สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย
ชื่อย่อAFC
ก่อตั้ง7 พฤษภาคม 1954; 69 ปีก่อน (1954-05-07)
ประเภทองค์การกีฬา
สํานักงานใหญ่กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย
ภูมิภาคที่รับผิดชอบ
เอเชียและโอเชียเนีย
สมาชิก
47 ชาติสมาชิก
ภาษาทางการ
อังกฤษ
อาหรับ[1]
ซัลมาน บิน อิบรอฮีม อาล เคาะลีฟะฮ์
รองประธาน
ดูรายชื่อ
เลขาธิการ
ดาโต๊ะ ซรี วินด์เซอร์ จอห์น[2][3]
องค์กรปกครอง
ฟีฟ่า
หน่วยงานในกํากับ
  • AFF (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
  • CAFA (เอเชียกลาง)
  • EAFF (เอเชียตะวันออก)
  • SAFF (เอเชียใต้)
  • WAFF (เอเชียตะวันตก)
เว็บไซต์the-afc.com

สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (อังกฤษ: Asian Football Confederation) หรือ เอเอฟซี (AFC) เป็นองค์กรที่ควบคุมการแข่งขันฟุตบอลในทวีปเอเชีย จัดการเกี่ยวกับทีมฟุตบอล เงินรางวัล กฎระเบียบ รวมถึงลิขสิทธิ์ในการถ่ายทอดฟุตบอล เอเอฟซีเป็น 1 ใน 6 สมาคมที่จัดการแข่งขันฟุตบอลทั่วโลกของฟีฟ่า

เอเอฟซีก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2497 ที่ มะนิลา ในประเทศฟิลิปปินส์ ปัจจุบันสำนักงานใหญ่ย้ายมาอยู่ที่ กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย

สมาชิก[แก้]

สหพันธ์ภูมิภาคแห่งเอเอฟซี

เอเอฟซีมีชาติสมาชิก 47 ประเทศ แบ่งออกเป็น 5 ภูมิภาค ดังนี้

รหัส ชื่อ ก่อตั้ง เข้าร่วม
ฟีฟ่า
เข้าร่วม
เอเอฟซี
สมาชิก
ไอโอซี
สหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน (AFF) (12)
AUS  ออสเตรเลีย[m 1] 1961 1963 2006 ใช่[m 2]
BRU  บรูไนดารุสสลาม 1952 1972 1969 ใช่
CAM  กัมพูชา 1933 1954 1954 ใช่
IDN  อินโดนีเซีย 1930 1952 1954 ใช่
LAO  ลาว 1951 1952 1968 ใช่
MAS  มาเลเซีย 1933 1954 1954 ใช่
MYA  พม่า 1947 1948 1954 ใช่
PHI  ฟิลิปปินส์ 1907 1930 1954 ใช่
SGP  สิงคโปร์ 1892 1952 1954 ใช่
THA  ไทย 1916 1925 1954 ใช่
TLS  ติมอร์-เลสเต 2002 2005 2002 ใช่
VIE  เวียดนาม 1960 1952 1954 ใช่
สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียกลาง (CAFA) (6)
AFG  อัฟกานิสถาน 1933 1948 1954 ใช่
IRN  อิหร่าน 1920 1948 1958 ใช่
KGZ  คีร์กีซสถาน 1992 1994 1993 ใช่
TJK  ทาจิกิสถาน 1936 1994 1993 ใช่
TKM  เติร์กเมนิสถาน 1992 1994 1993 ใช่
UZB  อุซเบกิสถาน 1946 1994 1993 ใช่
สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันออก (EAFF) (10)
CHN  จีน 1924 1931 1974 ใช่
TPE  จีนไทเป[m 3] 1936 1954 1954 ใช่
PRK  สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี 1945 1958 1974 ใช่
GUM  กวม 1975 1996 1991 ใช่[m 2]
HKG  ฮ่องกง 1914 1954 1954 ใช่
JPN  ญี่ปุ่น 1921 1921 1954 ใช่
KOR  สาธารณรัฐเกาหลี 1928 1948 1954 ใช่
MAC  มาเก๊า 1939 1978 1978 ไม่[m 4]
MNG  มองโกเลีย 1959 1998 1993 ใช่
NMI  หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา 2005 N/A 2020 ไม่[m 5]
สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียใต้ (SAFF) (7)
BAN  บังกลาเทศ 1972 1976 1974 ใช่
BHU  ภูฏาน 1983 2000 1993 ใช่
IND  อินเดีย 1937 1948 1954 ใช่
MDV  มัลดีฟส์ 1982 1986 1984 ใช่
NEP  เนปาล 1951 1972 1954 ใช่
PAK  ปากีสถาน 1947 1948 1954 ใช่
SRI  ศรีลังกา 1939 1952 1954 ใช่
สหพันธ์ฟุตบอลเอเชียตะวันตก (WAFF) (12)
BHR  บาห์เรน 1957 1968 1969 ใช่
IRQ  อิรัก 1948 1950 1970 ใช่
JOR  จอร์แดน 1949 1956 1970 ใช่
KUW  คูเวต 1952 1964 1964 ใช่
LBN  เลบานอน 1933 1936 1964 ใช่
OMA  โอมาน 1978 1980 1980 ใช่
PLE  ปาเลสไตน์ 1928 1998 1998 ใช่
QAT  กาตาร์ 1960 1972 1974 ใช่
KSA  ซาอุดีอาระเบีย 1956 1956 1972 ใช่
SYR  ซีเรีย 1936 1937 1970 ใช่
UAE  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1971 1974 1974 ใช่
YEM  เยเมน 1962 1980 1980 ใช่

