ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 – โซนภาคตะวันออก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไทยลีก 3 โซนภาคตะวันออก
ฤดูกาล2566–67
วันที่16 กันยายน 2566 – 24 กุมภาพันธ์ 2567
จำนวนนัด55
จำนวนประตู128 (2.33 ประตูต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดกี อูว์แบร์
จักริน เยือกเย็น
แอแมร์ซง บาลูเตลลี
(5 ประตู)
ทีมเหย้า
ชนะสูงสุด
4 ประตู
ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค 4–0 สอ.รฝ.
(28 ตุลาคม 2566)
ทีมเยือน
ชนะสูงสุด
6 ประตู
สอ.รฝ. 0–6 ปลวกแดง ยูไนเต็ด
(21 ตุลาคม 2566)
จำนวนประตูสูงสุด6 ประตู
สอ.รฝ. 0–6 ปลวกแดง ยูไนเต็ด
(21 ตุลาคม 2566)
ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
3 นัด
ราชนาวี
ไม่แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
10 นัด
ปลวกแดง ยูไนเต็ด
ไม่ชนะติดต่อกัน
มากที่สุด
5 นัด
กองเรือรบ
ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค
นาวิกโยธิน
แพ้ติดต่อกัน
มากที่สุด
3 นัด
ราชนาวี
สอ.รฝ.
จำนวนผู้ชมสูงสุด510 คน
ปราจีนบุรี ซิตี้ 1–0 สอ.รฝ.
(30 กันยายน 2566)
จำนวนผู้ชมต่ำสุด0 คน
จำนวนผู้ชมรวม11,612 คน
จำนวนผู้ชมเฉลี่ย223 คน
สถิติทั้งหมดปรับปรุงล่าสุดในวันที่ 26 พฤศจิกายน 2566

ไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 โซนภาคตะวันออก เป็นส่วนหนึ่งของการแข่งขันไทยลีก 3 ฤดูกาล 2566–67 ซึ่งเป็นการแข่งขันในระดับที่ 3 ในระบบลีกฟุตบอลไทย และเป็นการแข่งขันฤดูกาลที่ 7 ของไทยลีก 3 นับตั้งแต่ก่อตั้งลีกเมื่อ พ.ศ. 2560

สโมสร[แก้]

สโมสรที่เข้าแข่งขันในฤดูกาล 2566–67 โซนภาคตะวันออก มีจำนวน 11 สโมสร โดยแบ่งเป็นสโมสรจากฤดูกาล 2565–66 จำนวน 9 สโมสร และสโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก จำนวน 2 สโมสร

สนามเหย้า ที่ตั้ง และผลงานฤดูกาลที่แล้ว[แก้]

สโมสร ที่ตั้ง สนามเหย้า ความจุ อันดับฤดูกาล 2565–66
กองเรือรบ ชลบุรี
(สัตหีบ)
แบทเทิลชิฟสเตเดียม 6
สอ.รฝ. 9
ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค ฉะเชิงเทรา สนามกีฬาเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา 4,000 4
นาวิกโยธิน ชลบุรี
(สัตหีบ)
สนามกีฬาราชนาวี สัตหีบ 5,163 5
ราชนาวี 11
บ้านค่าย ยูไนเต็ด ระยอง
(บ้านค่าย)
หวายกรองสเตเดียม 1,000 8
บีเอฟบี พัทยา ซิตี้ ชลบุรี
(ศรีราชา)
สนามกีฬาเทศบาลเมืองศรีราชา 1,500 2 (ทีเอส)
ปราจีนบุรี ซิตี้ ปราจีนบุรี
(เมืองปราจีนบุรี)
สนามกีฬาองค์การบริหารส่วนจังหวัดปราจีนบุรี 1,000 1 (ทีเอส)
ปลวกแดง ยูไนเต็ด ระยอง
(ปลวกแดง)
ซีเคสเตเดียม 7
สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด ปราจีนบุรี
(กบินทร์บุรี)
สนามกีฬาน้อมเกล้ามหาราช 3
อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด จันทบุรี สนามกีฬามหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี 10

