ผู้ใช้:Geonuch/กระบะทราย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การจราจรแบ่งตามประเทศ[แก้]

จาก 193 ประเทศที่ได้รับการยอมรับจากสหประชาชาติ (และปาเลสไตน์) มี 140 ประเทศที่ใช้การจราจรขวามือและ 54 ประเทศที่ใช้การจราจรซ้ายมือ ประเทศรวมถึงดินแดนและเขตปกครองตนเองของประเทศนั้น ๆ จะถูกนับเพียงครั้งเดียว

ประเทศ การจราจรบนถนน ปีที่ใช้ การจราจรโดยทั่วไปบนทางรถไฟหลายราง หมายเหตุ
อัฟกานิสถาน ขวา ขวาหรือซ้าย ใช้การจราจรซ้ายมือจนถึง ค.ศ. 1950 ในเส้นทางใกล้เคียงกับบริติชอินเดียและปากีสถานในเวลาต่อมา[1]
แอลเบเนีย ขวา[2] ขวา
แอลจีเรีย ขวา[2] ขวา
อันดอร์รา ขวา[2]
แองโกลา ขวา[2] 1928 เดิมใช้การจราจรซ้ายมือเช่นเดียวกับอาณานิคมของโปรตุเกส เปลี่ยนเป็นการจราจรขวามือตามโปรตุเกสใน ค.ศ. 1928
แอนติกาและบาร์บูดา ซ้าย[2] อดีตอาณานิคมบริติช
อาร์เจนตินา ขวา 10 มิถุนายน

1945

ซ้าย วันที่ 10 มิถุนายนยังเป็นวัน ดิอาเดลาเซกูริดาดเบียล ([Día de la Seguridad Vial, คำแปล วันความปลอดภัยทางถนน] ข้อผิดพลาด: {{Lang-xx}}: ข้อความมีมาร์กอัปตัวเอียง (ช่วยเหลือ))[3]
เปรเมโตร (Premetro) และเมโตรตรานวิอาเมนโดซา (Metrotranvía Mendoza) ใช้การจราจรขวามือ
อาร์เมเนีย ขวา[2] ขวา
ออสเตรเลีย ซ้าย[4] ซ้าย ตั้งแต่การตั้งถิ่นฐานของบริติชในปี 1788
ออสเตรีย ขวา 1921–1938 ขวา[5] เดิมใช้การจราจรซ้ายมือเหมือนอดีตออสเตรีย-ฮังการี เริ่มเปลี่ยนฝั่งในโฟราร์ลแบร์กเมื่อ ค.ศ. 1921 นอร์ททิโรลใน ค.ศ. 1930 คารินเทียและโอสตทิโรลใน ค.ศ. 1935 และส่วนที่เหลือของประเทศใน ค.ศ. 1938 แต่ทางรถไฟเซ็มเมอร์ริงใช้การจราจรซ้ายมือ
อาเซอร์ไบจาน ขวา[2] ขวา
บาฮามาส ซ้าย[2] โดยทั่วไปในบาฮามาสมีการใช้ยานพาหนะพวงมาลัยซ้ายมือเนื่องจากมีการนำเข้ารถมือสองจากสหรัฐ[6][7]
บาห์เรน ขวา 1967 อดีตรัฐในอารักขาของบริติช เปลี่ยนเป็นด้านขวาเหมือนกับประเทศเพื่อนบ้าน[8]
บังคลาเทศ ซ้าย[2] ซ้าย
บาร์เบโดส ซ้าย
เบลเยียม ขวา[2] 1899 ซ้าย รถไฟใต้ดินบรัสเซลส์ใช้การจราจรขวามือแต่ไม่ใช่ในทางปฏิบัติ โดยใช้การจราจรซ้ายมือในเส้นทางวงกลมทางตะวันตกของสายฮัลลีเกตเพื่อให้ขบวนรถทางเดียวกันสามารถใช้เกาะกลางชานชลาเดียวกันได้
เบลารุส ขวา[2] ขวา
เบลีซ ขวา 1961[9] อดีตอาณานิคมบริติช เปลี่ยนเป็นด้านขวาเหมือนกับประเทศเพื่อนบ้าน
เบนิน ขวา[2]
ภูฏาน ซ้าย[2] ภายใต้การอารักขาของบริติชก่อน ค.ศ. 1949
โบลิเวีย ขวา[2]
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา ขวา[2] 1918 ขวา[10] เปลี่ยนเป็นด้านขวาหลังการล่มสลายของออสเตรีย-ฮังการี.
