ฟุตบอลโลกหญิง 2015

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก 2015 FIFA Women's World Cup)
ฟุตบอลโลกหญิง 2015
ตราสัญลักษณ์ฟุตบอลโลกหญิง 2015 อย่างเป็นทางการ
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพแคนาดา
วันที่6 มิถุนายน – 5 กรกฎาคม ค.ศ. 2015
ทีม24 (จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 6 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติสหรัฐ สหรัฐ (สมัยที่ 3)
รองชนะเลิศธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
อันดับที่ 3ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
อันดับที่ 4ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน52
จำนวนประตู146 (2.81 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม1,353,506 (26,029 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดเยอรมนี เซเลีย ซาซิช
สหรัฐ คาร์ลี ลอยด์
(6 ประตู เท่ากัน)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมสหรัฐ คาร์ลี ลอยด์
ผู้รักษาประตูยอดเยี่ยมสหรัฐ โฮป โซโล
ผู้เล่นดาวรุ่งยอดเยี่ยมแคนาดา คาเดอีชา บูชานัน
รางวัลแฟร์เพลย์ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส

ฟุตบอลโลกหญิง 2015 (อังกฤษ: 2015 FIFA Women's World Cup) เป็นฟุตบอลโลกหญิงครั้งที่ 7 ซึ่งเป็นการแข่งขันชิงแชมป์ฟุตบอลหญิงนานาชาติ ซึ่งในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2011 แคนาดาได้รับสิทธิ์เป็นเจ้าภาพ โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 6 มิถุนายน ถึงวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2558[1]

การคัดเลือกเจ้าภาพ[แก้]

การเสนอตัวเป็นเจ้าภาพการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง รวมถึงสิทธิการเป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี ของปีที่ผ่านมา (คล้ายกับในประเภทชาย ที่มีเจ้าภาพคอนเฟเดอเรชันส์คัพในปีก่อน) ซึ่งการเสนอตัวของผู้ประสงค์เป็นเจ้าภาพจะส่งมาในเดือนธันวาคม ค.ศ. 2010 โดยมีเพียงสองประเทศเท่านั้นที่ได้รับการส่งมา อันได้แก่:[2]

โดยประเทศซิมบับเวได้ถอนตัวออกในวันที่ 1 มีนาคม ค.ศ. 2011 [3] ซึ่งเป็นประเทศที่ได้รับการจับตามองอย่างยาวนาน โดยทีมหญิงของประเทศดังกล่าวอยู่ในอันดับที่ 103 ของโลกในช่วงที่มีการเสนอตัว และยังไม่ผ่านการคัดเลือกเข้าสู่การแข่งขันฟุตบอลโลกหญิงแต่อย่างใด นอกจากนี้ยังมีความไม่แน่นอนทางการเมืองและเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ภายใต้การปกครองของโรเบิร์ต มูกาเบ[4]

การคัดเลือก[แก้]

  ผ่านรอบคัดเลือก
  ตกรอบคัดเลือก
  ไม่ได้เข้าร่วม
  ไม่ได้เป็นสมาชิกฟีฟ่า

สำหรับการแข่งขันรายการนี้ จำนวนของทีมจะขยายจาก 16 ทีม ไปเป็น 24 ทีม โดยมีจำนวนของการแข่งขันเพิ่มขึ้นจาก 32 คู่ ไปเป็น 52 คู่[5] เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ค.ศ. 2012 ทางฟีฟ่าได้ประกาศให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดสรรการคัดเลือกตำแหน่งของสหพันธ์ภาคพื้นทวีป คณะกรรมการบริหารฟีฟ่าได้อนุมัติการจัดสรรตาราง และแบ่งสายของแปดทีมใหม่ดังต่อไปนี้:[6]

  • เอเอฟซี (เอเชีย): 5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 3)
  • ซีเอเอฟ (แอฟริกา): 3 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
  • คอนคาแคฟ (อเมริกาเหนือ/กลาง, แคริบเบียน): 3.5+เจ้าภาพ 1 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2.5)
  • คอนเมบอล (อเมริกาใต้): 2.5 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 2)
  • โอเอฟซี (โอเชียเนีย): 1 ประเทศ (เช่นเดียวกับ ค.ศ. 2011)
  • ยูฟ่า (ยุโรป): 8 ประเทศ (เพิ่มขึ้นจาก 4.5+1)

