ข้ามไปเนื้อหา

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
เขตพัฒนาพิเศษ
Eastern Special Development Zone
ตามเข็มนาฬิกาจากซ้ายบน; ทิวทัศน์ของพัทยาเส้นขอบฟ้า, พระอุโบสถวัดโสธรวรารามวรวิหาร, ปราสาทสัจธรรม, พระอภัยมณีกับนางเงือกที่เกาะเสม็ด, และพระพิฆเนศวัดสมานรัตนาราม
คำขวัญ: 
เชื่อมโลก ให้ไทยแล่น[1]
ประเทศไทย
ภาคภาคตะวันออก
จังหวัด
เมืองใหญ่สุด
ตามประชากร
ศรีราชา
ก่อนก่อตั้งระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
คำสั่งหัวหน้า คสช.17 มกราคม 2560
พ.ร.บ. อีอีซี15 พฤษภาคม 2561
การปกครองคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
การปกครอง
 • ประเภทเขตพัฒนาพิเศษ
 • เลขาธิการคณิศ แสงสุพรรณ
พื้นที่
 • ทั้งหมด13,266 ตร.กม. (5,122 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (2561)
 • ทั้งหมด2,973,770 คน
 • ความหนาแน่น220 คน/ตร.กม. (580 คน/ตร.ไมล์)
เขตเวลาUTC+07:00 (เวลามาตรฐานไทย)
เว็บไซต์www.eeco.or.th

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (อังกฤษ: Eastern Special Development Zone; ESDZ) รู้จักกันในชื่อ อีอีซี (EEC) มีชื่อเดิมว่า ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (อังกฤษ: Eastern Economic Corridor)[2] เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยมติคณะรัฐมนตรีใน พ.ศ. 2558 ตั้งอยู่บริเวณในชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกของอ่าวไทยซึ่งถือเป็นพื้นที่ทางเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ครอบคลุมพื้นที่สามจังหวัดได้แก่จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี และจังหวัดระยอง กิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นภายในระเบียงเศรษฐกิจนี้ มีมูลค่าราว 14% ของทั้งประเทศไทย

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Corporate Identity". Eastern Economic Corridor Office. www.eeco.or.th. สืบค้นเมื่อ 15 December 2019.
  2. EEC คืออะไร คืบหน้าไปถึงไหนแล้ว