บอตสวานา ซ้าย[2]
บราซิล ขวา 1928[2] ซ้ายหรือขวา อาณานิคมโปรตุเกสจนถึงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 19ใช้การจราจรซ้ายมือและยังคงมีการใช้งานบางส่วนหลังจากประกาศอกราช บางรัฐมีการเปลี่ยนการจราจรซ้ายมือเป็นขวามือใน ค.ศ. 1928 ปีเดียวกันกับโปรตุเกส.[11][12] บางพื้นที่ของบราซิลซึ่งในปัจจุบันคือโบลิเวียใช้การจราจรขวามือ ระบบรถไฟใต้ดินส่วนใหญ่ใช้การจราจรขวามือ
บรูไน ซ้าย[2]
บัลแกเรีย ขวา[2] ขวา
บูร์กินาฟาโซ ขวา[2]
บุรุนดี ขวา อดีตอาณานิคมของเบลเยียม อยู่ในระหว่างการพิจารณาเปลี่ยนเป็นการจราจรซ้ายมือ[13] เหมือนประเทศเพื่อนบ้าน คือ แทนซาเนีย เคนยา และยูกันดา
กัมพูชา ขวา ใช้การจราจรขวามือตั้งแต่ช่วงที่เป็นส่วนหนึ่งของอินโดจีนฝรั่งเศส แต่รถยนต์พวงมาลัยขวามือจำนวนมากถูกลักลอบนำเข้าจากประเทศไทยและถูกห้ามนำเข้าใน ค.ศ. 2001 แม้ว่ารถยนต์เหล่านี้คิดเป็นร้อยละ 80 ของยานพาหนะภายในประเทศ[14]
แคเมอรูน ขวา[2] 1961
แคนาดา ขวา ทศวรรษ 1920 ขวา ดินแดนปัจจุบันของแคนาดาใช้การจราจรขวามือตั้งแต่เริ่มแรก ยกเว้นรัฐบริติชโคลัมเบียซึ่งเปลี่ยนเป็นการจราจรขวามือในระหว่าง ค.ศ. 1920 ถึง 1923,[15][16] และรัฐนิวบรันสวิก รัฐโนวาสโกเชีย และรัฐพรินซ์เอ็ดเวิร์ดไอแลนด์เปลี่ยใน ค.ศ. 1922 1923 และ 1924 ตามลำดับ[17] รัฐนิวฟันด์แลนด์และแลบราดอร์เปลี่ยนเป็นการจราจรขวามือใน ค.ศ. 1947 ขณะที่ยังคงเป็นเครือจักรภพของจักรวรรดิบริติชเมื่อสองปีก่อนเข้าร่วมกับแคนาดา[18]
กาบูเวร์ดี ขวา[2] 1928 เดิมใช้การจราจรซ้ายมือเช่นเดียวกับอาณานิคมของโปรตุเกส เปลี่ยนเป็นการจราจรขวามือตามโปรตุเกสใน ค.ศ. 1928
สาธารณรัฐแอฟริกากลาง ขวา[2]
ชาด ขวา[2]
ชิลี ขวา[2] ทศวรรษ 1920 ซ้าย รถไฟใต้ดินซานเตียโกใช้การจราจรขวามือ
จีน ขวา (จีนแผ่นดินใหญ่)

ซ้าย (ฮ่องกงและมาเก๊า)[2]

1946 ซ้าย (ทางรถไฟหลัก)

ขวา (รถไฟใต้ดินในจีนแผ่นดินใหญ่และบางแห่งในฮ่องกงและมาเก๊า)

ในอดีตมณฑลทางเหนือใช้การจราจรขวามือเนื่องจากอิทธิพลของอเมริกาขณะที่มณฑลทางใต้ใช้การจราจรซ้ายมือเนื่องจากอิทธิพลของบริติช การจราจรซ้ายมือถูกปรับให้เป็นแบบเดียวกันในช่วงคริสตทศวรรษ 1930 ฮ่องกงและมาเก๊าใช้การจราจรซ้ายมือทั้งหมดซึ่งเป็นอิทธิพลที่หลงเหลือจากยุคอาณานิคม ระบบรถไฟฟ้าใต้ดินส่วนมากใช้การจราจรขวามือยกเว้นฮ่องกง เอ็มทีอาร์ (ในทุกสายยกเว้นสายมาออนชานและระยะทางสั้น ๆ ของสายกวนถังและสายซึงวันโอ[19]) และมาเก๊า แอลอาร์ที สะพานฮ่องกง–จูไห่–มาเก๊าใช้การจราจรขวามือแม้ว่าทั้งฮ่องกงและมาเก๊าใช้การจราจรซ้ายมือก็ตาม
โคลอมเบีย ขวา[2] ขวา
คอโมโรส ขวา[2]
คองโก ขวา[2]
สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก ขวา[2]
คอสตาริกา ขวา[2]
โกตดิวัวร์ ขวา[2]
โครเอเชีย ขวา[2] ขวา อิสเตรียและดัลเมเชียใช้การจราจรขวามือ ขณะที่โครเอเชีย-สโลวีเนียใช้การจราจรซ้ายมือเมื่อกลายเป็นส่วนหนึ่งของออสเตรีย-ฮังการี[20]. ภูมิภาคที่ใช้การจราจรซ้ายมือเปลี่ยนเป็นขวามือเมื่อเข้าร่วมกับราชอาณาจักรยูโกสลาเวีย
คิวบา ขวา[2]
ไซปรัส ซ้าย[2] อดีตอาณานิคมบริติช
สาธารณรัฐเช็ก ขวา[2] 1939 ขวา เคยใช้การจราจรซ้ายมือเช่นเดียวกับดินแดนในอดีตของออสเตรีย-ฮังการี เปลี่ยนในช่วงการยึดครองเชโกสโลวาเกียของเยอรมนี.