หมายเหตุ[แก้]

  1. อดีตสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (1966–1972, 1978–2006) ที่เข้าร่วมเอเอฟซี
  2. 2.0 2.1 ประเทศหรือดินแดนโอเชียเนียเป็นสมาชิกของคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติโอเชียเนียมากกว่าสภาโอลิมปิกแห่งเอเชีย
  3. อดีตสมาชิกสมาพันธ์ฟุตบอลโอเชียเนีย (1976–1982) ที่เข้าร่วมเอเอฟซี
  4. คณะกรรมการโอลิมปิกของมาเก๊าเป็นสมาชิกโอซีเอ ไม่ใช่สมาชิกไอโอซี
  5. เป็นส่วนหนึ่งของคณะกรรมการโอลิมปิกสหรัฐ

อดีตสมาชิก[แก้]

สมาพันธ์ ปี หมายเหตุ
 อิสราเอล 1954–1974 ถูกขับออกจากการแข่งขันเอเอฟซีใน ค.ศ. 1974 ซึ่งเป็นผลจากข้อเสนอของคูเวต ซึ่งมีผลโหวตเป็น 17 ต่อ 13 และไม่มา 6 [5][6] กลายเป็นสมาชิกยูฟ่าเต็มตัวใน ค.ศ. 1994
 นิวซีแลนด์ 1964[7] สมาชิกก่อตั้งโอเอฟซีใน ค.ศ. 1966
 เยเมนใต้ 1972–1990[8] เข้าร่วมเยเมนเหนือในฐานะเยเมน
 คาซัคสถาน 1993–2002 เข้าร่วมยูฟ่าใน ค.ศ. 2002

สมาชิกร่วม[แก้]

เป็นสมาชิกร่วมทั้ง AFC & UAFA (สหภาพสมาคมฟุตบอลอาหรับ)

การแข่งขัน[แก้]

การแข่งขันระดับเอเอฟซี[แก้]

การแข่งขันระดับภูมิภาค[แก้]

ผู้ชนะในปัจจุบัน[แก้]

การแข่งขัน ผู้ชนะ สมัย ต่อไป
เอเชียนคัพ ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ 1st 2023
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 23 ปี  ซาอุดีอาระเบีย 1st 2024
ฟุตบอลชิงแชมป์เอเชีย รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี  อุซเบกิสถาน 1st 2025
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี  ญี่ปุ่น 4th 2025
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชีย ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 4th 2024
ฟุตซอลหญิงชิงแชมป์เอเชีย ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 1st 2018
ฟุตซอลชิงแชมป์เอเชียอายุไม่เกิน 20 ปี ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 1st 2019
ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์เอเชีย ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 2nd 2019
เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก อูราวะ เรดไดมอนส์ 3rd 2023-24
เอเอฟซีคัพ อัล-เซเอ็บ 1st 2023-24
เอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ นาโงยะ โอเชียนส์ 4th 2019
เอเชียนคัพหญิง ธงชาติจีน จีน 9th 2026
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 19 ปี  ญี่ปุ่น 5th 2019
ฟุตบอลเอเชียเยาวชนหญิงอายุไม่เกิน 16 ปี  เกาหลีเหนือ 3rd 2019

ทัวร์นาเมนต์หลัก[แก้]

ฟุตบอลโลก[แก้]

