ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศคีร์กีซสถาน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Rameshe999 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เครื่องมือแก้ไขต้นฉบับปี 2560
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ถูกย้อนกลับแล้ว แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 84: บรรทัด 84:
== ประวัติศาสตร์ ==
== ประวัติศาสตร์ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์คีร์กีซสถาน}}
{{บทความหลัก|ประวัติศาสตร์คีร์กีซสถาน}}
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ ===
ยุคก่อนประวัติศาสตร์
{{โครง-ส่วน}}
โครง-ส่วน


=== ยุคประวัติศาสตร์ ===
=== ยุคประวัติศาสตร์ ===

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:55, 26 กุมภาพันธ์ 2564

สาธารณรัฐคีร์กีซ

Кыргыз Республикасы (คีร์กีซ)
Кыргызская Республика (รัสเซีย)
คำขวัญไม่มี
ที่ตั้งของคีร์กีซสถาน
เมืองหลวงบิชเคก
ภาษาราชการภาษาคีร์กีซและภาษารัสเซีย
เดมะนิมKyrgyzstani,[1] Kyrgyz (English)
киргизстанец/ка/цы (Russian)
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ
Sadyr Japarov
ได้รับเอกราช 
• ประกาศ
31 สิงหาคม พ.ศ. 2534
• เป็นที่ยอมรับ
ธันวาคม พ.ศ. 2534
พื้นที่
• รวม
198,500 ตารางกิโลเมตร (76,600 ตารางไมล์) (85)
3.6%
ประชากร
• ก.ค. 2548 ประมาณ
5,146,281 (111)
• สำมะโนประชากร 2542
4,896,100
25 ต่อตารางกิโลเมตร (64.7 ต่อตารางไมล์) (147)
จีดีพี (อำนาจซื้อ) 2561 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น $ 24.531 พันล้าน[2] (อันดับ 139)
เพิ่มขึ้น $ 3,844[2] (อันดับ 147)
จีดีพี (ราคาตลาด) 2561 (ประมาณ)
• รวม
เพิ่มขึ้น $ 8.093 พันล้าน[2] (อันดับ 145)
เพิ่มขึ้น $1,268[2] (อันดับ 157)
จีนี (2560)เพิ่มขึ้น 27.3[3]
ข้อผิดพลาด: ค่าจีนีไม่ถูกต้อง
เอชดีไอ (2560)เพิ่มขึ้น 0.672[4]
ข้อผิดพลาด: ค่า HDI ไม่ถูกต้อง · อันดับ 122
สกุลเงินซอมคีร์กีซสถาน (KGS)
เขตเวลาUTC+5 (KGT)
• ฤดูร้อน (เวลาออมแสง)
UTC+6 (KGST)
ขับรถด้านขวามือ
รหัสโทรศัพท์996
โดเมนบนสุด.kg
บิชเคก
พิพิธภัณฑ์เลนิน

คีร์กีซสถาน (คีร์กีซ: Кыргызстан [qɯrʁɯsˈstɑn]; รัสเซีย: Киргизия; อุซเบก: Qirgʻiziston) หรือมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า สาธารณรัฐคีร์กีซ (คีร์กีซ: Кыргыз Республикасы; รัสเซีย: Кыргызская Республика) เป็นประเทศในเอเชียกลาง มีพรมแดนติดกับสาธารณรัฐประชาชนจีน คาซัคสถาน ทาจิกิสถาน และอุซเบกิสถาน เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล เมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดมีชื่อว่าบิชเคก (Бишкек – เดิมเรียกว่าฟรุนเซ Фрунзе) คีร์กีซสถานเดิมเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต

ภูมิศาสตร์

ที่ตั้ง คีร์กีซสถานมีที่ตั้งตามพิกัดภูมิศาสตร์อยู่ระหว่างละติจูด 37 - 43 องศาเหนือ และระหว่างลองจิจูด 71 – 80 องศาตะวันออก มีขนาดพื้นที่ 198,500 ตารางกิโลเมตร

ลักษณะภูมิประเทศ

คีร์กีซสถานมีภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทือกเขาเทียนชานที่แยกตัวออกมาจากปามีร์นอต ปรากฏทะเลสาบอิสซิค-คุลอยู่ระหว่างสันเขาสูงบริเวณตอนกลางของประเทศ เทือกเขาเทียนชานในเขตคีร์กีซสถานเป็นต้นน้ำของแม่น้ำซีร์ดาเรียที่ไหลลงทะเลอารัลในตอนกลางของภูมิภาค

ลักษณะภูมิอากาศ

ลักษณะภูมิอากาศที่ปรากฏในพื้นที่ของคีร์กีซสถาน พิจารณาเป็นเขตของภูมิอากาศได้ดังนี้