ข้อมูลสโมสร[แก้]

สโมสร หัวหน้าผู้ฝึกสอน กัปตันทีม ผู้ผลิตชุด
กองเรือรบ ไทย วิริยะ เผ่าพันธุ์ ไทย ภานุวัฒน์ กองจันทร์ ไหมสปอร์ต
ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค ไทย ธเนศ บุญลาภ ไทย ปฏิรูป สัญจรเลิศ มาร์วิน
นาวิกโยธิน ไทย อิทธิพล นนท์ศิริ
ไทย ภูวดล ดำริห์กิจ
ไทย ชลพัฒน์ สิงห์เรือง เวิร์ค
บ้านค่าย ยูไนเต็ด ไทย นพพร เอกศาสตรา ไทย โชคชัย สุขเทศ ทูเอสสปอร์ต
บีเอฟบี พัทยา ซิตี้ ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ ไทย ประจักร ชาธรรมมา บ้านฟุตบอล
ปราจีนบุรี ซิตี้ ไทย ยุทธพงษ์ บุญอัมพร ไทย พิชิต ใจบุญ ทีดับเบิลยูสปอร์ต
ปลวกแดง ยูไนเต็ด ไทย ชยพล คชสาร ไทย ยุวราช ดำสูงเนิน ซีเคสปอร์ต
ราชนาวี ไทย กรณ์ภพ ทรัพย์สิน ไทย อาทิตย์ ทับทิมใหม่ เวอร์ซุส
สอ.รฝ. ไทย สุรกิจ เทพมณี ไทย ชุษณะ นัมคณิสร โรสปอร์ต
สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด ไทย สรศักดิ์ แรตสอน ไทย ศรายุทธ พูลทรัพย์ เอฟบีที
อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด ไทย ภูวนัย วงศ์คำภา ไทย วสันต์ มาลา เอ็มเซเวน

ผู้เล่นต่างชาติ[แก้]

สำหรับการขึ้นทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ กำหนดให้เป็นนักกีฬาฟุตบอลต่างชาติสัญชาติทั่วไปไม่เกิน 3 คน

Note :
Substituted off: ผู้เล่นที่ปล่อยตัวระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
Substituted on: ผู้เล่นที่ลงทะเบียนระหว่างตลาดซื้อขายนักเตะครั้งที่ 2
↔: ผู้เล่นที่มีสองสัญชาติ
→: ผู้เล่นที่ออกจากสโมสรหลังจากลงทะเบียนในเลกแรกหรือเลกที่สอง
ผู้เล่นต่างชาติทั่วไป
ผู้เล่นต่างชาติ (เอเชีย)
ผู้เล่นต่างชาติ (อาเซียน)
ไม่มีการลงทะเบียนผู้เล่นต่างชาติ
สโมสร เลก ผู้เล่นรายที่ 1 ผู้เล่นรายที่ 2 ผู้เล่นรายที่ 3
กองเรือรบ เลกที่ 1
เลกที่ 2
ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค เลกที่ 1 แคเมอรูน นย็องซี ฌัก ดอมีนิก มาดากัสการ์ กี อูว์แบร์
เลกที่ 2
นาวิกโยธิน เลกที่ 1 เบลเยียม บีลาล อโกดัด บราซิล คลาวดีอู รัสเซีย ปาเวล กานีเชฟ
เลกที่ 2
บ้านค่าย ยูไนเต็ด เลกที่ 1 เซนต์คิตส์และเนวิส ทิสฮาน ฮานลีย์ ออสเตรเลีย แมนด์เลนโคซี เอ็นดโลวู ญี่ปุ่น เซยะ ซูงิชิตะ
เลกที่ 2
บีเอฟบี พัทยา ซิตี้ เลกที่ 1 อเมริกันซามัว กอฟฟ์ เจอาร์ แมค คีท รัสเซีย อะเลคซันดร์ ชุร์ชีลิน อิหร่าน คูรอช เชดาอี มาเนช
เลกที่ 2
ปราจีนบุรี ซิตี้ เลกที่ 1
เลกที่ 2
ปลวกแดง ยูไนเต็ด เลกที่ 1 กานา เบอร์นาร์ด โอวูซู มินตาห์ เกาหลีใต้ โช ซึง-ว็อน ประเทศพม่า เลียนเบียกตูวัง
เลกที่ 2
ราชนาวี เลกที่ 1 บราซิล ซีอากู ซังตุส กานา แซม โอเบด โคฟี รัสเซีย เอริค ซาเอรโค
เลกที่ 2
สอ.รฝ. เลกที่ 1 อิตาลี ซีโมเน วัลลี
เลกที่ 2
สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด เลกที่ 1 บราซิล แอแมร์ซง อัลเมดา บราซิล กิลแยร์มี มูไรรา เกาหลีใต้ คิม จุน-ฮย็อน
เลกที่ 2
อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด เลกที่ 1 บราซิล แอแมร์ซง บาลูเตลลี บราซิล ลูอิซ เฟร์นันดู จีอัส บราซิล มาร์กุช วิลเดอร์
เลกที่ 2

