คาร์เธจโบราณ

พิกัด: 36°50′38″N 10°19′35″E / 36.8439°N 10.3264°E / 36.8439; 10.3264
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
คาร์เธจ

𐤒𐤓𐤕𐤟𐤇𐤃𐤔𐤕
Qart-ḥadašt
ป. 814 ปีก่อน ค.ศ. – 146 ปีก่อน ค.ศ.
ธงชาติคาร์เธจ
สัญลักษณ์ที่คาดว่าเป็นตราทางทหาร (military standard)[1] ประดับด้วยสัญลักษณ์รูปจันทร์เสี้ยวและแผ่นดวงอาทิตย์
Sign of Tanit, ตราประจำลัทธิหรือรัฐของคาร์เธจ
Sign of Tanit,
ตราประจำลัทธิหรือรัฐ
จักรวรรดิคาร์เธจใน 323 ปีก่อน ค.ศ.
จักรวรรดิคาร์เธจใน 323 ปีก่อน ค.ศ.
เมืองหลวงคาร์เธจ
ภาษาทั่วไปพิวนิก, ฟินิเชีย, เบอร์เบอร์, นูมิเดีย, ไอบีเรีย, กรีกโบราณ
ศาสนา
ศาสนาพิวนิก
เดมะนิมชาวคาร์เธจ
การปกครองราชาธิปไตยจนถึง ป. 480 ปีก่อน ค.ศ. ภายหลังเป็นสาธารณรัฐที่นำโดย Shophet[2]
ยุคประวัติศาสตร์โบราณ
• สถาปนาโดยผู้ตั้งถิ่นฐานชาวฟินิเชีย
ป. 814 ปีก่อน ค.ศ.
• เอกราชจากไทร์
กลางศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.
146 ปีก่อน ค.ศ.
ประชากร
• 221 ปีก่อน ค.ศ.[3]
3,700,000–4,300,000 (ทั้งจักรวรรดิ)
สกุลเงินสกุลเงินคาร์เธจ
ก่อนหน้า
ถัดไป
ฟินิเชีย
แอฟริกา (มณฑลของโรมัน)
ซิซิเลีย (มณฑลของโรมัน)
ฮิสปานิอา
มาอูเรตานีอา

คาร์เธจโบราณ (อังกฤษ: Ancient Carthage; พิวนิก: 𐤒𐤓𐤕𐤟𐤇𐤃𐤔𐤕, แปลว่า นครใหม่) เป็นอารยธรรมเซมิติกโบราณที่มีฐานในแอฟริกาเหนือ[4] เดิมเป็นที่อยู่อาศัยในบริเวณประเทศตูนิเซียในปัจจุบัน ภายหลังกลายเป็นนครรัฐแล้วกลายเป็นจักรวรรดิ สถาปนาโดยชาวฟินิเชียในศตวรรษที่ 9 ก่อน ค.ศ. คาร์เธจเข้าถึงช่วงสูงสุดในศตวรรษที่ 4 ก่อน ค.ศ. โดยเป็นหนึ่งในมหานครที่ใหญ่ที่สุดในโลก[5] ถือเป็นศูนย์กลางของ จักรวรรดิคาร์เธจ มหาอำนาจที่นำโดยชาวพิวนิกผู้ครอบครองทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตกถึงกลางโบราณ หลังสงครามพิวนิก คาร์เธจถูกฝ่ายโรมันทำลายใน 146 ปีก่อน ค.ศ. ก่อนที่จะสร้างนครใหม่อย่างฟุ่มเฟือยในภายหลัง[6][7][8]

อ้างอิง[แก้]

  1. Based on R. Hook's illustrations for Wise's Armies of the Carthaginian Wars, 265–146 BC
  2. Carthage and the Carthaginians, R. Bosworth Smith, p. 16
  3. Hoyos (2003), pp. 225–226.
  4. Farina, William (2014-11-21). Perpetua of Carthage: Portrait of a Third-Century Martyr (ภาษาอังกฤษ). McFarland. p. 35. ISBN 978-0-7864-8263-4.
  5. George Modelski, World Cities: –3000 to 2000, Washington DC: FAROS 2000, 2003. ISBN 0-9676230-1-4. Figures in main tables are preferentially cited. Part of former estimates can be read at Evolutionary World Politics Homepage Archived 2008-12-28 at the Wayback Machine
  6. Glenn Markoe (2000). Phoenicians. University of California Press. p. 55. ISBN 978-0-520-22614-2.
  7. Maria Eugenia Aubet (2008). "Political and Economic Implications of the New Phoenician Chronologies" (PDF). Universidad Pompeu Fabra. p. 179. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 11 December 2013. สืบค้นเมื่อ 24 February 2013. The recent radiocarbon dates from the earliest levels in Carthage situate the founding of this Tyrian colony in the years 835–800 cal BC, which coincides with the dates handed down by Flavius Josephus and Timeus for the founding of the city.
  8. Sabatino Moscati (2001). "Colonization of the Mediterranean". ใน Sabatino Moscati (บ.ก.). The Phoenicians. I.B.Tauris. p. 48. ISBN 978-1-85043-533-4.

บรรณานุกรม[แก้]

  • Encyclopædia Britannica ("Pyrrhus") (2013). "Pyrrhus". Encyclopædia Britannica, Inc. สืบค้นเมื่อ 1 July 2013.
  • Curtis, Robert I. (2008). "Food Processing and Preparation". ใน Oleson, John Peter (บ.ก.). The Oxford Handbook of Engineering and Technology in the Classical World. Oxford: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-518731-1.
  • de Vos, Mariette (2011). "The Rural Landscape of Thugga: Farms, Presses, Mills, and Transport". ใน Bowman, Alan; Wilson, Andrew (บ.ก.). The Roman Agricultural Economy: Organization, Investment, and Production. Oxford: Oxford University Press. ISBN 978-0-19-966572-3.
  • Hoyos, Dexter (2021). Carthage: a biography. Cities of the ancient world. Abingdon, Oxon ; New York, NY: Routledge. ISBN 978-1-138-78820-6.
  • Hoyos, Dexter (2003). Hannibal's dynasty. Power and politics in the western Mediterranean, 247–183 BC. London: Routledge. ISBN 0-203-41782-8.
  • Garouphalias, Petros (1979). Pyrrhus: King of Epirus. London, UK: Stacey International. ISBN 0-905743-13-X.
  • McCarter, P. Kyle. "The Early Diffusion of the Alphabet", The Biblical Archaeologist 37, No. 3 (Sep., 1974): 54–68. page 62. doi:10.2307/3210965. JSTOR 3210965.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

36°50′38″N 10°19′35″E / 36.8439°N 10.3264°E / 36.8439; 10.3264