จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฮุมาตุลฮิมา (อาหรับ : حماة الحمى ) มีความหมายว่า "ผู้พิทักษ์แห่งมาตุภูมิ" เป็นชื่อของเพลงชาติ ตูนีเซีย ในปัจจุบันที่เริ่มใช้มาตั้งแต่ พ.ศ. 2530 โดยก่อนหน้านั้น เพลงนี้เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเพลงปฏิวัติที่นิยมขับร้องในการประชุมของพรรคเนโอเดสตูร์ ซึ่งเป็นพรรคการเมืองที่เคลื่อนไหวเพื่อการเรียกร้องเอกราชของตูนีเซียจากฝรั่งเศส
ประวัติ [ แก้ ]
เพลงนี้ประพันธ์ขึ้นในลักษณะบทกวีในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1930 โดยมุศเฏาะฟา ศอดิก อัรรอฟิอี กวีชาวอียิปต์ผู้เกิดในประเทศเลบานอน ส่วนทำนองเพลงนั้น แหล่งข้อมูลบางแห่งกล่าวว่าผลงานนี้เป็นงานประพันธ์ของมุฮัมมัด อับดุลวะฮาบ [1] แต่ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีของตูนีเซียกล่าวว่า ทำนองของเพลงนี้เป็นผลงานของอาห์เหม็ด เคียเรดดีน (Ahmed Kheireddine) และเรียบเรียงโดยซะกะริยา อะห์มัด (ทั้งสองสองคนที่กล่าวถึงล้วนเป็นชาวอียิปต์)[2] [3]
ในตอนท้ายของเพลงนี้ได้มีการเพิ่มบทกวี 2 ตอน จากบทกวีชื่อ La volonté de vivre ("ความปรารถนาจะมีชีวิต") อันเป็นผลงานของและอาบู เอล กาเซ็ม เช็บบี (Abou el Kacem Chebbi) (นับตั้งแต่ตอนที่แปลความไว้ว่า "ยามเมื่อผองชนต้องการมีชีวิตอยู่...") [4] สันนิษฐานว่าเนื้อหาส่วนนี้เพิ่มเข้ามาในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2498
เพลงฮุมาตุลฮิมาได้ใช้เป็นเพลงชาติชั่วคราวหลังการโค่นล้มรัฐบาลระบอบกษัตริย์ของตูนีเซียลงเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2500 จนกระทั่งมีการรับรองเพลง "อะลาค็อลลิดี " เป็นเพลงชาติตูนีเซียในวันที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2501 ต่อมาหลังเกิดการรัฐประหารในวันที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530 จึงได้มีการนำเอาเพลงนี้กลับมาใช้เป็นเพลงชาติตูนีเซียอีกครั้ง โดยมีการรับรองเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2530
บทร้อง [ แก้ ]
เพื่อให้กระชับกับเวลา จะมีการร้องเพลงชาติแบบสั้น โดยประกอวด้วยบทประสานเสียง บทที่ 3 (ไม่ร้องซ้ำ) และบทประสานเสียงอีกครั้ง[5] [6]
เพลงชาติฉบับราชการ [ แก้ ]
ภาษาอาหรับ [7] [8]
ถ่ายเสียงด้วยอักษรโรมัน
สัทอักษรสากล
แปลไทย
كورال:
حماة الحمى يا حماة الحمى
هلموا هلموا لمجد الزمن
لقد صرخت في عروقنا الدماء
نموت نموت ويحيا الوطن
١
لتدو السماوات برعدها
لترم الصواعق نيرانها
إلى عز تونس إلى مجدها
رجال البلاد وشبانها
فلا عاش في تونس من خانها
ولا عاش من ليس من جندها
نموت ونحيا على عهدها
حياة الكرام وموت العظام
แม่แบบ:Yesitalic
٢
ورثنا السواعد بين الأمم
صخورا صخورا كهذا البناء
سواعد يهتز فوقها العلم
نباهي به ويباهي بنا
وفيها كفا للعلى والهمم
وفيها ضمان لنيل المنى
وفيها لأعداء تونس نقم
وفيها لمن سالمونا السلام
