คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 4
คณะรัฐมนตรีพหลพลพยุหเสนา คณะรัฐมนตรีคณะที่ 4 แห่งราชอาณาจักรสยาม | |
มิถุนายน - ธันวาคม พ.ศ. 2476 | |
![]() | |
วันแต่งตั้ง | 21 มิถุนายน 2476 |
วันสิ้นสุด | 16 ธันวาคม 2476 (0 ปี 178 วัน) |
บุคคลและองค์กร | |
ประมุขแห่งรัฐ | พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว |
หัวหน้าคณะรัฐมนตรี | นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) |
ประวัติ | |
วาระสภานิติบัญญัติ | 5 เดือน 25 วัน (178 วัน) |
ก่อนหน้า | คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 3 |
ถัดไป | คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 5 |
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 4 (21 มิถุนายน 2476 - 16 ธันวาคม 2476)
นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) เป็นนายกรัฐมนตรี ประกาศพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 21 มิถุนายน 2476 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาประชาธิปก พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงลงพระปรมาภิไธย เจ้าพระยาพิชัยญาติ (ดั่น บุนนาค) ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
รายชื่อคณะรัฐมนตรี[แก้]
![]() |
![]() |
ดำรงตำแหน่งเมื่อตั้งคณะรัฐมนตรี | ![]() |
ดำรงตำแหน่งจนสิ้นสุดคณะรัฐมนตรี |
![]() |
![]() |
แต่งตั้งเพิ่ม | ![]() |
เปลี่ยนแปลง/โยกย้ายไปตำแหน่งอื่น |
![]() |
![]() |
ย้ายมาจากตำแหน่งอื่น | ![]() |
ออกจากตำแหน่ง |
- คณะราษฎร
คณะรัฐมนตรีคณะที่ 3 ของไทย | ||||||||||
ตำแหน่ง | ลำดับ | รายนาม | เริ่มวาระ | สิ้นสุดวาระ | หมายเหตุ | ที่มา | ||||
นายกรัฐมนตรี | * | นายพันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | |||
กลาโหม | ![]() |
1 | นายพลตรี พระยาประเสริฐสงคราม (เทียบ คมกฤส) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | ||
ต่างประเทศ | ![]() |
17 | พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) | ![]() |
1 กันยายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | ||
มหาดไทย | ![]() |
2 | พระยาอุดมพงศ์เพ็ญสวัสดิ์ (หม่อมราชวงศ์ประยูร อิศรศักดิ์) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
|||
เศรษฐการ | ![]() |
3 | พระยาโกมารกุลมนตรี (ชื่น โกมารกุล ณ นคร) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | ||
การคลัง | ![]() |
4 | เจ้าพระยาศรีธรรมาธิเบศ (จิตร์ ณ สงขลา) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | ||
ธรรมการ | ![]() |
5 | เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | ||
ยุติธรรม | ![]() |
6 | พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ (วัน จามรมาน) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 1 กันยายน พ.ศ. 2476 | ![]() |
ปฏิบัติหน้าที่ในฐานะรัฐมนตรีทำการแทน | สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | |
![]() |
1 กันยายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
แต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม | ||||||
![]() |
7 | พระยาสุริยานุวัตร (เกิด บุนนาค) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
||||
![]() |
8 | นายพลเรือตรี พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 8 สิงหาคม 2476 | ![]() |
ลาออก | |||
![]() |
9 | นายพันเอก พระสิทธิเรืองเดชพล (แสง พันธุประภาส) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | |||
![]() |
10 | นายพันโท หลวงพิบูลสงคราม (แปลก ขีตตะสังคะ) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | |||
![]() |
11 | นายนาวาโท หลวงศุภชลาศัย (บุง ศุภชลาศัย) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | |||
![]() |
12 | นายนาวาโท หลวงสินธุสงครามชัย (สินธุ์ กมลนาวิน) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | |||
![]() |
13 | หลวงนฤเบศร์มานิต (สงวน จูฑะเตมีย์) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | |||
![]() |
14 | หลวงสิริราชไมตรี (จรูญ สิงหเสนี) | ![]() |
21 มิถุนายน 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | |||
![]() |
15 | นายนาวาเอก พระยาวิชิตชลธี (ทองดี สุวรรณพฤกษ์) | ![]() |
8 สิงหาคม 2476 | 9 ธันวาคม 2476 | ![]() |
ลาออก | |||
![]() |
16 | นายเรือเอก หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) | ![]() |
8 สิงหาคม 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 | |||
![]() |
18 | หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) | ![]() |
1 ตุลาคม 2476 | 16 ธันวาคม 2476 | ![]() |
สภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 |
การเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรี[แก้]
8 สิงหาคม[แก้]
- ลาออก - นายพลเรือตรี พระยาปรีชาชลยุทธ (วัน จารุภา) กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่ง
- แต่งตั้ง - นายนาวาเอก พระยาวิชิตชลธี (ทองดี สุวรรณพฤกษ์) เป็นรัฐมนตรี
- แต่งตั้ง - นายเรือเอก หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์ (ถวัลย์ ธารีสวัสดิ์) เป็นรัฐมนตรี
1 กันยายน[แก้]
- แต่งตั้ง - พระยานิติศาสตร์ไพศาลย์ (วัน จามรมาน) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
- แต่งตั้ง - พระยาอภิบาลราชไมตรี (ต่อม บุนนาค) เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
1 ตุลาคม[แก้]
- แต่งตั้ง - หลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) เป็นรัฐมนตรี
9 ธันวาคม[แก้]
- ลาออก - นายนาวาเอก พระยาวิชิตชลธี (ทองดี สุวรรณพฤกษ์) ได้กราบถวายบังคมลาออกจากตำแหน่งเพราะป่วย
การแถลงนโยบายของรัฐบาล[แก้]
![]() |
วิกิซอร์ซ มีงานต้นฉบับเกี่ยวกับ: |
คณะรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายต่อสภาผู้แทนราษฎรเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2476
เหตุการณ์สำคัญ[แก้]
กบฏบวรเดช[แก้]
เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหมในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ได้นำกำลังทหารจากหัวเมืองภาคอีสานเข้ามาเพื่อล้มล้างการปกครองของรัฐบาล แต่ไม่ประสบความสำเร็จ
หมายเหตุ[แก้]
นายกรัฐมนตรีได้กราบถวายบังคมลาออก โดยอ้างเหตุผลว่า หย่อนความรู้ในทางกฎหมายและการเมือง แต่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงขอร้องให้รับตำแหน่งต่อไปและทรงแจ้งไปยังสภาขอให้สนับสนุนคำขอร้องของพระองค์ท่านด้วย ที่ประชุมสภาได้ลงมติเป็นเอกฉันท์ให้พระยาพหลพลพยุหเสนา ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีต่อไป
การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรี[แก้]
คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เพราะได้มีการเลือกตั้งทั่วไป โดยเลือกสมาชิกประเภทที่ 1 ขึ้นและสมาชิกประเภทที่ 2 เดิมที่ให้ความไว้วางใจแก่คณะรัฐมนตรีก็สิ้นสุด