การเปลี่ยนแปลงที่ตั้ง และอัตลักษณ์[แก้]

การเปลี่ยนแปลงผู้จัดการทีม[แก้]

สโมสร ผู้จัดการทีมที่ออก สาเหตุที่ออก วันที่ออก อันดับในตารางคะแนน ผู้จัดการทีมที่เข้าแทน วันที่เข้า
อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด ไทย อุทัย สุริเมือง แยกทาง มีนาคม 2566 ก่อนเริ่มฤดูกาล ไทย ภูวนัย วงศ์คำภา กรกฎาคม 2566
ปลวกแดง ยูไนเต็ด ไทย วิมล จันทร์คำ มิถุนายน 2566 ไทย ชยพล คชสาร มิถุนายน 2566[1]
บ้านค่าย ยูไนเต็ด ไทย สุธี สุขสมกิจ 2 กรกฎาคม 2566 ไทย ศุภชัย ศรีลาชัย 5 สิงหาคม 2566[2]
บีเอฟบี พัทยา ซิตี้ ไทย นิกร อนุวรรณ 19 กรกฎาคม 2566 ไทย สุรชาติ สิงห์โหง่น 26 กรกฎาคม 2566[3]
นาวิกโยธิน ไทย นาคิน ธรรมสุวรรณ ปรับโครงสร้าง สิงหาคม 2566 ไทย อิทธิพล นนท์ศิริ
ไทย ภูวดล ดำริห์กิจ
5 สิงหาคม 2566[4]
บ้านค่าย ยูไนเต็ด ไทย ศุภชัย ศรีลาชัย แยกทาง 5 ตุลาคม 2566 อันดับที่ 6 ไทย สายฝน เกษมแสง (รักษาการ) 5 ตุลาคม 2566
ไทย สายฝน เกษมแสง (รักษาการ) สิ้นสุดระยะเวลารักษาการ 12 ตุลาคม 2566 อันดับที่ 4 ไทย นพพร เอกศาสตรา 12 ตุลาคม 2566
ปราจีนบุรี ซิตี้ ไทย สุรชัย ละมูลเกตุ แยกทาง ตุลาคม 2566 อันดับที่ 9 ไทย ยุทธพงษ์ บุญอัมพร พฤศจิกายน 2566[5]
บีเอฟบี พัทยา ซิตี้ ไทย สุรชัย ละมูลเกตุ ปรับโครงสร้าง 28 พฤศจิกายน 2566 อันดับที่ 6 ไทย อัคถภรณ์ ชลิตาภรณ์ 29 พฤศจิกายน 2566[6]