หลังจากที่นักฟุตบอลเกาหลีเหนือหลายรายถูกตรวจพบสารกระตุ้นในช่วงการแข่งขันฟุตบอลโลกหญิง 2011 ทางฟีฟ่าจึงได้ห้ามเกาหลีเหนือได้มีส่วนร่วมในฟุตบอลโลกหญิง 2015 ที่ประเทศแคนาดา ซึ่งนี่เป็นการลงโทษครั้งแรกที่เกิดขึ้นในฟุตบอลโลกหญิง และเป็นครั้งแรกนับจากปี ค.ศ. 1995 ที่ทีมเกาหลีเหนือไม่ได้เข้าร่วมในฟุตบอลโลกหญิง[7]

ทีมจากที่ผ่านเข้ารอบทวีปต่าง ๆ[แก้]

การแข่งขัน วันที่ สถานที่ ทีม ทีมที่ผ่านเข้ารอบ
เจ้าภาพ   1 ธงชาติแคนาดา แคนาดา
ฟุตบอลหญิงเอเชียนคัพ 2014 14–25 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม 5 ธงชาติจีน จีน
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติไทย ไทย (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ฟุตบอลหญิงแอฟริกาแชมเปียนส์ชิพ 2014 11–25 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ธงของประเทศนามิเบีย นามิเบีย 3 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ฟุตบอลหญิงคอนคาเคฟแชมเปียนส์ชิพ 2014 15–26 ตุลาคม พ.ศ. 2557  สหรัฐ 3.5 ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
ฟุตบอลหญิงโกปาอาเมริกา 2014 11–28 กันยายน พ.ศ. 2557 ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 2.5 ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ฟุตบอลหญิงโอเชียเนียเนชั่นคัพ 2014 25–29 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ธงของประเทศปาปัวนิวกินี ปาปัวนิวกินี 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
รอบคัดเลือกฟุตบอลโลกหญิง ฟีฟ่า ยูฟ่า 2014 รอบแบ่งกลุ่ม 8 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติสเปน สเปน (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (เข้ารอบสุดท้ายเป็นครั้งแรก)
รวม 24 Field is Finalized

สนามแข่งขัน[แก้]

เมืองแวนคูเวอร์, เอ็ดมอนตัน, วินนิเพก, ออตตาวา, มอนทรีออล และ มองก์ตัน ต่างได้รับเลือกให้เป็นเจ้าภาพในการจัดการแข่งขันทัวร์นาเมนท์[8] ส่วนเมืองแฮลิแฟกซ์ ก็ได้รับการกล่าวถึงเช่นกัน แต่ได้ถอนตัวออกจากรายการแข่งขันในเดือนมีนาคม ค.ศ. 2012[9] ส่วนเมืองโทรอนโตได้รับการคาดหวังว่าจะเป็นเมืองเจ้าภาพจัดการแข่งขันรอบไฟนอลหากการเสนอชื่อประสบความสำเร็จ แต่ในท้ายที่สุดก็ได้มีการถอดถอนออกจากการเสนอชื่อ เนื่องจากความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นกับแพนอเมริกันเกมส์ 2015[10] เนื่องด้วยนโยบายของฟีฟ่ากับการให้การสนับสนุนเชิงพาณิชย์ ทั้งนี้ สนามฟุตบอลอินเวสเตอร์กรุ๊ปฟิลด์ในวินนิเพกจะเป็นที่รู้จักโดยทั่วไปในการแข่งขัน

ก่อนหน้านี้ ประเทศแคนาดาได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันของฟีฟ่า อันประกอบด้วย ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 17 ปี 1987, ฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 2002 และ ฟุตบอลโลกเยาวชนอายุไม่เกิน 20 ปี 2007 ซึ่งได้รับการบันทึกรายการแข่งขัน

เอ็ดมอนตัน มอนทรีออล แวนคูเวอร์
สนามกีฬาเครือจักรภพ สนามกีฬาโอลิมปิก บีซีเพลซ
ความจุ: 60,081 ความจุ: 66,308 ความจุ: 54,500
วินนิเพก ออตตาวา มองก์ตัน
สนามกีฬาวินนิเพก สนามกีฬาแฟรงก์ แคลร์ สนามกีฬามองก์ตัน
ความจุ: 33,422 (ขยายได้ถึง 40,000) ความจุ: 26,559 (ขยายได้ถึง 45,000) ความจุ: 10,000 (ขยายได้ถึง 20,725 +)

ผู้ตัดสิน[แก้]

การจับสลากแบ่งสาย[แก้]