สัญลักษณ์
  • 1st – แชมป์
  • 2nd – รองแชมป์
  • 3rd – ที่ 3
  • 4th – ที่ 4
  • QF – รอบก่อนรองชนะเลิศ (รอบ 8 ทีม)
  • R16 – รอบ 16 ทีม (ตั้งแต่ปี 1986: knockout round of 16)
  • GS – รอบคัดเลือก
  • 1S – รอบ 1 คัดออก (1934–1938 Single-elimination tournament)
  •    — ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
  •  ×  — ได้แข่งขัน แต่ถอนตัว
  •     — ไม่ได้เข้าร่วม / ถอนตัว / โดนแบน
  •     — เจ้าภาพ

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลก เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

FIFA World Cup record
Team 1930
อุรุกวัย
(13)
1934
ราชอาณาจักรอิตาลี
(16)
1938
สาธารณรัฐฝรั่งเศสที่ 3
(15)
1950
บราซิล
(13)
1954
สวิตเซอร์แลนด์
(16)
1958
สวีเดน
(16)
1962
ชิลี
(16)
1966
อังกฤษ
(16)
1970
เม็กซิโก
(16)
1974
เยอรมนีตะวันตก
(16)
1978
อาร์เจนตินา
(16)
1982
สเปน
(24)
1986
เม็กซิโก
(24)
1990
อิตาลี
(24)
1994
สหรัฐ
(24)
1998
ฝรั่งเศส
(32)
2002
ญี่ปุ่น
เกาหลีใต้
(32)
2006
เยอรมนี
(32)
2010
แอฟริกาใต้
(32)
2014
บราซิล
(32)
2018
รัสเซีย
(32)
2022
ประเทศกาตาร์
(32)
2026
แคนาดา
เม็กซิโก
สหรัฐ
(48)
Years
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ Did not exist × GS × × GS GS GS GS 4th GS R16 GS GS Q 11
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน × × × × × × × × × GS × × GS GS GS GS Q 6
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น × × × × × × GS R16 GS R16 GS R16 Q 7
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย Did not exist × × × × × R16 GS GS GS GS Q 6
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย Part of OFC GS GS GS 3
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ Did not exist × × × × QF × × × × GS × 2
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ Did not exist × × Q 1
ธงชาติจีน จีน × × × × × × × × × × GS 1
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Did not exist × × GS 1
ธงชาติอิรัก อิรัก Did not exist × × × × × × × GS 1
ธงชาติคูเวต คูเวต Did not exist × × × × × × GS 1
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย[9] × × 1S × × × × × × 1
ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล Did not exist GS Not a member of AFC 1
Total (13 teams) 0 0 1 0 1 0 0 1 1 0 1 1 2 2 2 4 4 4 4 4 5 4+1
or
5+1
42

ฟุตบอลโลกหญิง[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

FIFA Women's World Cup record
Team 1991
จีน
(12)
1995
สวีเดน
(12)
1999
สหรัฐ
(16)
2003
สหรัฐ
(16)
2007
จีน
(16)
2011
เยอรมนี
(16)
2015
แคนาดา
(24)
2019
ฝรั่งเศส
(24)
2023
ออสเตรเลีย
นิวซีแลนด์
(32)
Years
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น GS QF GS GS GS 1st 2nd R16 Q 9
ธงชาติจีน จีน QF 4th 2nd QF QF QF R16 Q 8
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย Part of OFC QF QF QF R16 Q 5
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ GS R16 GS Q 4
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ × GS GS QF GS × × 4
ธงชาติไทย ไทย GS GS 2
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ Q 1
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม × × × Q 1
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป QF 1
Total (9 teams) 3 2 3 4 4 3 5 5 5+1 35

เอเชียนคัพ[แก้]

