วัฒนา สรรพานิช
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
บทความชีวประวัตินี้เขียนเหมือนประวัติสมัครงาน |
พลเอก วัฒนา สรรพานิช ม.ป.ช., ม.ว.ม., ต.จ.ว. | |
---|---|
สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12 | |
อยู่ในวาระ | |
เริ่มดำรงตำแหน่ง 11 พฤษภาคม 2562 | |
สภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ | |
ดำรงตำแหน่ง 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558 – 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 | |
ข้อมูลส่วนบุคคล | |
เกิด | 24 มีนาคม พ.ศ. 2481 (82 ปี) |
การเข้าเป็นทหาร | |
สังกัด | กระทรวงกลาโหม กองทัพไทย ![]() |
ประจำการ | พ.ศ. 2504 - พ.ศ. 2541 |
ยศ | ![]() |
พลเอก วัฒนา สรรพานิช สมาชิกวุฒิสภาไทย ชุดที่ 12[1] อดีตรองผู้บัญชาการทหารสูงสุด อดีตผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา อดีตผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อดีตแม่ทัพน้อยที่ 1 อดีตผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์ อดีตผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 9 และอดีตผู้บัญชาการกองพลรบพิเศษที่ 1
การศึกษา[แก้]
- วิทยาศาสตรบัณฑิต โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- หลักสูตรป้องกันราชอาณาจักร วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
การรับราชการทหาร[แก้]
ประสบการณ์ทางราชการทหาร
- ผู้บัญชาการกองพลรบพิเศษที่ 1
- ผู้บัญชาการกองพลทหารราบที่ 9
- ผู้บัญชาการกองพลที่ 1 รักษาพระองค์
- แม่ทัพน้อยที่ 1
- ผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา
- รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด
- จเรทหารทั่วไป
ประสบการณ์ราชการสงคราม
- ราชการสงครามในต่างประเทศ 2 ครั้ง ณ ประเทศเกาหลี ผลัดที่ 15 (พ.ศ. 2506 - 2507) ณ ประเทศเวียดนามใต้ รุ่นที่ 1 (จงอางศึก) (พ.ศ. 2510 - 2511) ได้กระทำการรบด้วยความกล้าหาญ ได้รับพระราชทานเหรียญกล้าหาญไทย เหรียญกล้าหาญของประเทศสหรัฐอเมริกา ชั้นบรอนซ์สตาร์ "ประดับอักษร V" และเหรียญกล้าหาญชั้น Gold Star (ประดับดาวทอง) ของประเทศเวียดนามใต้
ประสบการณ์ปฏิบัติภารกิจพิเศษ
- ปฏิบัติราชการพิเศษในต่างประเทศ ประเทศลาว กัมพูชา พม่า
ประสบการณ์ที่สำคัญทางการเมือง[แก้]
- สมาชิกสภาปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน พ.ศ. 2519 - พ.ศ. 2520
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2520 - พ.ศ. 2522
- สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2529 - พ.ศ. 2534[2]
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2534 - พ.ศ. 2535
- สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2535 - พ.ศ. 2539 [3]
- สมาชิกวุฒิสภา จากการเลือกตั้ง จังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2543 - พ.ศ. 2549[4]
- ผู้ช่วยรัฐมนตรี ประจำกระทรวงมหาดไทย
- สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558[5]
- สมาชิกสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ พ.ศ. 2558 - 2560
- สมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2562 - ปัจจุบัน
เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]
- พ.ศ. 2536 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)[6]
- พ.ศ. 2533 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)[7]
- พ.ศ. 2541 -
เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ชั้นตติยจุลจอมเกล้าวิเศษ (ต.จ.ว.)[8]
- พ.ศ. 2525 -
เหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2 (ส.ช.)[9]
- พ.ศ. 2507 -
เหรียญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 9 ชั้นที่ 5 (ภ.ป.ร.5)[10]
อ้างอิง[แก้]
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2562/E/121/T_0001.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2522/A/057/1.PDF
- ↑ https://www.senate.go.th/assets/portals/1/files/list_senate6.pdf
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2539/E/007/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/199/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2536/D/200/1_1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2533/D/240/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2541/B/008/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2525/D/144/1.PDF
- ↑ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2507/D/090/2460.PDF
หมวดหมู่:
- สมาชิกเหรียญพิทักษ์เสรีชน ชั้นที่ 2 ประเภทที่ 2
- บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2481
- บุคคลที่ยังมีชีวิตอยู่
- ผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า
- ทหารบกชาวไทย
- สมาชิกวุฒิสภาไทยแบบแต่งตั้ง
- สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- สมาชิกสภาปฏิรูปแห่งชาติ
- บุคคลจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
- บุคคลจากวิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ป.ช.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.
- ผู้ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ต.จ.ว.