จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดลำปางในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

← พ.ศ. 2544 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (โมฆะ) →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ78.77%
  First party Second party
 
พรรค ไทยรักไทย มหาชน
ที่นั่งก่อนหน้า 5 0
ที่นั่งที่ชนะ 5 0
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 Steady0
คะแนนเสียง 319,795 41,148
% 71.63 9.28

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 5 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดลำปาง)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ไทยรักไทย 319,795 71.63%
มหาชน 41,148 9.28%
อื่น ๆ 85,526 19.16%
ผลรวม 446,469 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
71.63%
มหาชน
  
9.28%
อื่น ๆ
  
15.56%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดลำปาง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดลำปาง
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ชาติไทย (1) 21,498 4.82
กิจสังคม (2) 1,178 0.26
พัฒนาชาติไทย (3) 1,197 0.27
ประชาธิปัตย์ (4) 39,304 8.80
ประชาชนไทย (5) 927 0.21
คนขอปลดหนี้ (6) 4,604 1.03
ธรรมชาติไทย (7) 672 0.15
แผ่นดินไทย (8) 1,827 0.41
ไทยรักไทย (9) 319,795 71.63
ความหวังใหม่ (10) 1,820 0.41
มหาชน (11) 41,148 9.28
ประชากรไทย (12) 710 0.16
ไทยช่วยไทย (13) 1,015 0.23
แรงงาน (14) 1,225 0.27
ชาติประชาธิปไตย (15) 1,173 0.26
กสิกรไทย (16) 453 0.10
ทางเลือกที่สาม (17) 259 0.06
รักษ์ถิ่นไทย (18) 613 0.14
พลังเกษตรกร (19) 6,341 1.42
พลังประชาชน (20) 710 0.16
บัตรดี 446,469 95.60
บัตรเสีย 16,116 3.45
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,409 0.94
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 466,994 78.77
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 592,835 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองลำปาง (เฉพาะตำบลปงแสนทอง ตำบลชมพู ตำบลกล้วยแพะ ตำบลพระบาท ตำบลพิชัย ตำบลบ้านเสด็จ ตำบลเวียงเหนือ ตำบลสบตุ๋ย ตำบลสวนดอก และตำบลหัวเวียง)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ไพโรจน์ โล่ห์สุนทร (9)* 44,757 53.66
มหาชน มัธยม นิภาเกษม (11) 28,041 33.62
ประชาธิปัตย์ พลตรี วิชัย จักรวัฒนา (4) 9,905 11.88
คนขอปลดหนี้ ศิรินทร์ทิพย์ เป็นคุณ (6) 711 0.85
ผลรวม 83,414 100.00
บัตรดี 83,414 88.13
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 5,091 5.38
บัตรเสีย 6,145 6.49
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 94,650 79.76
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 118,672 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองลำปาง (เฉพาะตำบลบ้านค่า ตำบลบ้านเอื้อม ตำบลบ้าเป้า ตำบลนิคมพัฒนา ตำบลต้นธงชัย ตำบลบุญนาคพัฒนา ตำบลทุ่งฝาย และตำบลบ่อแฮ้ว) อำเภอห้างฉัตร และอำเภอเมืองปาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย กิตติกร โล่ห์สุนทร (9) 55,697 61.55
ชาติไทย จินดา วงศ์สวัสดิ์ (1)* 28,619 31.63
ประชาธิปัตย์ เกริก กาศเจริญ (4) 3,519 3.89
มหาชน วาจิส กันทะวัง (11) 2,113 2.34
คนขอปลดหนี้ รัชดา ศิริพรมพิศาล (6) 543 0.60
ผลรวม 90,491 100.00
บัตรดี 90,491 90.24
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,043 2.04
บัตรเสีย 7,742 7.72
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 100,276 80.31
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 124,863 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเมืองลำปาง (เฉพาะตำบลบ้านแลง) อำเภองาว อำเภอวังเหนือ และอำเภอแจ้ห่ม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย วาสิต พยัคฆบุตร (9)* 36,835 47.60
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจโท สมเกียรติ พ่วงทรัพย์ (4) 18,973 24.52
ชาติไทย สุริยา อูปทอง (1) 11,716 15.14
มหาชน สำคัญ วรรณบวร (11) 6,623 8.56
ความหวังใหม่ พันเอก เด็ดดวง ณ ลำปาง (10) 1,685 2.18
ชาติประชาธิปไตย พันตำรวจตรี ถนัด หิรัญคำ (15) 1,056 1.37
คนขอปลดหนี้ จักรกฤษณ์ ใจสีคำ (6) 501 0.65
ผลรวม 77,389 100.00
บัตรดี 77,389 87.70
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,322 2.63
บัตรเสีย 8,528 9.66
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 88,239 74.99
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 117,662 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเกาะคา อำเภอแม่เมาะ และอำเภอแม่ทะ (ยกเว้นตำบลสันดอนแก้ว ตำบลบ้านบอม และตำบลบ้านกิ่ว)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พินิจ จันทรสุรินทร์ (9)* 54,408 63.83
ชาติไทย เสน่ห์ แก้วมาลัย (1) 15,372 18.03
ประชาธิปัตย์ พันตำรวจโท สิทธา ทองสวัสดิ์ (4) 11,089 13.01
มหาชน วิภาดา ฝั้นเต็ม (11) 3,380 3.97
คนขอปลดหนี้ วิรัชดา หอมแก่นจันทร์ (6) 994 1.17
ผลรวม 85,243 100.00
บัตรดี 85,243 90.51
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,225 2.36
บัตรเสีย 6,717 7.13
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 94,185 83.32
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 113,040 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

ประกอบไปด้วยอำเภอเถิน อำเภอเสริมงาม อำเภอสบปราบ อำเภอแม่พริก และอำเภอแม่ทะ (เฉพาะตำบลสันดอนแก้ว ตำบลบ้านบอม และตำบลบ้านกิ่ว)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดลำปาง
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย อิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ (9)* 51,726 65.02
มหาชน ธารทอง ทองสวัสดิ์ (11)✔ 22,369 28.12
ชาติไทย เทวินทร์ จันทราช (1) 2,304 2.90
คนขอปลดหนี้ ณาตยา ไชยเมืองชื่น (6) 1,662 2.09
ประชาธิปัตย์ สุธรรม ศุภมงคล (4) 1,490 1.87
ผลรวม 79,551 100.00
บัตรดี 79,551 88.73
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,509 1.68
บัตรเสีย 8,593 9.58
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 89,653 75.59
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 118,598 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

อ้างอิง[แก้]

  1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2548" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 29 พฤษภาคม 2563. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)