Team ฮ่องกง
1956
เกาหลีใต้
1960
อิสราเอล
1964
อิหร่าน
1968
ไทย
1972
อิหร่าน
1976
คูเวต
1980
สิงคโปร์
1984
ประเทศกาตาร์
1988
ญี่ปุ่น
1992
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
1996
เลบานอน
2000
จีน
2004
อินโดนีเซีย
มาเลเซีย
ไทย
เวียดนาม
2007
ประเทศกาตาร์
2011
ออสเตรเลีย
2015
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2019
Total
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย QF 2nd 1st QF 4
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน GS 4th GS GS GS R16 6
ธงชาติบังกลาเทศ บังกลาเทศ GS 1
ธงชาติกัมพูชา กัมพูชา 4th 1
ธงชาติจีน จีน 3rd GS 2nd 4th 3rd QF 4th 2nd GS GS QF QF 12
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 3rd 4th 2
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง 3rd 4th 5th 3
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 2nd GS GS GS 4
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย GS GS GS GS 4
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 1st 1st 1st 3rd 4th 3rd GS 3rd QF 3rd QF QF QF SF 14
ธงชาติอิรัก อิรัก GS 4th QF QF QF 1st QF 4th R16 9
ธงชาติอิสราเอล อิสราเอล 2nd 2nd 1st 3rd 4
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น GS 1st QF 1st 1st 4th 1st QF 2nd 9
ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน QF QF GS R16 4
ธงชาติคูเวต คูเวต GS 2nd 1st 3rd GS 4th QF GS GS GS 10
ธงชาติคีร์กีซสถาน คีร์กีซสถาน R16 1
ธงชาติเลบานอน เลบานอน GS GS 2
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย GS GS GS 3
ธงชาติประเทศพม่า พม่า 2nd 1
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 4th GS GS GS GS 5
ธงชาติโอมาน โอมาน GS GS GS R16 4
ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์ GS GS 2
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ GS 1
ธงชาติประเทศกาตาร์ กาตาร์ GS GS GS GS QF GS GS QF GS 1st 10
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 1st 1st 2nd 1st 2nd GS 2nd GS GS R16 10
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ GS 1
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 1st 1st 3rd 2nd 2nd GS 2nd QF 3rd QF 3rd 3rd 2nd QF 14
ธงชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเยเมน เยเมนใต้ GS 1
ธงชาติซีเรีย ซีเรีย GS GS GS GS GS GS 6
ธงชาติไทย ไทย 3rd GS GS GS GS GS R16 7
ธงชาติเติร์กเมนิสถาน เติร์กเมนิสถาน GS GS 2
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ GS GS GS 4th 2nd GS GS GS 3rd SF 10
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน GS GS QF QF 4th QF R16 7
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม 4th 4th QF QF 4
ธงชาติเยเมน เยเมน GS 1
Total 4 4 4 5 6 6 10 10 10 8 12 12 16 16 16 16 24

เอเชียนคัพหญิง[แก้]

Team ฮ่องกง
1975
ไต้หวัน
1977
อินเดีย
1979
ฮ่องกง
1981
ไทย
1983
ฮ่องกง
1986
ฮ่องกง
1989
ญี่ปุ่น
1991
มาเลเซีย
1993
มาเลเซีย
1995
จีน
1997
ฟิลิปปินส์
1999
จีนไทเป
2001
ไทย
2003
ออสเตรเลีย
2006
เวียดนาม
2008
จีน
2010
เวียดนาม
2014
จอร์แดน
2018
Total
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 3rd 3rd 2nd 4th 1st 2nd 2nd 7
ธงชาติจีน จีน 1st 1st 1st 1st 1st 1st 1st 3rd 2nd 1st 2nd 4th 3rd 3rd 14
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป 1st 1st 1st 2nd 3rd 4th 3rd 4th 2nd GS GS GS GS 13
ธงชาติกวม กวม GS GS GS GS 4
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง GS GS 4th 4th GS GS 4th GS GS GS GS GS GS GS 14
ธงชาติอินเดีย อินเดีย 2nd 3rd 2nd GS GS GS GS GS 8
ธงชาติอินโดนีเซีย อินโดนีเซีย 4th GS 4th GS 4
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น GS GS 2nd 3rd 2nd 3rd 2nd 3rd 4th 2nd 4th 4th 3rd 3rd 1st 1st 16
ธงชาติจอร์แดน จอร์แดน GS GS 2
ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน GS GS GS 3
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ GS 4th 2nd 2nd 3rd 1st 1st 3rd 1st 2nd 10
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ GS GS 4th GS GS 4th 3rd GS GS GS 4th 5th 12
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย 4th GS 3rd GS GS GS GS GS GS 9
ธงชาติประเทศพม่า พม่า GS GS GS GS 4
ธงชาติเนปาล เนปาล GS GS GS 3
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 1st 1
ธงชาติฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ GS GS GS GS GS GS GS GS 6th 9
ธงชาติสิงคโปร์ สิงคโปร์ GS 3rd GS 4th GS GS GS 7
ธงชาติไทย ไทย 2nd 2nd 2nd 1st 3rd GS GS GS GS GS GS GS GS GS 5th 4th 16
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน GS GS GS GS GS 5
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม GS GS GS GS GS GS 6th GS 8
Total 6 6 6 8 6 7 8 9 8 11 11 15 14 14 9 8 8 8 8 162

ทัวร์นาเมนต์ระดับโลกอื่นๆ[แก้]