ทั้ง 24 ทีม ที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย แบ่งเป็น 6 กลุ่มกลุ่มละ 4 ทีม ได้มีการจับสลากแบ่งสายขึ้น เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2557 ที่ พิพิธภัณฑ์ธรรมชาติแห่งแคนาดา ออตตาวา โดยการแข่งขัน ผู้ที่ได้อันดับที่ 1 กับอันดับที่ 2 ของแต่ละกลุ่มและ 4 ทีมที่มีคะแนนดีที่สุดจากอันดับที่ 3 ของแต่ละกลุ่มจะเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย

โหลที่ 1 (ทีมวาง) โหลที่ 2 (CAF, CONCACAF, OFC) โหลที่ 3 (AFC, CONMEBOL) โหลที่ 4 (ยูฟ่า)

ธงชาติแคนาดา แคนาดา (เจ้าภาพ)
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส

ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์
ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา
ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์

ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ธงชาติจีน จีน
ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
ธงชาติไทย ไทย
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์

ธงชาติสเปน สเปน
ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
ธงชาติสวีเดน สวีเดน
ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์

รอบแบ่งกลุ่ม[แก้]

กลุ่มเอ[แก้]


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม
1 ธงชาติแคนาดา แคนาดา (H, A) 3 1 2 0 2 1 +1 5 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติจีน จีน (A) 3 1 1 1 3 3 0 4
3 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ (Y) 3 1 1 1 2 2 0 4 รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ
4 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ (E) 3 0 2 1 2 3 −1 2
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (H) เจ้าภาพ; (Y) Cannot qualify directly as one of the top two teams, but may still qualify as third-placed team.

นิวซีแลนด์ ธงชาตินิวซีแลนด์0–1ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
รายงาน มาร์เทนส์ Goal 33'
ผู้ชม: 53,058 คน
ผู้ตัดสิน: เควตซัลลี อัลบาราโด (เม็กซิโก)

เนเธอร์แลนด์ ธงชาติเนเธอร์แลนด์0–1ธงชาติจีน จีน
รายงาน หวัง ลีซี Goal 90+1'
ผู้ชม: 35,544 คน
ผู้ตัดสิน: เยอีมาย มาร์ตีเนซ (โคลอมเบีย)



กลุ่มบี[แก้]


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม
1 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (A) 3 2 1 0 15 1 +14 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ (A) 3 2 1 0 8 2 +6 7
3 ธงชาติไทย ไทย (Y) 3 1 0 2 3 10 −7 3 รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ
4 ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ (E) 3 0 0 3 3 16 −13 0
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (Y) Cannot qualify directly as one of the top two teams, but may still qualify as third-placed team.
ไทย ธงชาติไทย0–4ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์
รายงาน รอนนิง Goal 16'
เฮอร์ลอฟเซน Goal 29'34'
เฮเกอร์แบร์ก Goal 68'
ผู้ชม: 20,953 คน
ผู้ตัดสิน: แอนนา-มารี เคจห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)

เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี10–0ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์
ซาซิช Goal 3'14'31'
มิททัค Goal 29'35'64'
เลาเดอห์ Goal 71'
ดาบริตซ์ Goal 75'
เบห์รินเกอร์ Goal 79'
ปอปป์ Goal 85'
รายงาน
ผู้ชม: 20,953 คน
ผู้ตัดสิน: แครอล แอนเน เชนาร์ด (แคนาดา)


ไทย ธงชาติไทย3-2ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์
ศรีมณี Goal 26'45+3'
ชาวงษ์ Goal 75'
รายงาน เอ็น'กูเอสซอง Goal 2'
นาฮี Goal 88'
ผู้ชม: 18,987 คน
ผู้ตัดสิน: มาร์กาเร็ต ดอมกา (สหรัฐอเมริกา)

ไทย ธงชาติไทย0–4ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
รายงาน เลอูโปลซ์ Goal 24'
เปเตอร์มันน์ Goal 56'58'
ดาบริตซ์ Goal 73'
ผู้ชม: 26,191 คน
ผู้ตัดสิน: กลาดีส เลงก์เว (แซมเบีย)

กลุ่มซี[แก้]


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม
1 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (A) 3 3 0 0 4 1 +3 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน (A) 3 2 0 1 9 3 +6 6
3 ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (A) 3 1 0 2 11 4 +7 3
4 ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ (E) 3 0 0 3 1 17 −16 0
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ.

ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น1–0ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
มิยะมะ Goal 29' (จุดโทษ) รายงาน
ผู้ชม: 25,942 คน
ผู้ตัดสิน: ลูชีลา เบเนกัส (เม็กซิโก)

สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์10–1ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์
ปอนเช Goal 24' (เข้าประตูตัวเอง)71' (เข้าประตูตัวเอง)
ไอก์โบกุน Goal 45+2'
ฮุมม์ Goal 47'49'52'
บาชมันน์ Goal 60' (จุดโทษ)61'81'
โมเซอร์ Goal 76'
รายงาน ปอนเช Goal 64' (จุดโทษ)


เอกวาดอร์ ธงชาติเอกวาดอร์0–1ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
รายงาน โอะกิมิ Goal 5'
ผู้ชม: 14,522 คน
ผู้ตัดสิน: เมลิสซา บอร์จาส (ฮอนดูรัส)

สวิตเซอร์แลนด์ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์1–2ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
ชร์โนโกร์เชวิช Goal 24' รายงาน ออนกูเอเน Goal 47'
เอ็นโกโน มานี Goal 62'
ผู้ชม: 10,177 คน
ผู้ตัดสิน: เคลาเดีย อุมปีเอร์เรซ (อุรุกวัย)

กลุ่มดี[แก้]


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม
1 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ (A) 3 2 1 0 4 1 +3 7 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (A) 3 1 1 1 4 4 0 4
3 ธงชาติสวีเดน สวีเดน (Y) 3 0 3 0 4 4 0 3 รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ
4 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย (E) 3 0 1 2 3 6 −3 1
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า.
(A) ผ่านเข้าสู่รอบต่อไป; (E) ตกรอบ; (Y) ?.
สวีเดน ธงชาติสวีเดน3–3ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย
โอปาราโนไซย์ Goal 21' (เข้าประตูตัวเอง)
ฟิสเชอร์ Goal 31'
เซมบรานท์ Goal 60'
รายงาน โอโคบี Goal 50'
โอโชอาลา Goal 53'
ออร์เดกา Goal 87'
ผู้ชม: 31,148 คน
ผู้ตัดสิน: รี ฮยัง-อ็อก (เกาหลีเหนือ)

สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ3–1ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ราปีโนเอ Goal 12'78'
เพรสส์ Goal 61'
รายงาน เด วานนา Goal 27'
ผู้ชม: 31,148 คน
ผู้ตัดสิน: เคลาเดีย อุมปีเอร์เรซ (อุรุกวัย)


สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ0–0ธงชาติสวีเดน สวีเดน
รายงาน
ผู้ชม: 32,716 คน
ผู้ตัดสิน: ซาชิโคะ ยะมะกิชิ (ญี่ปุ่น)

ไนจีเรีย ธงชาติไนจีเรีย0–1ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
รายงาน วอมแบค Goal 45'

ออสเตรเลีย ธงชาติออสเตรเลีย1–1ธงชาติสวีเดน สวีเดน
เด วานนา Goal 5' รายงาน ยาค็อบส์สัน Goal 15'
ผู้ชม: 10,177 คน
ผู้ตัดสิน: ลูเชีย เบเนกัส (เม็กซิโก)

กลุ่มอี[แก้]


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม
1 ธงชาติบราซิล บราซิล 3 3 0 0 4 0 +4 9 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 3 1 1 1 4 5 −1 4
3 ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 3 0 2 1 3 4 −1 2 รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ
4 ธงชาติสเปน สเปน 3 0 1 2 2 4 −2 1
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า


บราซิล ธงชาติบราซิล1–0ธงชาติสเปน สเปน
อัลเวส Goal 44' รายงาน
ผู้ชม: 28,623 คน
ผู้ตัดสิน: แครอล เชนาร์ด (แคนาดา)


คอสตาริกา ธงชาติคอสตาริกา0–1ธงชาติบราซิล บราซิล
รายงาน ราเควล Goal 83'
ผู้ชม: 9,543 คน
ผู้ตัดสิน: เอฟทาเลีย มิตซี (กรีซ)

เกาหลีใต้ ธงชาติเกาหลีใต้2–1ธงชาติสเปน สเปน
โช โซ-ฮยุน Goal 53'
คิม ซู-ยุน Goal 78'
รายงาน โบเควเต Goal 29'
ผู้ชม: 21,562 คน
ผู้ตัดสิน: แอนนา-มารี เคจห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)

กลุ่มเอฟ[แก้]


อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ความหมายในรอบแบ่งกลุ่ม
1 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 3 2 0 1 6 2 +4 6 ผ่านเข้าสู่รอบแพ้คัดออก
2 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 3 2 0 1 4 3 +1 6
3 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 1 1 1 4 3 +1 4 รอบแพ้คัดออกหรือตกรอบ
4 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 3 0 1 2 2 8 −6 1
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : 1) คะแนนในทุกนัดที่ลงสนาม; 2) ผลต่างประตูได้เสียในทุกนัดที่ลงสนาม; 3) จำนวนประตูที่ทำได้ในทุกนัดที่ลงสนาม; 4) ย้อนกลับไปที่ข้อ 1-3 สำหรับนัดระหว่างสองทีมที่มีผลงานเท่ากัน; 5) จับสลากขึ้นมาใหม่โดยฟีฟ่า
ฝรั่งเศส ธงชาติฝรั่งเศส1–0ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
เล ซอมเมร์ Goal 29' รายงาน
ผู้ชม: 11,686 คน
ผู้ตัดสิน: เอฟทาเลีย มิตสี (กรีซ)

โคลอมเบีย ธงชาติโคลอมเบีย1–1ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
มอนโตยา Goal 82' รายงาน ว. เปเรซ Goal 36'
ผู้ชม: 11,686 คน
ผู้ตัดสิน: เทเรเซ เนกูเอล (แคเมอรูน)

ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส0–2ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
รายงาน อันดราเด Goal 19'
อุสเม Goal 90+3'
ผู้ชม: 13,138 คน
ผู้ตัดสิน: จิน เหลียง (จีน)

อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ2–1ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
เคอร์บี Goal 71'
คาร์นีย์ Goal 82'
รายงาน อิบาร์รา Goal 90+1'
ผู้ชม: 13,138 คน
ผู้ตัดสิน: แอนนา-มารี เคจห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)

เม็กซิโก ธงชาติเม็กซิโก0–5ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
รายงาน เดลีเอ Goal 1'
รูอีซ Goal 9' (เข้าประตูตัวเอง)
เล ซอมเมร์ Goal 13'36'
อองรี Goal 80'
ผู้ชม: 21,562 คน
ผู้ตัดสิน: ซะชิโกะ ยะมะกิชิ (ญี่ปุ่น)

อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ2–1ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
คาร์นีย์ Goal 15'
วิลเลียมส์ Goal 38' (จุดโทษ)
รายงาน อันดราเด Goal 90+4'
ผู้ชม: 13,862 คน
ผู้ตัดสิน: แครอล เชนาร์ด (แคนาดา)

ตารางคะแนนของทีมอันดับที่ 3[แก้]

ทีมที่มีคะแนนดีที่สุดจากอันดับที่ 3 ของแต่ละกลุ่มจะเข้ารอบ 16 ทีมสุดท้าย ตามตารางการแข่งขันที่ได้จับสลากแบ่งสาย:[11]

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน Result
1 F ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 3 1 1 1 4 3 +1 4 รอบแพ้คัดออก
2 A ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 3 1 1 1 2 2 0 4
3 C ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 3 1 0 2 11 4 +7 3
4 D ธงชาติสวีเดน สวีเดน 3 0 3 0 4 4 0 3
5 B ธงชาติไทย ไทย 3 1 0 2 3 10 −7 3
6 E ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 3 0 2 1 3 4 −1 2
แหล่งที่มา : FIFA
กฎการจัดอันดับ : 1) points; 2) goal difference; 3) number of goals scored; 4) drawing of lots.

ในรอบต่อไปสี่ทีมอันดับสามที่ดีที่สุดจะมีโปรแกรมแข่งขันกับทีมแชมป์ของกลุ่ม เอ, บี, ซี และ ดี สอดคล้องถึงตารางที่ตีพิมพ์ในมาตรา 28 ของกฏระเบียบการแข่งขัน.[11]

รอบสุดท้าย[แก้]

รอบ 16 ทีม รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                           
20 มิถุนายน – เอ็ดมอนตัน            
 ธงชาติจีน จีน  1
26 มิถุนายน – ออตตาวา
 ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน  0  
 ธงชาติจีน จีน  0
22 มิถุนายน – เอ็ดมอนตัน
   ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ  1  
 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ  2
30 มิถุนายน – มอนทรีออล
 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย  0  
 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ  2
20 มิถุนายน – ออตตาวา
   ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  0  
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  4
26 มิถุนายน – มอนทรีออล
 ธงชาติสวีเดน สวีเดน  1  
 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี (ลูกโทษ)  1 (5)
21 มิถุนายน – มอนทรีออล
   ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส  1 (4)  
 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส  3
5 กรกฎาคม – แวนคูเวอร์
 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้  0  
 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ  5
21 มิถุนายน – มองก์ตัน
   ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  2
 ธงชาติบราซิล บราซิล  0
27 มิถุนายน – เอ็ดมอนตัน
 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  1  
 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย  0
23 มิถุนายน – แวนคูเวอร์
   ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  1  
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  2
1 กรกฎาคม – เอ็ดมอนตัน
 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์  1  
 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น  2
22 มิถุนายน – ออตตาวา
   ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ  1   อันดับที่ 3
 ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์  1
27 มิถุนายน – แวนคูเวอร์ 4 กรกฎาคม – เอ็ดมอนตัน
 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ  2  
 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ  2  ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี  0
21 มิถุนายน – แวนคูเวอร์
   ธงชาติแคนาดา แคนาดา  1    ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ (หลังต่อเวลาพิเศษ)  1
 ธงชาติแคนาดา แคนาดา  1
 ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์  0  