เดนมาร์ก ขวา ขวา[21] รวมทั้งหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์
จิบูตี ขวา[2]
ดอมินีกา ซ้าย[2] อดีตอาณานิคมบริติช
สาธารณรัฐโดมินิกัน ขวา[2]
ติมอร์ตะวันออก ซ้าย 1976 เดิมใช้การจราจรซ้ายมือเหมือนอาณานิคมของโปรตุเกส เปลี่ยนเป็นการจราจรขวามือตามโปรตุเกสใน ค.ศ. 1928[9] ภายใต้การยึกครองติมอร์ตะวันออกของอินโดนีเซียได้เปลี่ยนกลับเป็นการจราจรซ้ายมืออีกครั้งใน ค.ศ. 1976
เอกวาดอร์ ขวา[2] ซ้าย รถไฟใต้ดินกีโตและระบบรถรางกูเองกาใช้การจราจรขวามือ
อียิปต์ ขวา[2] ซ้าย ยานพาหนะบนถนนใช้การจราจรขวามือเนื่องจากอิทธิพลของฝรั่งเศส แต่ระบบรถไฟได้รับการออกแบบโดยบริษัทของบริติช

ฃฃ

เอลซัลวาดอร์ ขวา[2]
อิเควทอเรียลกินี ขวา[2]
เอริเทรีย ขวา[2] 1964
เอสโตเนีย ขวา[2] ขวา
เอธิโอเปีย ขวา[2] 1964 ซ้าย รถไฟรางเบาอาดดิสอาบาบาใช้การจราจรขวามือ
ฟีจี ซ้าย
ฟินแลนด์ ขวา 1858 ขวาหรือซ้าย เดิมใช้การจราจรซ้ายมือในช่วงที่อยู่ใต้การปกครองของสวีเดน เปลี่ยนเป็นการจราจรขวามือใน ค.ศ. 1858 ในช่วงที่เป็นราชรัฐฟินแลนด์ภายใต้การปกครองของรัสเซีย

[22] การจราจรบนทางรถไฟใช้การจราจรขวามือ ยกเว้นสายรถไฟส่วนใหญ่ของรถไฟชานเมืองเฮลซิงกิใช้การจราจรซ้ายมือ แต่รถไฟใต้ดินเฮลซิงกิใช้การจราจรขวามือ

ฝรั่งเศส ขวา 1792 ซ้าย[23]
(ทางรถไฟหลัก)
ขวา
(ทางรถไฟในอาลซัสและมอแซลและระบบรถไฟใต้ดินส่วนใหญ่)
รวมทั้งเฟรนช์พอลินีเชีย นิวแคลิโดเนีย แซ็งปีแยร์และมีเกอลง วาลิสและฟูตูนา เฟรนช์เกียนา, เรอูนียง, แซ็ง-บาร์เตเลมี, อาณานิคมโพ้นทะเลแซ็ง-มาร์แต็ง กัวเดอลุป และมายอต
ทางรถไฟทั่วไปใช้การจราจรซ้ายมือ แต่แคว้นอาลซัสและจังหวัดมอแซลใช้การจราจรขวามือเนื่องจากเคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเยอรมัน ซีดีจีวาลใช้การจราจรขวามือ ระบบรถไฟใต้ดินส่วนใหญ่ใช้การจราจรขวามือยกเว้นรถไฟใต้ดินลียง
กาบอง ขวา[2]
แกมเบีย ขวา 1965[24] อดีตอาณานิคมบริติช เปลี่ยนเป็นการจราจรขวามือเนื่องจากถูกล้อมรอบด้วยประเทศอดีตอาณานิคมฝรั่งเศสที่ใช้การจราจรขวามือ
จอร์เจีย ขวา[2] ขวา ประมาณร้อยละ 40 ของรถยนต์ในจอร์เจียเป็นรถยนต์พวงมาลัยขวามือเนื่องจากเป็นรถมือสองราคาถูกซึ่งนำเข้าจากญี่ปุ่น[25] กระเช้าลอยฟ้าบาทูมีใช้การจราจรซ้ายมือ
เยอรมนี ขวา[26] ขวา
กานา ขวา 1974[27] Former British colony. Ghana changed to driving on the right on 4 August 1974, the last former British colony in the region to do so, the military National Redemption Council having passed the Right Hand Traffic Act by decree in 1973.[28] When changing to RHT, a Twi language slogan was "Nifa, Nifa Enan" or "Right, Right, Fourth".[29] Ghana has also banned RHD vehicles. Ghana prohibited new registrations of RHD vehicles after 1 August 1974, three days before the traffic change on 4 August 1974. RHD vehicles may be imported only temporarily into Sierra Leone, for example for humanitarian programmes, but must be exported at the end of the operation.
กรีซ ขวา[2] ขวา
เกรเนดา ซ้าย[2]
กัวเตมาลา ขวา[2]
กินี ขวา[2]
กินี-บิสเซา ขวา[2] 1928
กายอานา ซ้าย[2]
เฮติ ขวา[2]
ฮอนดูรัส ขวา[2]
ฮ่องกง ซ้าย[2] อดีตอาณานิคมบริติช
ฮังการี ขวา[2] 1941 ขวา Originally ซ้าย, like most of Austria-Hungary.