  1. เขตภาคพื้นทวีป ฝนตกมาก อบอุ่นในฤดูร้อน หนาวเย็นในฤดูหนาว ปรากฏอยู่ตามพื้นที่หน้าเขาของเทือกเขาเทียนชาน
  2. เขตขั้วโลก อากาศหนาวจัด ปรากฏอยู่ตามสันเขาสูงซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ ลักษณะอากาศหนาวคล้ายขั้วโลก

ประวัติศาสตร์

ยุคก่อนประวัติศาสตร์ โครง-ส่วน

ยุคประวัติศาสตร์

ศตวรรษที่ 19

ศตวรรษที่ 20

การเมืองการปกครอง

โซโรนบัย เจนเบกัฟ
ประธานาธิบดี
มูฆัมเมตกาลึย อาบึลกาซียิฟ
นายกรัฐมนตรี

รัฐธรรมนูญปี 1993 กำหนดให้คีร์กีซสถานมีการปกครองแบบสาธารณรัฐประชาธิปไตย

บริหาร

ประธานาธิบดีเป็นประมุขและนายกรัฐมนตรีเป็นผู้บริหารประเทศ

นิติบัญญัติ

ระบบสภาเดี่ยว

ตุลาการ

สถานการณ์การเมือง

สิทธิมนุษยชน

การแบ่งเขตการปกครอง

  คีร์กีซสถานตอนเหนือ
  คีร์กีซสถานตอนใต้

ประเทศคีร์กีซสถานแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 7 จังหวัด (province; [oblast] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) และ 2 นคร* (city; [shaar] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) ได้แก่

หมายเหตุ: ชื่อศูนย์กลางการปกครองอยู่ในวงเล็บ

แต่ละจังหวัดแบ่งเป็นอำเภอ (district; [raion] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) ปกครองโดยเจ้าหน้าที่ที่ได้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลกลาง ชุมชนในชนบทเรียกว่า อายึลโอกโมตู ([aiyl okmotu] ข้อผิดพลาด: {{Lang}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ)) และประกอบด้วยหมู่บ้านเล็ก ๆ 20 หมู่บ้านเป็นอย่างมาก ปกครองตนเอง มีนายกเทศมนตรีและสภาที่ได้รับการเลือกตั้ง

กองทัพ

เศรษฐกิจ

พลังงาน

การท่องเที่ยว

โครงสร้างพื้นฐาน

คมนาคม และ โทรคมนาคม

คมนาคม

โทรคมนาคม

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

การศึกษา

สาธารณสุข

สวัสดิการสังคม

ประชากร

ชายสวมหมวกแบบดั้งเดิม

เชื้อชาติ

จำนวนประชากร
ประชากรของประเทศคีร์กีซสถานมีจำนวนทั้งสิ้น 5,264,000 คน (ก.ค. 2548)

ศาสนา

ศาสนาในประเทศคีร์กีซสถาน
ศาสนา ร้อยละ
อิสลาม
  
80%
คริสต์
  
17%
อื่นๆ
  
3%

ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศนับถือศาสนาอิสลามนิกายซุนนีย์ ร้อยละ 80 รองลงมาคือศาสนาคริสต์นิกายรัสเซียออร์ทอดอกซ์ ร้อยละ 17 และศาสนาอื่น ๆ อีกร้อยละ 3[5] ขณะที่ศูนย์วิจัยพิว (Pew Research Center) ได้ประมาณการตัวเลขชาวคีร์กีซที่เป็นมุสลิมในปี พ.ศ. 2552 ว่ามีมากถึงร้อยละ 86.3 ของประชากร[6]

แม้ว่าคีร์กีซสถานจะเคยตกอยู่ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียตที่มิเคยสนับสนุนให้นับถือศาสนา แต่ในปัจจุบันคีร์กีซสถานมีอิทธิพลของอิสลามต่อการเมืองสูงขึ้น[7] เป็นต้นว่า มีสวัสดิการลดภาษีให้แก่ผู้ที่เดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ในนครมักกะห์[7] ประชากรส่วนใหญ่ในประเทศนับถือนิกายซุนนีย์และใช้การศึกษาในแนวทางมัซฮับฮานาฟี[8]

