จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
จังหวัดกาญจนบุรีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548

← พ.ศ. 2544 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2549 (โมฆะ) →

5 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ผู้ใช้สิทธิ74.60%
  First party Second party
 
พรรค ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์
เลือกตั้งล่าสุด 2 2
ที่นั่งก่อนหน้า 3 2
ที่นั่งที่ชนะ 5 (4) 0 (1)
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น2 ลดลง2
คะแนนเสียง 223,842 101,995
% 58.28 26.55

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร
ไทยรักไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดกาญจนบุรี พ.ศ. 2548 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 5 เขตเลือกตั้ง[1] เท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อปี พ.ศ. 2544 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 1 คน

ภาพรวม[แก้]

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รวมทั้งจังหวัดกาญจนบุรี)[แก้]

พรรค คะแนนเสียง
จน. % +/–
ไทยรักไทย 223,842 58.28%
ประชาธิปัตย์ 101,995 26.55%
อื่น ๆ 58,279 15.17%
ผลรวม 384,116 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
58.28%
ประชาธิปัตย์
  
26.55%
อื่น ๆ
  
15.17%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง ส.ส.แบ่งเขต
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 43,994 57.36% 19,910 25.96% 12,789 16.68% 76,693 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 46,746 56.55% 23,420 28.33% 12,498 15.12% 82,664 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
เขต 3 42,498 51.29% 32,695 39.46% 7,665 9.25% 82,858 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 4 53,800 68.04% 6,711 8.49% 18,561 23.47% 79,072 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 5 36,804 58.58% 19,259 30.65% 6,766 10.77% 62,829 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 223,842 58.28% 101,995 26.55% 58,279 15.17% 384,116 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รวมทั้งจังหวัดกาญจนบุรี)[แก้]

พรรค จำนวน
ผู้สมัคร
คะแนนเสียง ที่นั่ง
จน. % จน. +/– %
ไทยรักไทย 5 206,051 56.13% 5 เพิ่มขึ้น2 100.00%
ประชาธิปัตย์ 5 120,708 32.88% 0 ลดลง2 0.00%
อื่น ๆ 6 40,347 10.99% 0 Steady 0.00%
ผลรวม 16 367,106 100.00% 5 Steady 100.00%
คะแนนเสียง
ไทยรักไทย
  
56.13%
ประชาธิปัตย์
  
32.88%
อื่น ๆ
  
10.99%
ที่นั่ง
ไทยรักไทย
  
100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต (รายเขตเลือกตั้ง)[แก้]

เขตการเลือกตั้ง ไทยรักไทย ประชาธิปัตย์ อื่น ๆ ผลรวม ผลการเลือกตั้ง
คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง % คะแนนเสียง %
เขต 1 36,509 49.24% 22,271 30.04% 15,360 20.72% 74,140 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
เขต 2 48,066 59.92% 24,420 30.44% 7,728 9.64% 80,214 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
เขต 3 33,776 42.53% 45,635 57.47% 79,411 100.00% ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง
(26,711) (100.00%) (26,711) 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 4 53,471 71.47% 4,089 5.47% 17,259 23.06% 74,819 100.00% ไทยรักไทย ได้ที่นั่ง
เขต 5 34,229 58.49% 24,293 41.51% 58,522 100.00% ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง
ผลรวม 206,051 56.13% 120,708 32.88% 40,347 10.99% 367,106 100.00%

ผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ[แก้]

e • d ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค คะแนนเสียง ร้อยละ
ชาติไทย (1) 25,615 6.67
กิจสังคม (2) 801 0.21
พัฒนาชาติไทย (3) 1,224 0.32
ประชาธิปัตย์ (4) 101,995 26.55
ประชาชนไทย (5) 747 0.20
คนขอปลดหนี้ (6) 1,692 0.44
ธรรมชาติไทย (7) 573 0.15
แผ่นดินไทย (8) 1,140 0.30
ไทยรักไทย (9) 223,842 58.28
ความหวังใหม่ (10) 578 0.15
มหาชน (11) 14,480 3.77
ประชากรไทย (12) 539 0.14
ไทยช่วยไทย (13) 857 0.22
แรงงาน (14) 2,813 0.73
ชาติประชาธิปไตย (15) 1,746 0.46
กสิกรไทย (16) 292 0.08
ทางเลือกที่สาม (17) 173 0.05
รักษ์ถิ่นไทย (18) 425 0.11
พลังเกษตรกร (19) 4,222 1.10
พลังประชาชน (20) 362 0.09
บัตรดี 384,116 95.32
บัตรเสีย 13,992 3.47
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 4,887 1.21
ผู้มาใช้สิทธิ์เลือกตั้ง 402,998 74.60
ผู้มีสิทธิ์เลือกตั้ง 540,180 100.00

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต[แก้]