ไอซ์แลนด์ ขวา 1968 The day of the switch was known as H-dagurinn. Most passenger cars were already LHD.
อิหร่าน ขวา[2] ขวา
อิรัก ขวา[2] ซ้าย
อินเดีย ซ้าย[2] ซ้าย อดีตอาณานิคมบริติช
อินโดนีเซีย ซ้าย[4] ขวา[30] Roads were built by British, but railways are ขวา due to Netherlands influence. The Jakarta MRT will also use ขวา.
ไอร์แลนด์ ซ้าย[2] ซ้าย Part of the United Kingdom until 1922.
อิสราเอล ขวา[2] ซ้าย The Jerusalem Light Rail uses ขวา.
อิตาลี ขวา ทศวรรษ 1920 ซ้าย Until 1927 the countryside was ขวา while cities were ซ้าย.[31] Rome changed to ขวา in 1924 and Milan in 1926. Alfa Romeo and Lancia did produce LHD cars until as late as 1950 and 1953 respectively only to special order, as many drivers favoured the RHD layout even in ขวา as this offered the driver a clearer view of the edge of the road in mountainous regions at a time when many such roads lacked barriers or walls.[32]
The metro systems in Brescia, Genoa, Milan, and Turin use ขวา, as well as all tram systems.
จาเมกา ซ้าย[2]
ญี่ปุ่น ซ้าย[33] ซ้ายหรือขวา Post-World War II Okinawa was ruled by the United States Civil Administration of the Ryukyu Islands and was ขวา. It was returned to Japan in 1972 but did not convert back to ซ้าย until 1978.[34] The conversion operation was known as 730 (Nana-San-Maru, which means Nana(7)-San(3)-Maru(0)). Okinawa is one of few places to have changed from ขวา to ซ้าย in the late 20th century. The Hakone Ropeway uses ขวา. Also then has been several geared ขวา vehicles, imported from North American and Europe including muscle cars, luxury cars, performance cars and sport cars. It begin to starts selling all cars and unveiled at car shows instead using the ซ้ายs importers by country, currently it uses as a mixture between ซ้ายs and ขวาs in Japan.
จอร์แดน ขวา[2] ขวา, despite the Mandate for Palestine and the Transjordan memorandum being under British rule till 1946.
คาซัคสถาน ขวา[2] ขวา
เคนยา ซ้าย[35] British colony until 1963.
คิริบาส ซ้าย[2]
เกาหลีเหนือ ขวา 1946 ซ้ายหรือขวา Korea had been ซ้าย because of the influence of Japan in the 1900s. Switched to ขวา under Soviet and American occupation after 1945.
The metro system in Pyongyang uses a mixture of ขวา and ซ้าย.
เกาหลีใต้ ขวา 1946 ซ้ายหรือขวา Korea had been ซ้าย because of the influence of Japan in the 1900s. Switched to ขวา under Soviet and American occupation after 1945.
Most metro systems in South Korea use ขวา (exceptions include lines 1 and 4 of the Seoul Metropolitan Subway, the Bundang Line, and the Shinbundang Line).
คูเวต ขวา[2]
คีร์กีซสถาน ขวา ขวา Former part of ขวา Soviet Union. In 2012, over 20,000 cheaper used RHD cars were imported from Japan.[36]
ลาว ขวา[2] ซ้าย ขวา implemented while part of French Indochina.
ลัตเวีย ขวา[2] ขวา
เลบานอน ขวา[2] Former French mandate.
เลโซโท ซ้าย[2]
ไลบีเรีย ขวา[2]
ลิเบีย ขวา[2]
ลิกเตนสไตน์ ขวา[2] ขวา
ลิทัวเนีย ขวา[2] ขวา
ลักเซมเบิร์ก ขวา[2] ขวา
มาซิโดเนีย ขวา[2] ขวา
มาดากัสการ์ ขวา[2]
มาลาวี ซ้าย[2]
มาเลเซีย ซ้าย[2] ซ้าย Former British colony.
มัลดีฟส์ ซ้าย[2]
มาลี ขวา[2]
มอลตา ซ้าย[2] British colony until 1964.
หมู่เกาะมาร์แชลล์ ขวา[2]
มอริเตเนีย ขวา Mining roads between Fd?rik and Zou?rat are ซ้าย.[37]
มอริเชียส ซ้าย[2] Former British colony. Island nation.
เม็กซิโก ขวา[2] ขวา
ไมโครนีเซีย ขวา[2]
มอลโดวา ขวา[2] ขวา
โมนาโก ขวา[2] ซ้าย
มองโกเลีย ขวา[2] ขวา
มอนเตเนโกร ขวา[2] ขวา
โมร็อกโก ขวา[2] ขวา
โมซัมบิก ซ้าย[38] ซ้าย
พม่า ขวา 1970 ซ้าย Much of infrastructure still geared to ซ้าย, most cars are pre-owned RHD vehicles, imported from Japan.[39]
เนเธอร์แลนด์ ขวา 1906[40] ขวา Rotterdam was ซ้าย until 1917.[41] Includes Cura?ao, Sint Maarten, and Aruba
นามิเบีย ซ้าย 1918 ขวา as a German colony. After South Africa occupied German South-West Africa during World War I, switched to ซ้าย.[9] South-West Africa was made a South African mandate by the League of Nations, and the new rule of the road was established in law.[42]
นาอูรู ซ้าย[2] 1918
เนปาล ซ้าย[43]
นิวซีแลนด์ ซ้าย[4] ซ้าย Includes territories Niue and Cook Islands
นิการากัว ขวา[2]
ไนเจอร์ ขวา[2]
ไนจีเรีย ขวา 1972[44] ซ้าย Former British colony. Switched to ขวา as it is surrounded by former French ขวา colonies.