คอนเฟเดอเรชันส์คัพ[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันคอนเฟเดอเรชันส์คัพ เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team ซาอุดีอาระเบีย
1992
(4)
ซาอุดีอาระเบีย
1995
(6)
ซาอุดีอาระเบีย
1997
(8)
เม็กซิโก
1999
(8)
เกาหลีใต้
ญี่ปุ่น
2001
(8)
ฝรั่งเศส
2003
(8)
เยอรมนี
2005
(8)
แอฟริกาใต้
2009
(8)
บราซิล
2013
(8)
รัสเซีย
2017
(8)
Total
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น GS 2nd GS GS GS 5
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย 2nd GS GS 4th 4
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย Part of OFC GS 1
ธงชาติอิรัก อิรัก GS 1
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ GS 1
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ GS 1
Total 1 2 2 1 2 1 1 1 1 1 13

โอลิมปิคฤดูร้อน[แก้]

(Note: สามารถนำไปปรับใช้ได้, จำนวนแสดงถึงจำนวนทีมในประเทศ)

Team 1900 to 1928 เยอรมนี
1936
(16)
สหราชอาณาจักร
1948
(18)
ฟินแลนด์
1952
(25)
ออสเตรเลีย
1956
(11)
อิตาลี
1960
(16)
ญี่ปุ่น
1964
(14)
เม็กซิโก
1968
(16)
เยอรมนีตะวันตก
1972
(16)
แคนาดา
1976
(13)
สหภาพโซเวียต
1980
(16)
สหรัฐ
1984
(16)
เกาหลีใต้
1988
(16)
สเปน
1992
(16)
สหรัฐ
1996
(16)
ออสเตรเลีย
2000
(16)
กรีซ
2004
(16)
จีน
2008
(16)
สหราชอาณาจักร
2012
(16)
บราซิล
2016
(16)
ญี่ปุ่น
2020
(16)
Total
ญี่ปุ่น QF GS QF 3rd GS QF GS GS 4th GS q 11
เกาหลีใต้ QF GS GS GS GS GS QF GS 3rd QF 10
อิรัก not a member of AFC QF GS GS 4th GS 5
อินเดีย GS GS 4th GS 4
จีน GS GS GS 3
คูเวต QF GS GS 3
อิหร่าน GS GS QF 3
ซาอุดีอาระเบีย GS GS 2
กาตาร์ GS QF 2
ไทย GS GS 2
จีนไทเป GS GS 2
อิสราเอล QF QF not a member of AFC 2
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ not a member of AFC GS 1
ออสเตรเลีย Part of OFC GS 1
ซีเรีย GS 1
เกาหลีเหนือ QF 1
มาเลเซีย GS 1
พม่า GS 1
อินโดนีเซีย QF 1
อัฟกานิสถาน GS 1
Total 0 2 4 1 4 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 4 3 3 - 57

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team ตูนิเซีย
1977
(16)
ญี่ปุ่น
1979
(16)
ออสเตรเลีย
1981
(16)
เม็กซิโก
1983
(16)
สหภาพโซเวียต
1985
(16)
ชิลี
1987
(16)
ซาอุดีอาระเบีย
1989
(16)
โปรตุเกส
1991
(16)
ออสเตรเลีย
1993
(16)
ประเทศกาตาร์
1995
(16)
มาเลเซีย
1997
(24)
ไนจีเรีย
1999
(24)
อาร์เจนตินา
2001
(24)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2003
(24)
เนเธอร์แลนด์
2005
(24)
แคนาดา
2007
(24)
อียิปต์
2009
(24)
โคลอมเบีย
2011
(24)
ตุรกี
2013
(24)
นิวซีแลนด์
2015
(24)
เกาหลีใต้
2017
(24)
โปแลนด์
2019
(24)
Total
 เกาหลีใต้ GS GS 4th QF GS GS GS R16 GS GS QF R16 QF R16 2nd 15
 ญี่ปุ่น GS QF QF 2nd GS QF R16 R16 R16 R16 10
 ซาอุดีอาระเบีย GS GS GS GS GS GS R16 R16 GS 9
 จีน GS QF GS R16 R16 5
 กาตาร์ 2nd GS GS GS 4
 อุซเบกิสถาน Part of USSR GS GS QF QF 4
 อิรัก GS QF GS 4th 4
 ซีเรีย GS QF GS R16 4
 อิหร่าน GS GS GS 3
 เกาหลีเหนือ GS GS GS 3
 ออสเตรเลีย Part of OFC GS GS GS 3
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ R16 QF QF 3
 เวียดนาม GS 1
 พม่า GS 1
 จอร์แดน GS 1
 มาเลเซีย GS 1
 บาห์เรน GS 1
 อินโดนีเซีย GS 1
 คาซัคสถาน Part of USSR GS Part of UEFA 1
Total 2 3 2 2 2 2 3 2 2 3 5 4 4 5 4 4 4 4 4 4 5 4 74

ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team แคนาดา
2002
(12)
ไทย
2004
(12)
รัสเซีย
2006
(16)
ชิลี
2008
(16)
เยอรมนี
2010
(16)
ญี่ปุ่น
2012
(16)
แคนาดา
2014
(16)
ปาปัวนิวกินี
2016
(16)
ฝรั่งเศส
2018
(16)
 
2020
(16)
Total
 เกาหลีเหนือ 1st 2nd QF QF 4th 1st QF 7
 ญี่ปุ่น QF QF GS 3rd 3rd 1st 6
 จีน 2nd 2nd GS GS GS GS 6
 เกาหลีใต้ GS 3rd QF QF GS 5
 ออสเตรเลีย GS 1
 ไทย GS 1
 จีนไทเป GS 1
Total 2 3 3 3 3 4 3 3 3 27

ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team จีน
1985
(16)
แคนาดา
1987
(16)
สกอตแลนด์
1989
(16)
อิตาลี
1991
(16)
ญี่ปุ่น
1993
(16)
เอกวาดอร์
1995
(16)
อียิปต์
1997
(16)
นิวซีแลนด์
1999
(16)
ตรินิแดดและโตเบโก
2001
(16)
ฟินแลนด์
2003
(16)
เปรู
2005
(16)
เกาหลีใต้
2007
(24)
ไนจีเรีย
2009
(24)
เม็กซิโก
2011
(24)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2013
(24)
ชิลี
2015
(24)
อินเดีย
2017
(24)
บราซิล
2019
(24)
Total
 ญี่ปุ่น QF GS GS GS GS QF R16 R16 q 9
 กาตาร์ GS QF 4th GS GS QF GS 7
 เกาหลีใต้ QF GS GS QF R16 q 6
 จีน QF GS GS GS GS QF 6
 เกาหลีเหนือ QF R16 GS R16 GS 5
 อิหร่าน GS R16 R16 QF 4
 ออสเตรเลีย Part of OFC R16 R16 q 3
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ GS R16 GS 3
 โอมาน 4th QF GS 3
 ซาอุดีอาระเบีย QF GS 1st 3
 ทาจิกิสถาน Part of USSR R16 q 2
 อิรัก GS R16 2
 ซีเรีย R16 GS 2
 อุซเบกิสถาน Part of USSR QF R16 2
 ไทย GS GS 2
 บาห์เรน 4th GS 2
 อินเดีย GS 1
 เยเมน GS 1
Total 3 3 3 3 3 3 3 2 3 3 3 5 4 4 5 4 5 4 63

ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 17 ปี เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Team นิวซีแลนด์
2008
(16)
ตรินิแดดและโตเบโก
2010
(16)
อาเซอร์ไบจาน
2012
(16)
คอสตาริกา
2014
(16)
จอร์แดน
2016
(16)
อุรุกวัย
2018
(16)
อินเดีย
2020
(16)
Total
 ญี่ปุ่น QF 2nd QF 1st 2nd QF 6
 เกาหลีเหนือ 1st 4th 2nd GS 1st QF 6
 เกาหลีใต้ QF 1st GS 3
 จีน GS GS 2
 อินเดีย GS 1
 จอร์แดน GS 1
Total 3 3 3 3 3 3 18

ฟุตซอลชิงแชมป์โลก[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันฟุตซอลชิงแชมป์โลก เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Nation เนเธอร์แลนด์
1989
(16)
ฮ่องกง
1992
(16)
สเปน
1996
(16)
ประเทศกัวเตมาลา
2000
(16)
จีนไทเป
2004
(16)
บราซิล
2008
(20)
ไทย
2012
(24)
โคลอมเบีย
2016
(24)
ลิทัวเนีย
2020
(24)
Years
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 4th GS GS GS QF R16 3rd 7
ธงชาติไทย ไทย GS GS GS R16 R16 5
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น GS GS GS R16 4
ธงชาติจีน จีน GS GS GS 3
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย Part of OFC GS GS 2
ธงชาติอุซเบกิสถาน อุซเบกิสถาน Part of USSR GS 1
ธงชาติเวียดนาม เวียดนาม R16 1
ธงชาติคูเวต คูเวต GS 1
ธงชาติจีนไทเป จีนไทเป GS 1
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย GS 1
ธงชาติฮ่องกง ฮ่องกง GS 1
ธงชาติซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย GS 1
ธงชาติคาซัคสถาน คาซัคสถาน Part of USSR GS Part of UEFA 1
Total 2 3 3 3 4 4 5 5 5 34

ฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก[แก้]

ตารางต่อไปนี้แสดงถึงตัวแทนเอเอฟซีที่เข้าแข่งขันฟุตบอลชายหาดชิงแชมป์โลก เรียงตามจำนวนครั้งที่เข้าร่วม

Nation บราซิล
1995
(8)
บราซิล
1996
(8)
บราซิล
1997
(8)
บราซิล
1998
(10)
บราซิล
1999
(12)
บราซิล
2000
(12)
บราซิล
2001
(12)
บราซิล
2002
(8)
บราซิล
2003
(8)
บราซิล
2004
(12)
บราซิล
2005
(12)
บราซิล
2006
(16)
บราซิล
2007
(16)
ฝรั่งเศส
2008
(16)
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2009
(16)
อิตาลี
2011
(16)
เฟรนช์พอลินีเชีย
2013
(16)
โปรตุเกส
2015
(16)
ประเทศบาฮามาส
2017
(16)
ปารากวัย
2019
(16)
Years
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น GS QF 4th GS 4th QF GS GS QF GS QF QF GS q 14
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน GS GS GS GS QF QF 3rd 7
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ GS GS GS GS GS q 6
ธงชาติโอมาน โอมาน GS GS q 3
ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน QF GS 2
ธงชาติไทย ไทย 4th GS 2
ธงชาติมาเลเซีย มาเลเซีย GS 1
Total 0 0 1 0 2 1 1 1 0 0 2 3 3 3 3 3 3 3 3 3 35

อันดับ[แก้]

ระดับลีกประเทศ (โดย ไอเอฟเอฟเอชเอส)[แก้]

อันดับถูกจัดโดยไอเอฟเอฟเอชเอส

เอเอฟซี ไอเอฟเอฟเอชเอส ประเทศ คะแนน +/-
1 24 เกาหลีใต้ Korea Republic 562,5 Steady
2 29 ซาอุดีอาระเบีย Saudi Arabia 490,0 Steady
3 30 ญี่ปุ่น Japan 460,5 Steady
4 46 คูเวต Kuwait 377,0 2เพิ่มขึ้น
5 50 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ UAE 352,0 5เพิ่มขึ้น
6 56 จีน China 340,5 2ลดลง
7 57 ประเทศกาตาร์ Qatar 338,0 1เพิ่มขึ้น
8 61 อิหร่าน Iran 333,5 3ลดลง
9 62 ออสเตรเลีย Australia 331,0 11เพิ่มขึ้น
10 63 ไทย Thailand 329,5 3ลดลง
11 74 อินโดนีเซีย Indonesia 285,0 8เพิ่มขึ้น
12 82 อุซเบกิสถาน Uzbekistan 256,0 3ลดลง
13 84 เลบานอน Lebanon 252,5 2เพิ่มขึ้น
14 87 จอร์แดน Jordan 241,5 1ลดลง
15 88 สิงคโปร์ Singapore 240,0 3เพิ่มขึ้น
16 89 ฮ่องกง Hong Kong 235,0 5เพิ่มขึ้น
17 92 อิรัก Iraq 230,5 6ลดลง
18 94 บาห์เรน Bahrain 224,5 1ลดลง
19 95 โอมาน Oman 221,0 7ลดลง
20 99 มาเลเซีย Malaysia 193,5 6ลดลง
21 100 เวียดนาม Vietnam 182,75 1เพิ่มขึ้น
22 105 เติร์กเมนิสถาน Turkmenistan 146,5 2เพิ่มขึ้น
23 116 ประเทศพม่า Myanmar 108,5 2เพิ่มขึ้น
24 119 ปากีสถาน Pakistan 104,0 Steady
25 125 ซีเรีย Syria 97,5 Steady
26 128 บังกลาเทศ Bangladesh 96,0 Steady
27 137 อินเดีย India 92,0 11ลดลง
28 140 ฟิลิปปินส์ Philippines 81,0 Steady
29 149 รัฐปาเลสไตน์ Palestine 70,5 Steady
30 150 คีร์กีซสถาน Kyrgyzstan 70,0 Steady
31 151 มัลดีฟส์ Maldives 69,5 Steady
32 154 ศรีลังกา Sri Lanka 68,0 Steady
33 155 เนปาล Nepal 64,5 Steady
34 155 ทาจิกิสถาน Tajikistan 63,0 Steady
35 163 มองโกเลีย Mongolia 50,5 Steady
36 165 ภูฏาน Bhutan 48,5 Steady
37 166 จีนไทเป Chinese Taipei 43,0 Steady