รอบ 16 ทีมสุดท้าย[แก้]

เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี4–1ธงชาติสวีเดน สวีเดน
มิททัค Goal 24'
ซาซิช Goal 36' (จุดโทษ)78'
มารอซซาน Goal 88'
รายงาน เซมบรานท์ Goal 82'
ผู้ชม: 22,486 คน
ผู้ตัดสิน: รี ฮยัง-อ็อก (เกาหลีเหนือ)




แคนาดา ธงชาติแคนาดา1–0ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์
เบลานเกอร์ Goal 52' รายงาน
ผู้ชม: 53,855 คน
ผู้ตัดสิน: แอนนา-มารี เคจห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)



รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]


จีน ธงชาติจีน0–1ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
รายงาน ลอยด์ Goal 51'


อังกฤษ ธงชาติอังกฤษ2–1ธงชาติแคนาดา แคนาดา
เทย์เลอร์ Goal 11'
บรอนซ์ Goal 14'
รายงาน ซินแคลร์ Goal 42'
ผู้ชม: 54,027 คน
ผู้ตัดสิน: คลาอูเดีย อุมปีเอร์เรซ (อุรุกวัย)

รอบรองชนะเลิศ[แก้]


ญี่ปุ่น ธงชาติญี่ปุ่น2–1ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
มิยามะ Goal 33' (จุดโทษ)
บาสเซ็ตต์ Goal 90+2' (เข้าประตูตัวเอง)
รายงาน วิลเลียมส์ Goal 40' (จุดโทษ)
ผู้ชม: 31,467 คน
ผู้ตัดสิน: แอนนา-มารี เคจห์ลีย์ (นิวซีแลนด์)

นัดชิงอันดับที่ 3[แก้]

เยอรมนี ธงชาติเยอรมนี0–1 (ต่อเวลาพิเศษ)ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
รายงาน วิลเลียมส์ Goal 108' (จุดโทษ)
ผู้ชม: 21,483 คน
ผู้ตัดสิน: รี ฮยัง-อ็อก (เกาหลีเหนือ)

นัดชิงชนะเลิศ[แก้]

สหรัฐ ธงชาติสหรัฐ5–2ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ลอยด์ Goal 3'5'16'
ฮอลิเดย์ Goal 14'
ฮีธ Goal 54'
รายงาน โอกิมิ Goal 27'
จอห์นสตัน Goal 52' (เข้าประตูตัวเอง)

อันดับผู้ทำประตูสูงสุด[แก้]

ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน.

6 ประตู
5 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู
1 การทำเข้าประตูตัวเอง
2 การทำเข้าประตูตัวเอง

แหล่งที่มา: FIFA.com[12]

รางวัล[แก้]

รางวัลที่ได้รับในช่วงสุดท้ายของการแข่งขัน.[13][14]

รางวัล ผู้ชนะ ตัวเลือกอื่นๆ ที่น่าสนใจ[15]
ลูกบอลทองคำ สหรัฐ คาร์ลี ลอยด์
ลูกบอลเงิน ฝรั่งเศส อาม็องดีเน อองรี
ลูกบอลทองแดง ญี่ปุ่น อะยะ มิยะมะ
รองเท้าทองคำ เยอรมนี เซเลีย ซาซิช [note 1]
รองเท้าเงิน สหรัฐ คาร์ลี ลอยด์ [note 1]
รองเท้าทองแดง เยอรมนี อันยา มิททัค
ถุงมือทองคำ สหรัฐ โฮป โซโล
นักฟุตบอลดาวรุ่งยอดเยี่ยม แคนาดา คาเดอีชา บูชาแนน
รางวัลฟีฟ่าแฟร์เพลย์ ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
หมายเหตุ
  1. 1.0 1.1 ซาซิช และ ลอยด์ มีหมายเลขเดียวกันของการทำประตูและการจ่ายบอล. ซาซิช ชนะรองเท้าทองคำเนื่องจากการลงเล่นในนาทีที่น้อยกว่า.