นอร์เวย์ ขวา[2] ขวา
โอมาน ขวา Not a party to the Vienna Convention on Road Traffic and bans all foreign-registered RHD vehicles.[45]
ปาเลา ขวา[2] ขวา
ปาเลสไตน์ ขวา[2]
ปากีสถาน ซ้าย[2] ซ้าย Was part of undivided India
ปานามา ขวา 1943[46] ขวา
ปาปัวนิวกินี ซ้าย[2]
ปารากวัย ขวา 1945[47]
เปรู ขวา[2] ซ้าย
ฟิลิปปินส์ ขวา 1946[48] ขวา Was ซ้าย during the Spanish and American colonial periods. Switched to ขวา during Battle of Manila in 1945.
โปแลนด์ ขวา ขวา Partitions of Poland belonging to the German Empire and the Russian Empire were ขวา. Partitions that were part of Austria-Hungary were ซ้าย and changed to ขวา in the 1920s.[49]
โปรตุเกส ขวา[4] 1928 ซ้าย Colonies Goa, Macau and Mozambique, which had land borders with ซ้าย countries, did not switch and continue to drive on the left.[38] The Porto Metro uses ขวา.
กาตาร์ ขวา[2]
โรมาเนีย ขวา[2] ขวา Transylvania was ซ้าย like most of former Austria-Hungary, while Wallachia and Moldavia were already ขวา.
รัสเซีย ขวา[2] ขวา In the Russian Far East RHD vehicles are common due to the import of used cars from nearby Japan.[50] Railway between Moscow and Ryazan is ซ้าย. Sormovskaya line in Nizhny Novgorod Metro also uses ซ้าย.
รวันดา ขวา[13] Former Belgian mandate. Considering switching to ซ้าย[13][51] like its neighbours Tanzania, Kenya and Uganda.
เซนต์คิตส์และเนวิส ซ้าย Former British colony.
เซนต์ลูเชีย ซ้าย Former British colony.
เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์ ซ้าย Former British colony.
ซามัว ซ้าย 2009 Switched to ซ้าย to allow the import of cars more cheaply from Australia, New Zealand and Japan.[4]
ซานมารีโน ขวา[2]
เซาตูเมและปรินซีปี ขวา[2] 1928
ซาอุดีอาระเบีย ขวา[2] ซ้าย The Makkah Metro and the Riyadh Metro use ขวา.
เซเนกัล ขวา[2]
เซอร์เบีย ขวา[2] ขวา Vojvodina was ซ้าย while part of Austria-Hungary.
เซเชลส์ ซ้าย[2]
เซียร์ราลีโอน ขวา 1971[52] Importation of RHD vehicles was banned in 2013.[53]
สิงคโปร์ ซ้าย[2] ซ้าย Former British colony.
สโลวาเกีย ขวา[2] 1939–41 ขวา Was ซ้าย like most of former Austria-Hungary. Switched to ขวา when it became a client state of Nazi Germany.
สโลวีเนีย ขวา[2] ซ้าย Was ซ้าย like most of Austria-Hungary. Switched to ขวา to unite with Croatia-Slavonia, Dalmatia, Bosnia and Herzegovina, Serbia and Montenegro to form with Kingdom of Serbs, Croats and Slovenes.
หมู่เกาะโซโลมอน ซ้าย[2]
โซมาเลีย ขวา 1968[54]
แอฟริกาใต้ ซ้าย[55][56] ซ้าย Former British colony.
เซาท์ซูดาน ขวา 1973 Was ซ้าย during the period of British colonial rule. Split from Sudan in 2011 after the majority of the population voted for independence.
สเปน ขวา 1924 ขวา Up to the 1920s Barcelona was ขวา, and Madrid was ซ้าย until 1924. The Madrid and Bilbao metro systems use ซ้าย.[57]
ศรีลังกา ซ้าย[2] ซ้าย Former British colony.
ซูดาน ขวา[2] 1973 Former British colony.
ซูรินาม ซ้าย[2]
สวาซิแลนด์ ซ้าย[2]
สวีเดน ขวา[2] 3 กันยายน 1967 ซ้าย The day of the switch was known as Dagen H. Most passenger cars were already LHD. The tram systems in Gothenburg (except for a short part), Norrk?ping and Stockholm are ขวา.[58] The railways in Malm? use ขวา due to the connection to Denmark.
สวิตเซอร์แลนด์ ขวา[2] ซ้าย The tram system in Zurich and the Lausanne Metro use ขวา.