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบหรือการตกชั้น
1 ปลวกแดง ยูไนเต็ด 10 5 5 0 19 6 +13 20 เข้าแข่งขันในรอบระดับประเทศ
2 สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด 10 5 3 2 9 5 +4 18
3 บ้านค่าย ยูไนเต็ด 10 5 3 2 15 12 +3 18
4 ราชนาวี 10 5 2 3 17 10 +7 17
5 อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด 10 4 2 4 9 8 +1 14
6 บีเอฟบี พัทยา ซิตี้ 10 4 2 4 12 13 −1 14
7 กองเรือรบ 10 3 3 4 11 12 −1 12
8 นาวิกโยธิน 10 3 3 4 7 12 −5 12
9 ปราจีนบุรี ซิตี้ 10 3 2 5 7 11 −4 11
10 ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค 10 2 2 6 16 17 −1 8
11 สอ.รฝ. 10 1 3 6 6 22 −16 6 ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด วันที่ 26 พฤศจิกายน 2566. แหล่งที่มา : ไทยลีก
กฎการจัดอันดับ : ก่อนสิ้นสุดฤดูกาล : 1.คะแนนรวม 2.ผลต่างประตูได้-เสีย 3.จำนวนประตูได้ 4.จำนวนนัดที่ชนะ
เมื่อสิ้นสุดฤดูกาลแล้ว: 1.คะแนนรวม 2.ผลการแข่งขันของทีมที่คะแนนเท่ากัน 3.ผลต่างประตูได้-เสียของทีมที่คะแนนเท่ากัน 4.จำนวนประตูได้ของทีมที่คะแนนเท่ากัน 5.ผลต่างประตูได้-เสียทั้งหมด 6.จำนวนประตูได้ทั้งหมด 7.คะแนนใบเหลือง-ใบแดง 8.เพลย์ออฟ[7]


อันดับตามสัปดาห์[แก้]

ตารางด้านล่างนี้จะแสดงอันดับบนตารางคะแนนในแต่ละสัปดาห์ เพื่อที่จะแสดงถึงพัฒนาการของแต่ละสโมสร การแข่งขันที่ถูกเลื่อนออกไปจะไม่แสดงในตาราง แต่จะถูกนับรวมกับการแข่งขันอีกนัดเมื่อได้มีการแข่งขันนั้นเกิดขึ้นใหม่ เช่น การแข่งขันนัดที่ 13 ถูกเลื่อนไประหว่างนัดที่ 16 และ 17 ผลตารางคะแนนจะถูกปรับปรุงในนัดที่ 16

เข้ารอบแข่งขันในรอบระดับประเทศ
ตกชั้นสู่ไทยแลนด์ เซมิโปรลีก
ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2566 อ้างอิง: ไทยลีก

ผลการแข่งขันที่ลงเล่น[แก้]

ปรับปรุงล่าสุดในการแข่งขันเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2566 อ้างอิง: ไทยลีก
N = ไม่มีการแข่งขัน; W = ชนะ; D = เสมอ; L = แพ้

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า / เยือน FET CCH MRE BKU BFB PRC PDU NVY ACD SKU RCU
กองเรือรบ 2–0 1–3 1–1 1–2 1–2
ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค 1–1 4–1 2–3 4–0 0–2
นาวิกโยธิน 0–1 2–1 3–2 0–0 0–3 0–0
บ้านค่าย ยูไนเต็ด 1–1 2–1 1–1 3–1 1–1
บีเอฟบี พัทยา ซิตี้ 0–0 2–0 2–1 0–0 2–0
ปราจีนบุรี ซิตี้ 3–1 2–1 0–1 1–0 0–0
ปลวกแดง ยูไนเต็ด 0–0 3–0 1–1 0–0 2–1
ราชนาวี 0–2 3–2 3–0 2–0 0–1
สอ.รฝ. 1–2 1–3 0–6 1–4 1–0
สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด 2–0 1–2 2–1 1–0 0–0
อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด 2–0 1–2 0–0 1–0
นับผลการแข่งขันล่าสุดถึงวันที่ 26 พฤศจิกายน 2566. ที่มา: ไทยลีก
สีฟ้าหมายถึงทีมเหย้าชนะ สีเหลืองหมายถึงเสมอกัน และสีแดงหมายถึงทีมเยือนชนะ