มัสยิดของชาวดันกันที่เมืองการาโกล

ศาสนาอิสลามในคีร์กีซสถาน เป็นมากกว่าปูมหลังทางวัฒนธรรม และเกินกว่าหลักวัตรปฏิบัติ มีศาสนิกชนจำนวนไม่น้อยพยายามฟื้นฟูศาสนาให้คงอยู่ดังเดิม ตูร์ซันเบ บากีร์อูลู ผู้ตรวจการแผ่นดินและนักสิทธิมนุษยชนชาวคีร์กีซ ได้ให้ข้อสังเกตว่า "ในยุคแห่งความเป็นอิสระนี้ ไม่น่าแปลกใจอะไรที่จะหวนกลับไปหารากเหง้าและจิตวิญญาณ ไม่เพียงแต่ในคีร์กีซสถานเท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงอดีตสาธารณรัฐต่าง ๆ ของโซเวียต มันจะเป็นสิ่งที่ผิดศีลธรรม เพื่อพัฒนาสังคมที่ใช้การตลาดโดยไม่คำนึงถึงมิติทางจริยธรรม"[7]

เบร์เมต์ อะคาเยวา บุตรสาวของอดีตประธาธิบดีอัสการ์ อะกาเยฟ ได้ให้สัมภาษณ์ในปี พ.ศ. 2550 ว่าศาสนาอิสลามจะแผ่ขยายไปทั่วประเทศ[9] เธอเน้นย้ำว่ามัสยิดถูกสร้างขึ้นจำนวนมากในประเทศเพื่ออุทิศให้แก่พระศาสนา เธอได้ให้ข้อสังเกตว่า "มันไม่ได้เป็นสิ่งที่ไม่ดีในตัวของมัน มันทำให้สังคมเรามีคุณธรรมมากยิ่งขึ้น สะอาดมากยิ่งขึ้น"[9] ทั้งยังแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างของอิสลามดั้งเดิมกับอิสลามในปัจจุบัน[10]

โบสถ์รัสเซียออร์โธด็อกซ์ในกรุงบิชเคก

ส่วนศาสนาอื่นๆ อย่างศาสนาคริสต์ โดยเฉพาะนิกายรัสเซียออร์ทอดอกซ์ และยูเครนออร์ทอดอกซ์ ในกลุ่มที่มีเชื้อสายรัสเซียและยูเครน ส่วนนิกายลูเธอแรน กับนิกายอานาบัปติสต์ อยู่ในกลุ่มเชื้อสายเยอรมัน และนอกจากนี้ยังมีกลุ่มที่นับถือนิกายโรมันคาทอลิกประมาณ 600 คน[11][12]

ส่วนการนับถือภูตผียังพอมีให้เห็นบ้าง เช่นประเพณีติดธงมนต์บนต้นไม้ศักดิ์สิทธิ์ที่มีกลิ่นอายของพุทธศาสนาซึ่งเคยมีอิทธิพลเหนือดินแดนแถบนี้มาช้านาน แม้ว่าประเพณีบางอย่างเป็นวัตรปฏิบัติของพวกซูฟีก็ตาม[13] ทั้งนี้ในประเทศคีร์กีซสถานเคยมีกลุ่มชาวยิวเมืองบูคาราอยู่ด้วย แต่ปัจจุบันชนกลุ่มดังกล่าวได้ย้ายออกไปยังสหรัฐอเมริกา และอิสราเอลแล้ว

เมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 รัฐสภาได้มีมติเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ในการออกกฎหมายเพิ่มเติม เกี่ยวกับชุมนุมเกี่ยวกับศาสนาตั้งแต่ 10-200 คน ว่าด้วย "การกระทำอันรุนแรงที่มุ่งเป้าไปยังศาสนิก" และห้ามทำกิจกรรมทางศาสนาในโรงเรียนหรือองค์กรที่มิได้รับการจดทะเบียน[14] ซึ่งถูกลงนามโดยประธานาธิบดีกูร์มานเบก บากีฟ เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2552[15]

ภาษา

คีร์กีซสถานเป็นหนึ่งในสองสาธารณรัฐโซเวียตในอดีตที่อยู่ในเอเชียกลาง (ร่วมกับประเทศคาซัคสถาน) ที่มีภาษารัสเซียเป็นภาษาราชการ ภาษาคีร์กีซถูกนำมาใช้เป็นภาษาราชการในปีพ.ศ. 2534 หลังจากกระแสเรียกร้องกดดันจากชนกลุ่มน้อยชาวรัสเซียในประเทศ คีร์กีซสถานได้ประกาศใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาราชการเช่นกันในปี พ.ศ. 2540 ทำให้มีภาษาราชการสองภาษา

ภาษาคีร์กีซอยู่ใน กลุ่มภาษาเตอร์กิกสาขากลุ่มภาษาเคียบชัก ที่มีความเกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิดกับภาษาคาซัค, ภาษาการากัลปัก และภาษาตาตาร์ โนไก ใช้อักษรอาหรับในการเขียนจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 12 อักษรละตินได้ถูกเสนอและนำมาใช้แทนในปี พ.ศ. 2471 และต่อมาเปลี่ยนมาใช้อักษรซีริลลิกตามคำสั่งของ สตาลิน ในปี พ.ศ. 2484