ซีเรีย ขวา[2]
ไต้หวัน ขวา 1946 ซ้าย Was ซ้าย during the period of Japanese rule. The government of the Republic of China changed Taiwan to ขวา in 1946 along with the rest of China.[59] Most metro systems use ขวา.
ทาจิกิสถาน ขวา[2] ขวา
แทนซาเนีย ซ้าย[2]
ไทย ซ้าย[4] ซ้าย One of the few ซ้าย countries not a former British colony. Shares long land border with ขวา Laos and Cambodia.
โตโก ขวา[2]
ตองกา ซ้าย[2]
ตรินิแดดและโตเบโก ซ้าย[60] Former British colony.
ตูนิเซีย ขวา[2] ซ้าย French ขวา was enforced in the French protectorate of Tunisia from 1881.
ตุรกี ขวา[2] ขวา
เติร์กเมนิสถาน ขวา[2] ขวา
ตูวาลู ซ้าย[2]
ยูกันดา ซ้าย[2]
ยูเครน ขวา 1922[49] ขวา West Ukraine was ซ้าย, like most of former Austria-Hungary. Carpathian Ruthenia remained ซ้าย as part of Czechoslovakia before switching in 1941 as part of Hungary. The rest of Ukraine, having been part of the Russian Empire, already drove on the right.
Some sections of Kryvyi Rih Metrotram use ซ้าย due to tramcars have doors only on right side, which makes it impossible to use ขวา at stations with island platforms.[61]
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ขวา[2] ขวา
สหราชอาณาจักร ซ้าย
(แผ่นดินใหญ่สหราชอาณาจักร)
ขวา
(ยิบรอลตาร์ บริติชอินเดียนโอเชียนเทร์ริทอรี)
1929
(ในยิบรอลตาร์)
ซ้าย Includes Crown Dependencies and Overseas Territories Isle of Man, Guernsey, Jersey, Anguilla, Bermuda, British Virgin Islands, Cayman Islands, Falkland Islands, Montserrat, Pitcairn Islands, Turks and Caicos Islands, Saint Helena, Ascension, Tristan da Cunha are all ซ้าย. Gibraltar has been ขวา since 1929 because of its land border with Spain.[62] The British Indian Ocean Territory is the only other overseas territory driving on the right. The Channel Islands (Jersey and Guernsey) drove on the right under German occupation until their liberation in 1945.[63] The Falkland Islands similarly drove on the right during their occupation by Argentina in 1982.[64] The PRT system at London Heathrow Airport Terminal 5 uses ขวา. On the London Underground, there are three sections where ขวา is used: a section of the Central line between East Acton and Shepherd's Bush, a section of the Victoria line between Highbury & Islington station and Oxford Circus, and a section of the Jubilee line in the vicinity of the Baker Street station.
สหรัฐ ขวา
ซ้าย
(หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐ)
ขวาหรือซ้าย[65] Includes American Samoa, Guam, Northern Mariana Islands, Puerto Rico. U.S. Virgin Islands is ซ้าย, like much of the Caribbean.
อุรุกวัย ขวา 1945[66] ซ้าย Became ซ้าย in 1918, but as in some other countries in South America, changed to ขวา on 2 September 1945.[66] A speed limit of 30 km/h (19 mph) was observed until 30 September for safety.
อุซเบกิสถาน ขวา[2] ขวา
วานูอาตู ขวา[67]
เวเนซุเอลา ขวา[2] ซ้าย The Caracas Metro uses ขวา.
เวียดนาม ขวา[2] ซ้าย Became ขวา as French Indochina.
เยเมน ขวา 1977[9] South Yemen, formerly the British colony of Aden, changed to ขวา in 1977. A series of postage stamps commemorating the event was issued.[68] North Yemen was already ขวา.
แซมเบีย ซ้าย[2]
ซิมบับเว ซ้าย ซ้าย Former British colony. In 2010 the government attempted to ban LHD vehicles.[69]
  1. L. R. Reddy (2002). Inside Afghanistan: End of the Taliban Era?. APH. ISBN 9788176483193. สืบค้นเมื่อ 31 August 2015.
  2. 2.000 2.001 2.002 2.003 2.004 2.005 2.006 2.007 2.008 2.009 2.010 2.011 2.012 2.013 2.014 2.015 2.016 2.017 2.018 2.019 2.020 2.021 2.022 2.023 2.024 2.025 2.026 2.027 2.028 2.029 2.030 2.031 2.032 2.033 2.034 2.035 2.036 2.037 2.038 2.039 2.040 2.041 2.042 2.043 2.044 2.045 2.046 2.047 2.048 2.049 2.050 2.051 2.052 2.053 2.054 2.055 2.056 2.057 2.058 2.059 2.060 2.061 2.062 2.063 2.064 2.065 2.066 2.067 2.068 2.069 2.070 2.071 2.072 2.073 2.074 2.075 2.076 2.077 2.078 2.079 2.080 2.081 2.082 2.083 2.084 2.085 2.086 2.087 2.088 2.089 2.090 2.091 2.092 2.093 2.094 2.095 2.096 2.097 2.098 2.099 2.100 2.101 2.102 2.103 2.104 2.105 2.106 2.107 2.108 2.109 2.110 2.111 2.112 2.113 2.114 2.115 2.116 2.117 2.118 2.119 2.120 2.121 2.122 2.123 2.124 2.125 2.126 2.127 2.128 2.129 2.130 2.131 2.132 2.133 2.134 2.135 "Worldwide Driving Orientation by Country". สืบค้นเมื่อ 13 December 2016.