สถิติ[แก้]

ผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2566
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร ประตู
1 มาดากัสการ์ กี อูว์แบร์ ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค 5
ไทย จักริน เยือกเย็น ปลวกแดง ยูไนเต็ด
บราซิล แอแมร์ซง บาลูเตลลี อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด
4 เซนต์คิตส์และเนวิส ทิสฮาน ฮานลีย์ บ้านค่าย ยูไนเต็ด 4
ไทย อาชิรวัตร ซ้ายมี บีเอฟบี พัทยา ซิตี้
รัสเซีย เอริค ซาเอรโค ราชนาวี
7 ไทย สุตนันท์ เอมโอน ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค 3
ไทย ณัฏฐิกรณ์ ย่าพรหม บ้านค่าย ยูไนเต็ด
ไทย ศิริศักดิ์ ฟูฟุ้ง บ้านค่าย ยูไนเต็ด
กานา เบอร์นาร์ด โอวูซู มินตาห์ ปลวกแดง ยูไนเต็ด
ไทย วรุต ตรงกระโทก ปลวกแดง ยูไนเต็ด
ไทย พงศ์พันธ์ พาระพันธ์ ราชนาวี

แฮตทริก[แก้]

ผู้เล่น สโมสร พบกับ ผลการแข่งขัน วันที่
รัสเซีย เอริค ซาเอรโค ราชนาวี นาวิกโยธิน 0–3 (A) 22 ตุลาคม 2566

คลีนชีตส์[แก้]

ณ วันที่ 26 พฤศจิกายน 2566
อันดับที่ ผู้เล่น สโมสร คลีนชีตส์
1 ไทย พีรพงษ์ วัจนพยนต์ กองเรือรบ 4
ไทย ณัฐกิตติ์ คณาพรถาวรพัฒน์ บีเอฟบี พัทยา ซิตี้
ไทย ชัยรัตน์ เกษราธิคุณ อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด
4 ไทย กิตติศักดิ์ ฟูฟุ้ง ปลวกแดง ยูไนเต็ด 3
ไทย กิตติ สุริเจย์ ปลวกแดง ยูไนเต็ด
ไทย สหฤษฎ์ พิมพะนิตย์ ราชนาวี
ไทย สุทธิพงษ์ คำนิกร สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด
ไทย ศรายุทธ พูลทรัพย์ สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด
9 ไทย ณัฐวุฒิ แย้มประชา นาวิกโยธิน 2
ไทย รัตนศักดิ์ ผงผาย ปราจีนบุรี ซิตี้
11 ไทย พิษณุ เพิ่มทรัพย์ ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค 1
ไทย วุฒิพงษ์ เที่ยงแท้ นาวิกโยธิน
ไทย ณัฐวุฒิ ทรพล บ้านค่าย ยูไนเต็ด
ไทย ณัฐธัญ พลายด้วง ปราจีนบุรี ซิตี้
ไทย อาชัญ แก้วเพชร ราชนาวี
ไทย ณัฐพล กรรณิกา สอ.รฝ.
ไทย ธเนศ แก้วฉุย สอ.รฝ.
ไทย ภูตะวัน ปรางทอง อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด

ผู้ชม[แก้]

สถิติผู้ชมทั้งหมด[แก้]