ตารางการจัดอันดับทัวร์นาเมนต์[แก้]

Per statistical convention in football, matches decided in extra time are counted as wins and losses, while matches decided by penalty shoot-out are counted as draws.

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน ผลงานหลังรอบสุดท้าย
1 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ 7 6 1 0 14 3 +11 19 ชนะเลิศ
2 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 7 6 0 1 11 8 +3 18 รองชนะเลิศ
3 ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ 7 5 0 2 10 7 +3 15 อันดับที่สาม
4 ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 7 3 2 2 20 6 +14 11 อันดับที่สี่
5 ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 5 3 1 1 10 3 +7 10 ตกรอบใน
รอบก่อนรองชนะเลิศ
6 ธงชาติแคนาดา แคนาดา (H) 5 2 2 1 4 3 +1 8
7 ธงชาติออสเตรเลีย ออสเตรเลีย 5 2 1 2 5 5 0 7
8 ธงชาติจีน จีน 5 2 1 2 4 4 0 7
9 ธงชาติบราซิล บราซิล 4 3 0 1 4 1 +3 9 ตกรอบใน
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
10 ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ 4 2 1 1 9 4 +5 7
11 ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน 4 2 0 2 9 4 +5 6
12 ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย 4 1 1 2 4 5 −1 4
13 ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ 4 1 1 2 3 4 −1 4
14 ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 4 1 1 2 4 8 −4 4
15 ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 4 1 0 3 11 5 +6 3
16 ธงชาติสวีเดน สวีเดน 4 0 3 1 5 8 −3 3
17 ธงชาติไทย ไทย 3 1 0 2 3 10 −7 3 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
18 ธงชาติคอสตาริกา คอสตาริกา 3 0 2 1 3 4 −1 2
19 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 3 0 2 1 2 3 −1 2
20 ธงชาติสเปน สเปน 3 0 1 2 2 4 −2 1
21 ธงชาติไนจีเรีย ไนจีเรีย 3 0 1 2 3 6 −3 1
22 ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก 3 0 1 2 2 8 −6 1
23 ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ 3 0 0 3 3 16 −13 0
24 ธงชาติเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 3 0 0 3 1 17 −16 0
แหล่งที่มา : FIFA [ต้องการอ้างอิง]
(H) เจ้าภาพ.

การตลาด[แก้]

สัญลักษณ์[แก้]

โปสเตอร์[แก้]

ตุ๊กตาสัญลักษณ์[แก้]

ลูกฟุตบอล[แก้]

กาชีรอลา[แก้]

สิทธิการออกอากาศ[แก้]

สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศจำหน่ายลิขสิทธิ์การถ่ายทอดโทรทัศน์ ให้แก่บริษัท บางกอกเอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด (BEC) ได้รับลิขสิทธิ์เพียงผู้เดียวในการถ่ายทอดการแข่งขันฟีฟ่าฟุตบอลโลกหญิง 2015 ผ่านทาง สถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 โดยมีการถ่ายทอดสดกลับมายังประเทศไทยทั้งหมด 8 นัดรวมถึงนัดที่ทีมชาติไทยแข่งขัน ผ่านทางช่อง 3 ออริจินัล, ช่อง 3 HD, ช่อง 3 SD, ช่อง 3 Family และ ทางเว็บไซต์ tv.bectero.com จากทั้งหมด 56 นัดของรายการแข่งขัน และ การถ่ายทอดสดทุกนัดจะไม่มีโฆษณาคั่น[16]