แม่แบบ:Yesitalic
٣
𝄇 إذا الشعب يوما أراد الحياة
فلا بدّ أن يستجيب القدر
ولا بد لليل أن ينجلي
ولا بد للقيد أن ينكسر 𝄆
แม่แบบ:Yesitalic
Kūrāl:
Ḥumāt al-ḥimá yā ḥumāt al-ḥimá
Halummū halummū li-majdi iz-zaman
Laqad ṣarakhat fī ʿurūqinā ad-dimā
Namūtu namūtu wa-yaḥyā al-waṭan
I
Li-tadwi is-samāwātu bi-raʿdihā
Li-tarmi iṣ-ṣawāʿiqu nīrānahā
ʾIlá ʿizzi Tūnis ʾilá majdihā
Rijāl al-bilādi wa-shubbānahā
Fa-lā ʿāsha fī Tūnis man khānahā
Wa-lā ʿāsha man laysa min jundihā
Namūtu wa-naḥyā ʿalá ʿahdihā
Ḥayāt al-kirāmi wa-mawt al-ʿiẓām
Kūrāl
II
Wa-rithnā as-sawāʿida bayn al-ʾumam
Ṣukhūran ṣukhūran ka-hadhā al-bināʾ
Sawāʿidu yahtazzu fawqahā al-ʿalam
Nubāhī bihi wa-yubāhī binā
Wa-fīhā kafā lil-ʿulá wa-al-himam
Wa-fīhā ḍamānun li-nayli il-muná
Wa-fīhā li-ʾaʿdāʾi Tūnis niqam
Wa-fīhā li-man sālamūnā as-salām
Kūrāl
III
𝄆 ʾIdhā ash-shaʿbu yawman ʾarāda al-ḥayāh
Fa-lā budda ʾan yastajīb al-qadar
Wa-lā budda lil-layli ʾan yanjalī
Wa-lā budda lil-qaydi ʾan yankasir 𝄇
Kūrāl
[kuː.rɑːl]
[ħʊ.mæːt æl.ħɪ.mæː jæ ħʊ.mæːt æl.ħɪ.mæː]
[hæ.lʊm.mʊː hæ.lʊm.mʊː li.mæʒ.dɪ‿z.zæ.mæn]
[lɑ.qɑd sˤɑ.rɑ.χɑt fɪː ʕʊ.rʊː.qɪ.næː‿d.di.mæː]
[næ.muː.tu næ.muː.tu wæ.jɑħ.jæ‿l.wɑ.tˤɑn]
1
[lɪ.tæd.wɪ‿s.sæ.mæː.wæː.tʊ bi.rɑʕ.di.hæ]
[lɪ.tɑr.mɪ‿sˤ.sˤɑ.wɑː.ʕɪ.qʊ niː.rɑː.næ.hæː]
[ʔi.læ ʕɪz.zɪ tuː.nɪs ʔi.læ mæʒ.di.hæː]
[rɪ.ʒæːl æl.bɪ.læː.di wæ.ʃʊb.bæː.næ.hæː]
[fæ.læː ʕɑ.ʃæ fiː tuː.nɪs mæn χɑ.næ.hæː]
[wæ.læː ʕɑ.ʃæ mæn læj.sæ mɪn ʒʊn.di.hæː]
[næ.muː.tu wæ.nɑħ.jæː ʕɑ.læ ʕɑh.di.hæː]
[ħɑ.jæːt æl.ki.rɑː.mi wɑ.mɑwt æl.ʕɪ.ðˤɑm]
[kuː.rɑːl]
2
[wɑ.rɪθ.næː‿s.sæ.wɑː.ʕɪ.dæ bæjn æl.ʔu.mæm]
[sˤʊ.χuː.rɑn sˤʊ.χuː.rɑn kæ.hæ.ðæː‿l.bi.næː]
[sæ.wæː.ʕɪ.dʊ jæh.tæz.zʊ fɑw.qɑ.hæː‿l.ʕɑ.læm]
[nu.bæː.hiː bi.hiː wæ.jʊ.bæː.hiː bi.næː]
[wæ.fiː.hæː kæ.fæː lɪl.ʕʊ.læ wæ‿l.hɪ.mæm]
[wæ.fiː.hɑː dˤɑ.mæː.nʊn li.næj.lɪ‿l.mu.næ]
[wæ.fiː.hæː li.ʔɑʕ.dæː.ʔi tuː.nɪs nɪ.qɑm]
[wæ.fiː.hæː li.mæn sæː.læ.muː.næː‿s.sæ.læːm]
[kuː.rɑːl]
3
𝄆 [ʔi.ðæː‿ʃ.ʃɑʕ.bʊ jɑw.mæn ʔɑ.rɑː.dæ‿l.ħɑ.jæːh]
[fæ.læː bʊd.dæ ʔæn jæs.tæ.ʒiːb æl.qɑ.dɑr]
[wæ.læː bʊd.dæ lɪl.læj.li ʔæn jæn.ʒæ.liː]
[wæ.læː bʊd.dæ lɪl.qɑj.di ʔæn jæn.kæ.sɪr] 𝄇
[kuː.rɑːl]
บทประสานเสียง:
โอ้ เหล่าผู้พิทักษ์ แห่งมาตุภูมิ ทั้งหลาย
จงเร่งรุดไปสู่เกียรติศักดิ์ข้างหน้าเถิด!
โลหิตที่ไหลเวียนในกายเราเรียกร้องเช่นนั้น
เราพร้อมยอมตาย หากเป็นสิ่งจำเป็น ที่จะต้องตายเพื่อให้ชาติอยู่รอด
๑
ขอให้ท้องฟ้าจงคำรามด้วยฟ้าคะนอง
ขอให้ฝนฟ้าคะนองด้วยอัคคี
มนุษย์และเยาวชนแห่งตูนิเซีย
จงลุกขึ้นด้วยอานุภาพและเกียรติศักดิ์ของเธอ
ไม่มีที่ตั้งสำหรับคนทรยศแห่งตูนิเซีย
เป็นผู้ที่ปกปักรักษาให้เธอเท่านั้น!