อันดับ ทีม รวม สูงสุด ต่ำสุด เฉลี่ย เปลี่ยนแปลง
1 ปราจีนบุรี ซิตี้ 2,084 510 351 417 −40.8%
2 ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค 1,063 314 0 266 −26.9%
3 บ้านค่าย ยูไนเต็ด 1,253 360 191 251 +53.0%
4 อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด 921 378 132 230 +40.2%
5 ราชนาวี 895 370 150 224 −5.5%
6 บีเอฟบี พัทยา ซิตี้ 1,088 281 174 218 −60.0%
7 ปลวกแดง ยูไนเต็ด 1,010 250 150 202 −5.2%
8 สอ.รฝ. 962 246 145 192 +17.1%
9 นาวิกโยธิน 952 280 0 190 +8.6%
10 สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด 727 210 80 145 +1.4%
11 กองเรือรบ 657 200 102 131 −22.0%
รวม 11,612 510 0 223 −4.3%

ปรับปรุงล่าสุดในนัดการแข่งขันเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2566
แหล่งข้อมูล: ไทยลีก
หมายเหตุ:'
สโมสรที่เลื่อนชั้นจากไทยแลนด์ เซมิโปรลีก

จำนวนผู้ชมจากเกมเหย้า[แก้]

ทีม / สัปดาห์ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวม
กองเรือรบ 135 102 200 115 105 657
ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค 314 Unk.1 258 291 200 1,063
นาวิกโยธิน 154 280 278 85 155 Unk.3 952
บ้านค่าย ยูไนเต็ด 230 360 262 210 191 1,253
บีเอฟบี พัทยา ซิตี้ 281 202 174 211 220 1,088
ปราจีนบุรี ซิตี้ 351 510 399 404 420 2,084
ปลวกแดง ยูไนเต็ด 250 250 190 170 150 1,010
ราชนาวี 370 150 155 Unk.2 220 895
สอ.รฝ. 246 145 155 213 203 962
สายมิตร กบินทร์ ยูไนเต็ด 205 100 210 132 80 727
อาร์บีอาร์ยู จันทบุรี ยูไนเต็ด 236 378 132 175 921

แหล่งที่มา: ไทยลีก

หมายเหตุ:
Unk.1 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2566 (ฉะเชิงเทรา ไฮ-เทค 2–3 ปลวกแดง ยูไนเต็ด)
Unk.2 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2566 (ราชนาวี 0–2 กองเรือรบ)
Unk.3 ข้อผิดพลาดในการรายงานการแข่งขันเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2566 (นาวิกโยธิน 0–1 กองเรือรบ)

อ้างอิง[แก้]

  1. "OFFICIAL : ช้างศึกคะนองตั้งโค้ชป๋องแทนโค้ชลิงที่ลาทีม". supersubthailand.com. 12 June 2023. สืบค้นเมื่อ 4 October 2023.
  2. ""บ้านค่าย" เปิดตัว "โค้ชเตี้ย" เป็นแม่ทัพคนใหม่ เตรียมลุย T3". ballthai.com. 6 August 2023. สืบค้นเมื่อ 4 October 2023.
  3. "โลมาเพชรฆาตตั้งโค้ชหมีคุมทัพ". supersubthailand.com. 26 July 2023. สืบค้นเมื่อ 4 October 2023.
  4. "ผนึกกำลัง! นาวิกฯ ดัน นาคิน นั่งเทคนิค-โค้ชจุก-โค้ชอั้ม นั่งกุนซือคู่". supersubthailand.com. 5 August 2023. สืบค้นเมื่อ 4 October 2023.
  5. ""ปธ.ปราจีนบุรี" ยึดแนวทางไทยล้วน, ตั้ง "โค้ชโป้ง" คุมทัพเต็มตัว". ballthai.com. 1 December 2023. สืบค้นเมื่อ 4 December 2023.
  6. "โลมาเพชฌฆาตตั้งโค้ชโดนัทนั่งกุนซือ". supersubthailand.com. 29 November 2023. สืบค้นเมื่อ 4 December 2023.
  7. "ระเบียบข้อบังคับว่าด้วยการจัดการแข่งขันกีฬาฟุตบอลลีกอาชีพ รายการ ไทยลีก 3 พ.ศ. 2566/67" (PDF). fathailand.org. สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.