จากการสำรวจสำมะโนประชากรปี 2552 [16]ประชากรกว่า 4.1 ล้านคน พูดภาษาคีร์กีซเป็นภาษาแม่หรือภาษาที่สองและ 2.5 ล้านคนพูดภาษารัสเซียเป็นภาษาแม่หรือภาษาที่สอง, ภาษาอุซเบกเป็นภาษาที่มีการกระจายตัวของผู้พูดเป็นภาษาแม่อย่างกว้างขวางที่สุด มากเป็นอันดับสองรองลงมาคือภาษารัสเซีย, ภาษารัสเซียเป็นภาษาที่มีการกระจายตัวของผู้พูดเป็นภาษาที่สองอย่างกว้างขวางที่สุด ตามด้วยภาษาคีร์กีซและภาษาอุซเบก

ภาษา ผู้พูดเป็นภาษาแม่ ผู้พูดเป็นภาษาที่สอง จำนวนรวม
ภาษาคีร์กีซ 3,830,556 271,187 4,121,743
ภาษารัสเซีย 482,243 2,109,393 2,591,636
ภาษาอุซเบก 772,561 97,753 870,314
ภาษาอังกฤษ 28,416 28,416
ภาษาฝรั่งเศส 641 641
ภาษาเยอรมัน 10 10
อื่น ๆ 277,433 31,411

ธุรกิจและกิจกรรมทางการเมืองหลายอย่างดำเนินการในภาษารัสเซีย จนกระทั่งเมื่อเร็ว ๆ นี้ ภาษาคีร์กีซยังคงเป็นภาษาที่ใช้พูดที่บ้านและไม่ค่อยได้ใช้ในระหว่างการประชุมหรือกิจกรรมอื่น ๆ อย่างไรก็ตามการประชุมรัฐสภา ในระยะหลังนี้ส่วนใหญ่จะดำเนินการในภาษาคีร์กีซพร้อมทั้งมีล่ามทำการแปลสำหรับผู้ที่ไม่ได้พูดคีร์กีซ

วัฒนธรรม

สถาปัตยกรรม

ดนตรี

อาหาร

สื่อสารมวลชน

วันหยุด

กีฬา

การขี่ม้า

มวยสากล

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Kyrgyzstan in the CIA World Factbook.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 "World Economic Outlook Database, April 2019". IMF.org. International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 24 August 2019.
  3. "GINI index (World Bank estimate)". data.worldbank.org. World Bank. สืบค้นเมื่อ 24 August 2019.
  4. "Human Development Report 2017" (PDF). United Nations Development Programme. 2017. Table 1: Human Development Index and its components
  5. "Kyrgyzstan". State.gov. สืบค้นเมื่อ 2010-04-17.
  6. "MAPPING THE GLOBAL MUSLIM POPULATION A Report on the Size and Distribution of the World's Muslim Population" (PDF). Pew Research Center. October 2009.
  7. 7.0 7.1 7.2 "ISN Security Watch – Islam exerts growing influence on Kyrgyz politics". Isn.ethz.ch. สืบค้นเมื่อ 2010-05-02.
  8. "Kyrgyzstan – Quick facts, statistics and cultural notes". Canadiancontent.net. 2005-04-04. สืบค้นเมื่อ 2010-05-02.
  9. 9.0 9.1 "EurasiaNet Civil Society – Kyrgyzstan: Time to Ponder a Federal System – Ex-President's Daughter". Eurasianet.org. 2007-07-17. สืบค้นเมื่อ 2010-05-02.
  10. "Religion and expressive culture – Kyrgyz". Everyculture.com. สืบค้นเมื่อ 2010-05-02.
  11. "Kirguistán la Iglesia renace con 600 católicos" (ภาษาสเปน). ZENIT. 2 October 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 7 October 2008.
  12. "Religion in Kyrgyzstan". Asia.msu.edu. 4 March 2010. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 July 2007. สืบค้นเมื่อ 2 May 2010.
  13. Shaikh Muhammad Bin Jamil Zeno, Muhammad Bin Jamil Zeno – 2006, pg. 264
  14. "Kyrgyzstan's Religious Law". Voanews.com. สืบค้นเมื่อ 2010-05-02.
  15. "Human Rights Activists Condemn New Religion Law". Eurasianet.org. 2009-01-16. สืบค้นเมื่อ 2010-05-02.
  16. "Перепись населения и жилищного фонда Кыргызской Республики (Population and Housing Census of the Kyrgyz Republic), 2009". NSC of Kyrgyzstan. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 21 January 2013. สืบค้นเมื่อ 9 October 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น

รัฐบาล
การศึกษา
ด้านการท่องเที่ยว