เรามีชีวิตและตายอย่างภักดีต่อตูนิเซีย
ชีวิตแห่งศักดิ์ศรีและความตายแห่งความรุ่งโรจน์
บทประสานเสียง
๒
มรดกของเรา ท่ามกลางบรรดาชาติต่างๆ คือพลังแห่งอาวุธเรา
อาวุธซึ่งแข็งแกร่งดังหินผาของตึกอันทรงสง่า
และซึ่งชูธงแห่งชาติเรา ไว้สูงเด่น
ธงซึ่งเราภาคภูมิใจ และเรายินดีที่จะถือไว้
อาวุธซึ่งนำเราไปสู่จุดสูงสุด
แห่งความยิ่งใหญ่และเกรียงไกร
และซึ่งรับรองถึงการทำให้ความปรารถนาของเราเป็นจริง
ที่จะนำความเลวร้ายไปสู่ศัตรู แห่งปิตุภูมิ
แต่นำความสงบมาสู่ผู้ใฝ่หาสันติสุข
บทประสานเสียง
๓
𝄆 ยามเมื่อผองชนต้องการมีชีวิตอยู่
โชคชะตาย่อมตอบสนองแน่นอนว่า
ความมืดมนจักดับสูญ
ตรวนพันธนาการจะพินาศสิ้น 𝄇
บทประสานเสียง
บทร้องฉบับดั้งเดิม [ แก้ ]
ภาษาอาหรับ
ถ่ายเสียงด้วยอักษรโรมัน
حماة الحمى يا حماة الحمى
هلموا هلموا لمجد الزمن
لقد صرخت في العروق الدما
نموت نموت و يحيا الوطن
لتدو السماوات في رعدها
لترم الصواعق نيرانها
إلى عز مصر إلى مجدها
رجال البلاد و فتيانها
فلا عاش من ليس من جندها
ولا عاش في مصر من خانها
نموت ونحيا على عهدها
حياة الكرام وموت الكرام
بلادي احكمي واملكي واسعدي
فلا عاش من لم يعش سيدا
بحر دمي وبما في يدي
أنا لبلادي وروحي فدا
لك المجد يا مصر فاستمجدي
بعزة شعبك طول المدى
ونحن أسود الوغى فاشهدي
وثوب أسودك يوم الصدام
ورثنا سواعد باني الهرم
صخورا صخورا كهذا البنا
سواعد يعتز فيها العلم
نباهي به ويباهي بنا
وفيها كفاء العلى والهمم
وفيها ضمان لنيل المنى
وفيها لأعداء مصر النقم
وفيها لمن سالمونا السلام
Chorus:
Ḥumāt al-ḥimá yā ḥumāt al-ḥimá
Halummū halummū li-majdi iz-zaman
Laqad ṣarakhat fī il-‘urūqi id-dimā
Namūtu namūtu wa-yaḥyā al-waṭan
Li-tadwi is-samāwātu fī ra‘dihā
Li-tarmi iṣ-ṣawā‘iqu nīrānahā
Ilá ‘izzi Miṣrin ilá majdihā
Rijāl al-bilādi wa-fityānahā
Fa-lā ‘āsha man laysa min jundihā
Wa-lā ‘āsha fī Miṣra man khānahā
Namūtu wa-nahyā ‘alá ‘ahdihā
Ḥayāt al-kirāmi wa-mawt al-kirām
Chorus
Bilādi uḥkumī wa-amlikī wa-as‘adī
Fa-lā ‘āsha man lām ya‘ish sayyidā
Bi-ḥurri damī wa-bimā fī yadī
Anā li-bilādī wa-rūḥī fidā
Laki il-majdu yā Miṣru fa-astamjidī
Bi-‘izzati sha‘biki ṭūl al-madá
Wa-naḥnu usūd al-wajhá fa-ash′hadī
Wuthūba usūdiki yawm aṣ-ṣidām
Chorus
Wa-rithnā sawā‘ida bānī il-haram
Ṣukhūran ṣukhūran ka-hadhā al-binā’
Sawā‘idu yahtazzu fīhā al-‘alam
Nubāhī bihi wa-yubāhī binā
Wa-fīhā kafā’u ul-‘ulá wa-al-himam
Wa-fīhā ḍamānun li-nayli il-muná
Wa-fīhā li-’a‘dā’i Miṣra an-niqam
Wa-fīhā li-man sālamūnā as-salām
Chorus
อ้างอิง [ แก้ ]
แหล่งข้อมูลอื่น [ แก้ ]
รัฐเอกราช รัฐสิ้นสภาพ
ตูนิเซีย เอธิโอเปีย อดีตรัฐเอกราช
รัฐประชาชาติ