สำหรับรายการถ่ายทอดสดฟุตบอลโลกหญิง 2015 มีดังนี้

วันที่ ทีม เวลา ช่อง
5 มิถุนายน ธงชาติแคนาดา แคนาดา พบ ธงชาติจีน จีน 04:45-07:00 ช่อง 3 ออริจินอล และช่อง 3 HD
7 มิถุนายน ธงชาตินอร์เวย์ นอร์เวย์ พบ ธงชาติไทย ไทย 23:45-02:00 ช่อง 3 ออริจินอล และช่อง 3 HD
9 มิถุนายน ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น พบ ธงชาติสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ 08:45-11:00 ช่อง 3 SD 28
10 มิถุนายน ธงชาติบราซิล บราซิล พบ ธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ 05:45-08:00 ช่อง 3 SD 28
12 มิถุนายน ธงชาติโกตดิวัวร์ โกตดิวัวร์ พบ ธงชาติไทย ไทย 05:45-08:00 ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น. และทางช่อง 3 ออริจินอลกับช่อง 3 HD ในเวลา 23:15 น.)
13 มิถุนายน ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ พบ ธงชาติสวีเดน สวีเดน 06:45-09:00 ช่อง 3 SD 28
16 มิถุนายน ธงชาติไทย ไทย พบ ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี 02:45-05:00 ช่อง 3 ออริจินอล และช่อง 3 HD
25 มิถุนายน รอบ 16 ทีมสุดท้าย
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น พบ ธงชาติเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์
08:45-11:00 ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น.)
27 มิถุนายน รอบ 8 ทีมสุดท้าย (คู่ที่สอง)
ธงชาติจีน จีน พบ ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
06:15-08:30 ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น.)
28 มิถุนายน รอบ 8 ทีมสุดท้าย (คู่ที่สี่)
ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ พบ ธงชาติแคนาดา แคนาดา
06:15-08:30 ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น.)
1 กรกฎาคม รอบรองชนะเลิศ (คู่แรก)
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ พบ ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
05:45-08:00 ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น. และทางช่อง 3 ออริจินอลกับช่อง 3 HD ในเวลา 23:15 น.)
2 กรกฎาคม รอบรองชนะเลิศ (คู่ที่สอง)
ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น พบ ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
05:45-08:00 ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น. และทางช่อง 3 ออริจินอลกับช่อง 3 HD ในเวลา 23:15 น.)
5 กรกฎาคม นัดชิงอันดับที่ 3
ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี พบ ธงชาติอังกฤษ อังกฤษ
02:45-05:00 ช่อง 3 ออริจินอล และช่อง 3 HD (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น.)
6 กรกฎาคม นัดชิงชนะเลิศ
ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ พบ ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
05:45-08:00 ช่อง 3 SD 28 (ออกอากาศซ้ำทางช่อง 3 แฟมิลี่ ในเวลา 20:30 น. และทางช่อง 3 ออริจินอลกับช่อง 3 HD ในเวลา 23:15 น.)
  • หมายเหตุ รายการถ่ายทอดสดตรงกับเวลาช่วงกลางดึกและเช้าตรู่ตามเวลาในประเทศไทย

อ้างอิง[แก้]

  1. "FIFA Calendar". FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-04-24. สืบค้นเมื่อ 21 February 2013.
  2. "Remarkable interest in hosting FIFA competitions". FIFA. 17 January 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-11. สืบค้นเมื่อ 21 July 2011.
  3. "Zimbabwe withdraws bid to host 2015 Women's World Cup". BBC. สืบค้นเมื่อ 22 February 2012.
  4. 2015: The case for Canada
  5. MacKinnon, John (1 December 2010). "The party's over ... what's next?". Edmonton Journal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-05-14. สืบค้นเมื่อ 1 December 2010.
  6. "Qualification slots for Canada 2015 confirmed". FIFA.com. 11 June 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-10-30. สืบค้นเมื่อ 2012-09-05.
  7. "FIFA Disciplinary Committee decisions for Germany 2011". 25 August 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-12-03. สืบค้นเมื่อ 12 June 2013.
  8. Bekanntgabe der Spielorte der FIFA Frauen-WM Kanada 2015 เก็บถาวร 2013-01-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (เยอรมัน)
  9. "No Halifax stadium for soccer World Cup". The Chronicle Herald. 27 March 2012. สืบค้นเมื่อ 22 October 2012.
  10. "Canadian host cities for 2015 Women's World Cup unveiled". CBC.ca. 4 May 2012. สืบค้นเมื่อ 4 May 2012.
  11. 11.0 11.1 "Regulations FIFA Women's World Cup Canada 2015™" (PDF). FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 9 December 2014.
  12. "Statistics — Players — Top goals". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-07-02. สืบค้นเมื่อ 2015-06-13.
  13. "Awards". FIFA.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-09-08. สืบค้นเมื่อ 2015-07-06.
  14. "Lloyd, Solo and Sasic lead the way". FIFA.com. 6 July 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-24. สืบค้นเมื่อ 2015-07-06.
  15. "FIFA announces shortlists for FIFA Women's World Cup 2015 awards". FIFA.com. 2 July 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-06-23. สืบค้นเมื่อ 2015-07-06.
  16. ช่อง 3 คว้าลิขสิทธิ์ 3 งานใหญ่ ประเดิมถ่ายบอลโลกหญิง FIFA

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]