Herbert Franke; John King Fairbank (บ.ก.). The Cambridge History of China: Volume 6, Alien Regimes and Border States, 710–1368. Cambridge University Press. pp. 321–413. ISBN 978-0-521-24331-5.
  • Arjomand, Saïd Amir Arjomand (2022). Revolutions of the End of Time: Apocalypse, Revolution and Reaction in the Persianate World. Brill. ISBN 978-90-04-51715-8.
  • Ashraf, Ahmad (2006). "Iranian identity iii. Medieval Islamic period". Encyclopaedia Iranica, Vol. XIII, Fasc. 5. pp. 507–522.
  • Atwood, Christopher Pratt (2004). Encyclopedia of Mongolia and the Mongol empire. New York, NY: Facts On File. ISBN 0-8160-4671-9.
  • Babaie, Sussan (2019). Iran After the Mongols. Bloomsbury Publishing. ISBN 978-1-78831-528-9.
  • Badiee, Julie (1984). "The Sarre Qazwīnī: An Early Aq Qoyunlu Manuscript?". Ars Orientalis. University of Michigan. 14.
  • C.E. Bosworth, The New Islamic Dynasties, New York, 1996.
  • Jackson, Peter (2017). The Mongols and the Islamic World: From Conquest to Conversion. Yale University Press. pp. 1–448. ISBN 9780300227284. JSTOR 10.3366/j.ctt1n2tvq0. แม่แบบ:Registration required
  • Lane, George E. (2012). "The Mongols in Iran". ใน Daryaee, Touraj (บ.ก.). The Oxford Handbook of Iranian History. Oxford University Press. pp. 1–432. ISBN 978-0-19-987575-7.
  • Limbert, John (2004). Shiraz in the Age of Hafez. University of Washington Press. pp. 1–182. ISBN 9780295802886.
  • Kadoi, Yuka. (2009) Islamic Chinoiserie: The Art of Mongol Iran, Edinburgh Studies in Islamic Art, Edinburgh. ISBN 9780748635825.
  • Fragner, Bert G. (2006). "Ilkhanid Rule and Its Contributions to Iranian Political Culture". ใน Komaroff, Linda (บ.ก.). Beyond the Legacy of Genghis Khan. Brill. pp. 68–82. ISBN 9789004243408.
  • May, Timothy (2018), The Mongol Empire
  • Melville, Charles (2012). Persian Historiography: A History of Persian Literature. Bloomsbury Publishing. pp. 1–784. ISBN 9780857723598.
  • R. Amitai-Preiss: Mongols and Mamluks: The Mamluk-Ilkhanid War 1260–1281. Cambridge, 1995.
  • Vernadsky, George (1953), The Mongols and Russia, Yale University Press
  • Vásáry, István (2016). "The Role and Function of Mongolian and Turkic in Ilkhanid Iran". ใน Csató, Éva Á.; Johanson, Lars; Róna-Tas, Andrá; Utas, Bo (บ.ก.). Turks and Iranians. Interactions in Language and History: The Gunnar Jarring Memorial Program at the Swedish Collegium for Advanced Study (1 ed.). Harrassowitz Verlag. pp. 141–152. ISBN 978-3-447-10537-8.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]