  3. "10 de Junio: D?a Mundial de la Seguridad Vial". สืบค้นเมื่อ 13 December 2016.
  4. 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 "Right-Hand Traffic versus Left-Hand Traffic". The Basement Geographer. สืบค้นเมื่อ 20 November 2016.
  5. New Scientist, Volume 112, IPC Magazines, 1986, page 18
  6. Roadway Guidance in the Bahamas
  7. Safety and security - Bahamas travel advice, GOV.UK
  8. Bahrain Government Annual Reports, Times of India Press, 1968, page 158
  9. 9.0 9.1 9.2 9.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ kincaid
  10. https://www.youtube.com/watch?v=RqL4Ky7ebRQ
  11. "Hist?ria". Touring Club do Brasil (ภาษาโปรตุเกส). สืบค้นเมื่อ 8 January 2017. ""J? na d?cada de 1920 (...) Em um pa?s onde os documentos veiculares s? tinham validade municipal e alguns estados adotavam a m?o-inglesa" (Translation: In the 1920s (...) In a country where vehicular documents were valid only citywide and some states adopted left-hand traffic.)
  12. "Decreto 18.323/1928" (ภาษาโปรตุเกส). สืบค้นเมื่อ 17 January 2017. "Art. 31. S?o obriga??es communs a todos os conductores de vehiculos: a) conservar sua direita, trafegando o mais proximo possivel da beira da estrada, e sempre deixando a seu lado esquerdo espa?o livre para passagem dos vehiculos que tiverem de passar ? frente ou que transitarem em senttido contrario." (Translation: article 31: The common obligations to vehicle drivers are; a) Keep to the right, driving the closest as possible to the roadside, letting their left side free for vehicles overtaking or for oncoming traffic.), the first nationwide traffic legislation, cited unambiguously ขวา as the standard for the country.
  13. 13.0 13.1 13.2 Nkwame, Marc (27 July 2013). "Burundi, Rwanda to start driving on the left". DailyNews Online. สืบค้นเมื่อ 28 May 2016.
  14. "Cambodia bans right-hand drive cars". BBC News. 1 January 2001. สืบค้นเมื่อ 12 January 2007.
  15. "Change of Rule of Road in British Columbia 1920" (PDF). The British Columbia Road Runner. March 1966. สืบค้นเมื่อ 27 August 2017.
  16. Griffin, Kevin (1 January 2016). "Week In History: Switching from the left was the right thing to do". Vancouver Sun. สืบค้นเมื่อ 26 August 2017.
  17. Smith, Ivan. "Highway Driving Rule Changes Sides". History of Automobiles - The Early Days in Nova Scotia, 1899-1949. สืบค้นเมื่อ 27 August 2017.
  18. Dyer, Gwynne (30 August 2009). "A triumph for left over right". Winnipeg Free Press. สืบค้นเมื่อ 27 August 2017.
  19. https://commons.wikimedia.org/wiki/File:MTR_multiple_cross_platform_interchange.svg
  20. Baedeker, Karl (1900). "Austria, including Hungary, Transylvania, Dalmatia and Bosnia". p. xiii-xiv. สืบค้นเมื่อ 28 July 2017. In Styria, Upper and Lower Austria, Salzburg, Carniola, Croatia, and Hungary we keep to the left, and pass to the right in overtaking; in Carinthia, Tyrol, and the Austrian Littoral (Adriatic coast: Trieste, Gorizia and Gradisca, Istria and Dalmatia) we keep to the right and overtake to the left. Troops on the march always keep to the right side of the road, so in whatever part of the Empire you meet them, keep to the left.
  21. ";Hvorfor k?rer nogle lande i h?jre side? (Why do some countries drive on the right side?)". videnskab.dk. สืบค้นเมื่อ 31 Aug 2014.
  22. "H?gertrafik i Sverige och Finland". aland.net.
  23. 'Left is right on the road', Mick Hamer New Scientist, 25 December 1986 – 1 January 1987 No 1540/1541, p.16.
  24. Tourist and Business Directory - The Gambia, 1969, page 19
  25. https://sputnik-georgia.ru/reviews/20170602/236203054/Vyzhivut-li-pravorulnye-mashiny-v-Gruzii.html
  26. Hillger, Don; Toth, Garry. "Right-Hand/Left-Hand Driving Customs". Colorado State University. สืบค้นเมื่อ 13 December 2016.
  27. Daily Graphic, Issue 7526, December 21 1974, page 9
  28. "Right-Hand Traffic Act". Ghanalegal.com. สืบค้นเมื่อ 2014-05-14.
  29. Phil Bartle. "Studies Among the Akan People of West Africa Community, Society, History, Culture; With Special Focus on the Kwawu by Phil Bartle, PhD". Cec.vcn.bc.ca. สืบค้นเมื่อ 2014-05-14.
  30. hadi anto (26 July 2016). "indonesia train compilation" – โดยทาง YouTube.
