สโมสรฟุตบอลบีเอฟบี พัทยา ซิตี้

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
บีเอฟบี พัทยา ซิตี้
ชื่อเต็มสโมสรฟุตบอลบีเอฟบี พัทยา ซิตี้
BFB Pattaya City Football Club
ฉายาโลมาเพชฌฆาต
ก่อตั้ง2022; 2 ปีที่แล้ว (2022) (ในชื่อ บ้านฟุตบอล พัทยา)
2023; 1 ปีที่แล้ว (2023) (ในชื่อ บีเอฟบี พัทยา ซิตี้)
สนามสนามกีฬาเทศบาลเมืองศรีราชา
ความจุ1,500 ที่นั่ง
เจ้าของบริษัท บ้านฟุตบอล จำกัด
ประธานจีระยุทธ มณีโคตร
ผู้จัดการพันตำรวจเอก คมน์สรณ์ มาบำรุง
ผู้ฝึกสอนอัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์
ลีกไทยลีก 3
2566–67ไทยลีก 3 โซนภาคตะวันออก, อันดับที่ 8

สโมสรฟุตบอลบีเอฟบี พัทยา ซิตี้ เป็นสโมสรฟุตบอลอาชีพในประเทศไทย โดยเป็นสโมสรตัวแทนจากจังหวัดชลบุรี ปัจจุบันเล่นในไทยลีก 3 โซนภาคตะวันออก

ประวัติ[แก้]

สโมสรฟุตบอลบ้านฟุตบอล พัทยา ก่อตั้งเมื่อปี 2565 บ้านฟุตบอล พัทยาได้ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก ฤดูกาล 2565 ในโซนภาคตะวันออก เป็นการแข่งขันแรก โดยผลงานสามารถเข้ารอบแพ้คัดออก ของโซนตอนล่างได้ ต่อมาในปี 2566 สโมสรได้ส่งทีมเข้าร่วมการแข่งขันไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2566 ในโซนภาคตะวันออก โดยได้ตำแหน่งรองชนะเลิศของโซน และได้สิทธิ์เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 3 โซนภาคตะวันออก แทนจันทบุรี ที่ได้สิทธิ์เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 2[1]

ต่อมาในปีเดียวกัน บ้านฟุตบอล พัทยา ได้เปลี่ยนชื่อสโมสรเป็น บีเอฟบี พัทยา ซิตี้

ผลงานของสโมสรในแต่ละฤดูกาล[แก้]

ฤดูกาล ลีก เอฟเอคัพ ลีกคัพ ลีก 3 คัพ ผู้ยิงประตูสูงสุด
ระดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย คะแนน อันดับ ชื่อ จำนวนประตู
2565 ไทยแลนด์ อเมเจอร์ลีก
โซนภาคตะวันออก
4 3 1 0 17 2 10 รอบแพ้คัดออก (ตอนล่าง) ไม่ได้เข้าร่วม ไม่ได้สามารถเข้าร่วม ไทย เผด็จ แก้วมณี 6
2566 ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
โซนภาคตะวันออก
6 4 1 1 10 4 13 รองชนะเลิศ ไม่ได้เข้าร่วม ไม่ได้สามารถเข้าร่วม ไทย ธรรมธร นารีคำ
ไทย อาชิรวัตร ซ้ายมี
ไทย กนก ทัพซ้าย
2
2566–67 ไทยลีก 3
โซนภาคตะวันออก
20 6 6 8 23 28 24 อันดับที่ 8 รอบ 64 ทีมสุดท้าย รอบคัดเลือกรอบสอง รอบคัดเลือกรอบสอง ไทย อาชิรวัตร ซ้ายมี 8
ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 เลื่อนชั้น ตกชั้น

ผู้เล่น[แก้]

ผู้เล่นชุดปัจจุบัน[แก้]

ณ วันที่ 30 มกราคม 2567[2]

หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ

เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
2 MF ไทย ณัฐพงค์ กรุณา
3 DF ไทย มนูญ สุทธิเลาะ
4 DF ไทย พนายพล ฤทธิวรากุล
5 DF ไทย ภูริวัจน์ ศรีสาครพัฒน์
6 DF ญี่ปุ่น ไทโยะ โทโยดะ
7 MF ไทย อนุชา สุกใส
8 MF ไทย ประกายเกียรติ สุขคง
9 FW ไทย ธรรมธร นารีคำ
10 FW เกาหลีใต้ คิม จุน-ฮย็อน
11 FW ไทย อาชิรวัตร ซ้ายมี
13 MF ไทย อธิบดี อาษาพนม
14 FW ไทย อภิรัตน์ หีมขาว
15 FW อเมริกันซามัว กอฟฟ์ เจอาร์ แมค คีท
16 DF ไทย ประจักร ชาธรรมมา (กัปตันทีม)
17 MF ไทย กิตติชัย อินทร์ทอง
18 FW ไทย เมฆมงคล บุญมี
19 FW ไทย อภิรักษ์ บริกุล
22 GK ไทย ปรเมธ ศิริ
เลข ตำแหน่ง สัญชาติ ผู้เล่น
23 MF ไทย กนก ทัพซ้าย
24 GK ไทย ณัฐกิตติ์ คณาพรถาวรพัฒน์
26 DF ไทย ศักย์ศรณ์ สวัสดิ์พงศ์ธาดา
30 DF ไทย ญาณาธิป ฟักนิล
34 MF ไทย สุทธินัย วงษ์ศรี
37 MF ไทย ยศกร ขันติวงศ์
40 DF ไทย นิตินัย ทองใบ
42 MF ไทย พัทธดนย์ เที่ยงวงศ์
44 DF ไทย ฤทธิชัย ทบพวก
49 MF ไทย อภิวิชญ์ สุนทรวิภาต
54 FW ไทย ชลประธาน โพธิ์ทอง
58 DF ไทย กนกภูมิศักดิ์ เวียงสอนศิริกุลโย
64 MF ไทย เกริกพล อาบรัมย์ (ยืมตัวจาก บีจี ปทุม ยูไนเต็ด)
66 DF ไทย ธีรภัทร ธีรโชติสกุล
69 DF ไทย นนทวัฒน์ อุดมสุขถาวร
71 MF ไทย เอกราช มณีโคตร
88 FW ไทย พงษ์ศักดิ์ นิยมพงษ์

ผู้ฝึกสอน[แก้]

ชื่อ ระยะเวลา ความสำเร็จ
ไทย นิกร อนุวรรณ มกราคม – 19 กรกฎาคม 2566 รองชนะเลิศ ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก ฤดูกาล 2566 – โซนภาคตะวันออก
(เลื่อนชั้นสู่ไทยลีก 3)
ไทย สุรชาติ สิงห์โหง่น 26 กรกฎาคม – 28 พฤศจิกายน 2566
ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ 29 พฤศจิกายน 2566 –

เกียรติประวัติ[แก้]

บ้านฟุตบอล พัทยา

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]