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4เขต 5

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองกาญจนบุรี

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พลเอก สมชาย วิษณุวงศ์ (9) 36,509 49.24
ประชาธิปัตย์ สุเมธ โพธิพิพิธ (4) 22,271 30.04
มหาชน วสันต์ ภูษิตกาญจนา (11) 10,516 14.18
ชาติไทย วิมล พนมศักดิ์ (1) 4,844 6.53
ผลรวม 74,140 100.00
บัตรดี 74,140 92.23
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,331 2.90
บัตรเสีย 3,919 4.87
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 80,390 73.50
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 109,376 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอท่าม่วง (ยกเว้นตำบลท่าตะค้อ ตำบลพังตรุ และตำบลหนองตากยา) อำเภอพนมทวน (ยกเว้นตำบลรางหวาย) และอำเภอด่านมะขามเตี้ย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย สันทัด จีนาภักดิ์ (9)* 48,066 59.92
ประชาธิปัตย์ พินิจ โพธิพิพิธ (4) 24,420 30.44
ชาติไทย สมาน เลื่อนเครือ (1) 5,237 6.53
มหาชน อรัญญา คณากรณ์ (11) 2,491 3.11
ผลรวม 80,214 100.00
บัตรดี 80,214 91.64
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 2,391 2.73
บัตรเสีย 4,930 5.63
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 87,535 74.97
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 116,760 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอท่ามะกา และอำเภอท่าม่วง (เฉพาะตำบลท่าตะค้อ ตำบลพังตรุ และตำบลหนองตากยา)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ปารเมศ โพธารากุล (4) 45,635 57.47
ไทยรักไทย เรวัต สิรินุกุล (9)* 33,776 42.53
ผลรวม 79,411 100.00
บัตรดี 79,411 91.50
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,677 1.93
บัตรเสีย 5,701 6.57
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 86,789 77.53
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,949 100.00
ประชาธิปัตย์ รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเลาขวัญ อำเภอบ่อพลอย อำเภอห้วยกระเจา และอำเภอพนมทวน (เฉพาะตำบลรางหวาย)

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย ไพบูลย์ พิมพ์พิสิฐถาวร (9)* 53,471 71.47
มหาชน อนุกูล แพรไพศาล (11) 12,559 16.79
ชาติไทย สุชาติ นวกวงษ์ (1) 4,700 6.28
ประชาธิปัตย์ พลตำรวจตรี สุรัตน์ ยุทธโยธิน (4) 4,089 5.47
ผลรวม 74,819 100.00
บัตรดี 74,819 90.58
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,491 1.81
บัตรเสีย 6,291 7.62
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 82,601 76.08
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 108,576 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 5[แก้]

เขตการเลือกตั้งที่ 5 ประกอบด้วยอำเภอทองผาภูมิ อำเภอไทรโยค อำเภอสังขละบุรี อำเภอศรีสวัสดิ์ และอำเภอหนองปรือ

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 5 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย พลโท มะ โพธิ์งาม (9) 34,229 58.49
ประชาธิปัตย์ ประชา โพธิพิพิธ (4)✔ 24,293 41.51
ผลรวม 58,522 100.00
บัตรดี 58,522 87.43
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 1,513 2.26
บัตรเสีย 6,899 10.31
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 66,934 71.57
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 93,519 100.00
ไทยรักไทย รักษาที่นั่ง

การเลือกตั้งใหม่[แก้]

ในภายหลังที่ประชุมคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) มีมติสั่งเพิกถอนสิทธิเลือกตั้งของนายปารเมศ โพธารากุล ว่าที่ ส.ส.เขต 3 จังหวัดกาญจนบุรี พรรคประชาธิปัตย์ เป็นเวลา 1 ปี (การแจกใบแดง) และมติดังกล่าวมีผลให้ กกต. ต้องสั่งเลือกตั้งใหม่ในเขตเลือกตั้งที่ 3 จังหวัดกาญจนบุรี โดยกำหนดวันเลือกตั้งใหม่คือวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2548

ซึ่งในกรณีที่ถูกใบแดงและต้องเลือกตั้งใหม่ ผู้สมัครเดิมในเขตจากทุกพรรคจะเข้าสู่การเลือกตั้งใหม่อีกครั้งยกเว้นนายปารเมศ โพธารากุลที่ถูกใบแดง พรรคประชาธิปัตย์ไม่สามารถส่งผู้สมัครคนใหม่ลงแทนนายปารเมศได้ และเนื่องจากเขตเลือกตั้งที่ 3 เดิมผู้สมัครเพียง 2 ราย ส่งผลให้การเลือกตั้งใหม่ที่จัดขึ้นเหลือเพียงนายเรวัต สิรินุกุล ผู้สมัครจากพรรคไทยรักไทยเป็นผู้สมัครรายเดียวของเขตเลือกตั้งนี้

เขตเลือกตั้งที่ 3[แก้]

ผลการเลือกตั้งใหม่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดกาญจนบุรี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ไทยรักไทย เรวัต สิรินุกุล (9)✔ 26,711 100.00
ประชาธิปัตย์ ปารเมศ โพธารากุล (4)
ผลรวม 26,711 100.00
บัตรดี 26,711 47.88
ไม่ประสงค์ลงคะแนน 10,429 18.70
บัตรเสีย 18,641 33.42
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง 55,781 49.83
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 111,949 100.00
ไทยรักไทย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
  • สัดส่วนร้อยละ 20 ของผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนี้คือ 22,390 คน

โดยนายเรวัตได้รับคะแนนเสียงมากกว่าสัดส่วนร้อยละ 20 (22,390) และมากกว่าจำนวนผู้ไม่ประสงค์ลงคะแนน (10,429) จึงทำให้นายเรวัตได้รับเลือกเป็น ส.ส.เขตเลือกตั้งนี้

อ้างอิง[แก้]

  1. คณะกรรมการการเลือกตั้ง. "ข้อมูล สถิติ และผลการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2548" (PDF). คลังสารสนเทศของสถาบันนิติบัญญัติ. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-06-03. สืบค้นเมื่อ 29 May 2020.