ฟุตบอลชายหาดเอเชียนคัพ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลชายหาดเอเชียนคัพ
ผู้จัดเอเอฟซี
ก่อตั้ง2006; 18 ปีที่แล้ว (2006)
ภูมิภาคเอเชีย
จำนวนทีม~16
ผ่านเข้าไปเล่นในฟุตบอลชายหาดโลก
ทีมชนะเลิศปัจจุบันธงชาติอิหร่าน อิหร่าน (3 ครั้ง)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (3 ครั้ง)
เว็บไซต์afc.com
ฟุตบอลชายหาดเอเชียนคัพ 2023

ฟุตบอลชายหาดเอเชียนคัพ (อังกฤษ: AFC Beach Soccer Asian Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลชายหาดระดับเอเชียที่จัดโดยเอเอฟซี เริ่มจัดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2549 และมีการจัดต่อเนื่องทุก 1 ปี จนถึงปี พ.ศ. 2552 จึงได้เปลี่ยนเป็นจัดทุก 2 ปี โดย 3 ทีมที่คะแนนสูงสุด จะมีสิทธิเข้าไปร่วมแข่งขันใน ฟุตบอลชายหาดโลก ในปี พ.ศ. 2564 การแข่งขันได้เปลี่ยนชื่อเป็น ฟุตบอลชายหาดเอเชียนคัพ เพื่อให้สอดคล้องกับชื่อการแข่งขันระดับชาติอื่น ๆ ของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย[1]

ผู้ชนะการแข่งขันจะได้ครองตำแหน่งชนะเลิศระดับทวีป การแข่งขันนี้ยังทำหน้าที่เป็นรอบคัดเลือกสำหรับชาติในเอเชียเพื่อเข้าสู่การแข่งขันฟุตบอลชายหาดโลกที่กำลังจะมีขึ้นด้วย[2]

ผลการแข่งขัน[แก้]

ปี (ค.ศ.) ตำแหน่ง ชิงชนะเลิศ ชิงอันดับ
ชนะเลิศ ผลการ
แข่งขัน
รองชนะเลิศ อันดับ 3 ผลการ
แข่งขัน
อันดับ 4
2006
รายละเอียด
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Dubai, United Arab Emirates ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน 5–3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 6–4 ธงชาติจีน จีน
2007
รายละเอียด
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Dubai, United Arab Emirates Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4–3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 6–0 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน
2008
รายละเอียด
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Dubai, United Arab Emirates Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 4–3 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 4–1 ธงชาติจีน จีน
2009
รายละเอียด
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ Dubai, United Arab Emirates ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 4–2 ธงชาติบาห์เรน บาห์เรน ธงชาติโอมาน โอมาน 1–1 aet
(2–1) pen
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน
2011
รายละเอียด
โอมาน Muscat, Oman ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 2–1 ธงชาติโอมาน โอมาน ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 6–2 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
2013
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์ Doha, Qatar ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 6–6 aet
(5–4) pen
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3–2 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
2015
รายละเอียด
ประเทศกาตาร์ Doha, Qatar ธงชาติโอมาน โอมาน 1–1 aet
(3–2) pen
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 8–3 ธงชาติเลบานอน เลบานอน
2017
รายละเอียด
มาเลเซีย Kuala Terengganu, Malaysia ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 7–2 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 6–3 ธงชาติเลบานอน เลบานอน
2019
รายละเอียด
ไทย เมืองพัทยา, ประเทศไทย ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 2–2 aet
(3–1) ลูกโทษ
Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ธงชาติโอมาน โอมาน 2–2 aet
(2–1) ลูกโทษ
ธงชาติรัฐปาเลสไตน์ ปาเลสไตน์
2021
รายละเอียด
ไทย ภูเก็ต, ไทย ยกเลิกเนื่องจากการระบาดทั่วของโควิด-19 ทีมที่จะเล่นในชิงแชมป์โลก คัดเลือกโดยเอเอฟซี[3]
2023
รายละเอียด
ไทย เมืองพัทยา, ไทย ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 6–0 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ธงชาติโอมาน โอมาน 4–2 Flag of the United Arab Emirates สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์

อ้างอิง[แก้]

  1. "AFC rebrands age group championships to AFC Asian Cups". AFC. 2 October 2020.
  2. AFC Beach Soccer Championship 2017 Competition Regulations. Asian Football Confederation. 2017. Retrieved 20 October 2020.
  3. ""الآسيوي" يبلغ الاتحاد اللبناني بمواعيد بطولاته الجديدة" (ภาษาอาหรับ). Lebanese Football Association. 15 January 2021. สืบค้นเมื่อ 16 January 2021.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]