ฟุตบอลทีมชาติมัลดีฟส์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอลทีมชาติมัลดีฟส์
ฉายาปลากะพงสีแดง
หมู่เกาะ (ฉายาในภาษาไทย)
สมาคมสมาคมฟุตบอลมัลดีฟส์ (FAM)
สมาพันธ์ย่อยสหพันธ์ฟุตบอลเอเชียใต้ (SAFF)
สมาพันธ์สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC)
หัวหน้าผู้ฝึกสอนฟรานเซสโก โมรีเอโร
กัปตันAli Ashfaq
ติดทีมชาติสูงสุดImran Mohamed (อย่างน้อย 95 นัด)[1]
ทำประตูสูงสุดAli Ashfaq (52)[2]
สนามเหย้าสนามฟุตบอลแห่งชาติ
รหัสฟีฟ่าMDV
อันดับฟีฟ่า
อันดับปัจจุบัน 161 Steady (4 เมษายน 2024)[3]
อันดับสูงสุด124 (กรกฎาคม–สิงหาคม ค.ศ. 2006)
อันดับต่ำสุด183 (สิงหาคม–กันยายน ค.ศ. 1997)
เกมระดับนานาชาติครั้งแรก
ธงชาติเซเชลส์ เซเชลส์ 9–0 มัลดีฟส์ มัลดีฟส์
(เรอูนียง; 27 สิงหาคม ค.ศ. 1979)
ชนะสูงสุด
มัลดีฟส์ มัลดีฟส์ 12–0 มองโกเลีย ธงชาติมองโกเลีย
(มาเล มัลดีฟส์; 3 ธันวาคม ค.ศ. 2003)
แพ้สูงสุด
ธงชาติอิหร่าน อิหร่าน 17–0 มัลดีฟส์ มัลดีฟส์
(ดามัสกัส ซีเรีย; 2 มิถุนายน ค.ศ. 1997)
ฟุตบอลทีมชาติมัลดีฟส์
เหรียญรางวัล
ฟุตบอล
กีฬาภูมิภาคเอเชียใต้
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 กาฐมาณฑุ 1984 ทีม
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ โคลัมโบ 1991 ทีม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 ธากา 2010 ทีม

ฟุตบอลทีมชาติมัลดีฟส์ เป็นทีมฟุตบอลตัวแทนของประเทศมัลดีฟส์ อยู่ภายใต้การควบคุมของสมาคมฟุตบอลมัลดีฟส์ หนึ่งในสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (AFC) มัลดีฟส์เคยทำผลงานที่ยอดเยี่ยมในรอบที่สองของรอบคัดเลือกฟุตบอลโลก 2006 ด้วยการเสมอเกาหลีใต้ในบ้าน 0–0 และถล่มเวียดนาม 3-0

ความสำเร็จสูงสุดของทีมชาติมัลดีฟส์ คือการคว้ารางวัลชนะเลิศฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียใต้ 2008[4] และ 2018 ซึ่งพวกเขาสามารถเอาชนะอินเดียในนัดชิงชนะเลิศไปได้ทั้งสองครั้ง

ทีมชาติมัลดีฟส์เคยมีเกมอุ่นเครื่องกับทีมชาติไทยหลายครั้ง โดยเฉพาะในยุคที่วรวีร์ มะกูดีเป็นนายกสมาคมฟุตบอล

สถิติการแข่งขัน[แก้]

ฟุตบอลโลก[แก้]

ฟุตบอลโลก รอบคัดเลือก
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
อุรุกวัย 1930เม็กซิโก 1986 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
อิตาลี 1990 ถอนตัว ถอนตัว
สหรัฐ 1994 ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน ไม่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน
ฝรั่งเศส 1998 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก 6 0 0 6 0 59
ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ 2002 6 1 1 4 8 19
เยอรมนี 2006 8 3 1 4 18 14
แอฟริกาใต้ 2010 2 1 0 1 2 3
บราซิล 2014 2 0 0 2 0 5
รัสเซีย 2018 8 2 0 6 8 20
ประเทศกาตาร์ 2022
ทั้งหมด - 0/21 - - - - - - 32 7 2 23 36 120

เอเชียนคัพ[แก้]

เอเชียนคัพ
ปี รอบ อันดับ แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย
บริติชฮ่องกง 1956 ไม่ได้เข้าร่วม
เกาหลีใต้ 1960
อิสราเอล 1964
อิหร่าน 1968
ไทย 1972
อิหร่าน 1976
คูเวต 1980
สิงคโปร์ 1984
ประเทศกาตาร์ 1988
ญี่ปุ่น 1992 ถอนตัว
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 1996 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
เลบานอน 2000
จีน 2004
อินโดนีเซียมาเลเซียไทยเวียดนาม 2007 ไม่ได้เข้าร่วม
ประเทศกาตาร์ 2011 ไม่ผ่านรอบคัดเลือก
ออสเตรเลีย 2015
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 2019
2023 กำลังแข่งขัน
ทั้งหมด - 0/17 - - - - - -

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Roberto Mamrud. "Imran Mohamed – International Appearances". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 8 January 2016.
  2. Roberto Mamrud. "Ali Ashfaq – Goals in International Matches". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 8 January 2016.
  3. "The FIFA/Coca-Cola World Ranking". FIFA. 4 เมษายน 2024. สืบค้นเมื่อ 4 เมษายน 2024.
  4. "Maldives win SAFF Championship with 87th minute goal". Indian Team. 14 June 2008. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 17 June 2008. สืบค้นเมื่อ 15 June 2008.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]