  31. "Sight for sure eyes, Honest John's Agony Column". The Daily Telegraph. สืบค้นเมื่อ 28 March 2008. {{cite web}}: ไม่อนุญาตให้ใช้มาร์กอัปตัวเอียงหรือตัวหนาใน: |publisher= (help)
  32. Nick Georgano, บ.ก. (2000). "Lancia". The Beaulieu Encyclopedia of the Automobile (Vol. 2: G-O ed.). Taylor & Francis. p. 867. ISBN 1-57958-293-1.
  33. "Why Does Japan Drive On The Left". 2pass.co.uk. สืบค้นเมื่อ 11 August 2006.
  34. Andrew H. Malcolm (5 July 1978). "U-Turn for Okinawa: From Right-Hand Driving to Left; Extra Policemen Assigned". The New York Times. p. A2.
  35. "Customs Services Department – Frequently Asked Questions". KRA. สืบค้นเมื่อ 12 December 2010.
  36. "Over 20,000 Right Hand Drive Cars Imported in Kyrgyzstan in 2012". The Gazette of Central Asia. Satrapia. 8 May 2013.
  37. "Photo of All Change. Swop Over Point for the Traffic !". Panoramio. สืบค้นเมื่อ 10 June 2012.
  38. 38.0 38.1 Mozambique: memoirs of a revolution, John Paul, Penguin, 1975, page 41
  39. Myanmar’s car market set to take new direction, Motokazu Matsui and Takemi Nakagawa, Financial Times, 2 January 2017
  40. Peter van Ammelrooy. "De Claim links rijden" (ภาษาดองกา). Volkskrant.nl. สืบค้นเมื่อ 2014-05-14.
  41. "De geschiedenis van het linksrijden". Engelfriet.net. สืบค้นเมื่อ 2014-05-14.
  42. The Laws of South West Africa, Volume 2, J. Meibert, 1961
  43. "2.1 "Keeping Left" – Land Transport (Road User) Rule 2004 – New Zealand Legislation". New Zealand Government. สืบค้นเมื่อ 28 November 2010.
  44. Africa, Issues 6-10, Africa Journal, Limited, 1972, page 32
  45. "Travel advice by country, Oman". Foreign & Commonwealth Office (fco.gov.uk). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 เมษายน 2008. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2006.
  46. Panama Shifts To Right Handed Driving Of Cars, Chicago Tribune, April 25, 1943
  47. De izquierda a derecha, ABC Color, 2 March 2014
  48. "Executive Order No. 34, s. 1945". www.officialgazzete.gov.ph.
  49. 49.0 49.1 "Krakowska Komunikacja Miejska – autobusy, tramwaje i krakowskie inwestycje drogowe – History of the Cracow tram network". Komunikacja.krakow.eurocity.pl. 28 November 1982. สืบค้นเมื่อ 11 May 2009.
  50. "Russian Far East is still attached to Japanese cars". Russia behind the headlines. 31 August 2016. สืบค้นเมื่อ 12 August 2017.
  51. Peter. "Rwanda to adopt EAC driving standards". Rwanda Transport. สืบค้นเมื่อ 12 August 2013.
  52. The Rising Sun: A History of the All People's Congress Party of Sierra Leone, A.P.C. Secretariat, 1982, page 396
  53. Sierra Leone Bans Right-Hand Vehicles as Hazards, Voice of America, Nina de Vries, 17 September 2013
  54. "Somalia – Visa service and travel information". Travcour. สืบค้นเมื่อ 22 August 2013.
  55. "Road Rules". SACarRental.com. สืบค้นเมื่อ 15 February 2014.
  56. "Driving in South Africa Information". drivesouthafrica.co.za. สืบค้นเมื่อ 15 February 2014.
  57. Moya, Aurora. "Metro de Madrid, 1919–1989. Setenta a?os de historia", Chapter 1
  58. Taplin, Michael (1995). Light Rail in Europe. Capital Transport. pp. 126, 128. ISBN 1-85414-180-5.
  59. Passed by the Legislative Yuan (1946). "???? (Act Governing the Punishment of Police Offences)". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 December 2013. สืบค้นเมื่อ 14 August 2012.
  60. Trinidad and Tobago Adventure Guide, Kathleen O'Donnell, Stassi Pefkaros, Hunter Publishing, Inc, 2000, page 53
  61. https://www.youtube.com/watch?v=7Mqng0q_pWI
  62. Colonial Reports, Annual, Volumes 1480-1499, 1930, page 76
  63. The Channel Islands War: 1940-1945, Peter King, Hale, 1991, page 31
  64. Tobar, Hector (1 April 2002). "'82 Falklands Conflict Left a Legacy of Tragedy, Hope". Los Angeles Times. สืบค้นเมื่อ 1 March 2010.
  65. "Which side of the road do they drive on?". brianlucas.ca.
  66. 66.0 66.1 El d?a en que el R?o de la Plata dej? de manejar por la izquierda, Autoblog, 25 August 2015
  67. "RHD/LHD Country Guide". toyota-gib.com. สืบค้นเมื่อ 22 September 2017.
  68. "South Yemen – Postage stamps – 1977". stampworld.com.
  69. Left-hand vehicles to stay, NewsDay, 30 January 2014