Top 100 National League in 2014 เก็บถาวร 2015-01-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน


| style="width: 33.33%;text-align: left; vertical-align: top; " |

สโมสร[แก้]

อันดับถูกจัดโดยไอเอฟเอฟเอชเอส[13]

เอเอฟซี ไอเอฟเอฟเอชเอส สโมสร คะแนน
1 48 ซาอุดีอาระเบีย Al-Ahli 166,00
2 60 ซาอุดีอาระเบีย Al-Hilal FC 156,00
3 73 จีน Guangzhou Evergrande FC 143,00
4 81 เกาหลีใต้ FC Seoul 140,00
5 99 เกาหลีใต้ Jeonbuk Hyundai Motors 130,50
6 102 ญี่ปุ่น Gamba Osaka 127,50
7 110 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Al Ahli FC 120,50
8 121 เกาหลีใต้ Suwon Samsung Bluewings FC 117,00
9 128 เกาหลีใต้ Seongnam Ilhwa Chunma 116,00
10 137 ไทย สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 110,50

Last updated 7 January 2016

สโมสร[แก้]

อันดับถูกจัดโดยเอเอฟซี[14][15]

อันดับ สโมสร คะแนน
1 จีน Guangzhou Evergrande 129.359
2 ซาอุดีอาระเบีย Al-Hilal FC 116.000
3 ซาอุดีอาระเบีย Al-Ahli SC 91.000
4 เกาหลีใต้ FC Seoul 89.382
5 ญี่ปุ่น Kashiwa Reysol 80.434
6 ประเทศกาตาร์ Lekhwiya SC 78.755
7 เกาหลีใต้ Jeonbuk Hyundai Motors FC 77.382
8 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Al Ain FC 73.901
9 อิหร่าน Esteghlal F.C. 73.131
10 ซาอุดีอาระเบีย Al Shabab FC 71.000
11 ซาอุดีอาระเบีย Ittihad FC 70.000
12 อุซเบกิสถาน FC Bunyodkor 69.516
13 เกาหลีใต้ Pohang Steelers 64.382
14 จีน Beijing Guoan F.C. 64.359
15 เกาหลีใต้ Ulsan Hyundai FC 63.382
16 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Al Jazira Club 59.401
17 ไทย สโมสรฟุตบอลบุรีรัมย์ ยูไนเต็ด 56.957
18 อิหร่าน Sepahan F.C. 55.631
19 ออสเตรเลีย Western Sydney Wanderers FC 54.255
20 คูเวต Kuwait SC 53.313

|}

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC STATUTES Edition 2017" (PDF). AFC. 8 May 2017. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2017-12-27. สืบค้นเมื่อ 15 January 2018.
  2. "AFC GENERAL SECRETARY: DATO' WINDSOR JOHN". Arabian Football Confederation. สืบค้นเมื่อ 4 February 2019.
  3. Christopher Raj (3 December 2015). "Prime choice to lead FIFA". The Star. สืบค้นเมื่อ 25 March 2016.
  4. "All-Asia football association". The Straits Times. 8 May 1954. สืบค้นเมื่อ 21 November 2020. The Asian Games (sic) Football Confederation was formed in Manila yesterday.
  5. "Aust-Asian bid fails". The Sydney Morning Herald. 16 September 1974. p. 11. สืบค้นเมื่อ 10 July 2014.
  6. Montague, James (February 27, 2008). "Time is right for Israel to return to its Asian roots". The Guardian. London.
  7. "AFC TELLS INDONESIA: PAY OR BE SACKED". The Straits Times. 28 August 1964.
  8. "Arabia and Yemen are new members". The Straits Times. 28 July 1972. สืบค้นเมื่อ 10 May 2020.
  9. Indonesia competed as the Dutch East Indies in 1938.
  10. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-11-12. สืบค้นเมื่อ 2010-02-08.
  11. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking (Men) – AFC Region". FIFA. 7 November 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-11-03. สืบค้นเมื่อ 2014-11-13.
  12. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking (Women) – AFC Region". FIFA. 22 July 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-03-04. สืบค้นเมื่อ 2014-11-13.
  13. "Club World Ranking". IFFHS. 13 January 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-02-06. สืบค้นเมื่อ 2016-04-30.
  14. "AFC Club Ranking (2012‐2015)" (PDF). the-afc.com. Asian Football Confederation. สืบค้นเมื่อ 1 December 2015.
  15. AFC: Liên Đoàn Bóng Đá Châu Á

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]