ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระแม่มาเหศวรี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Teeratep pannong (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
| เทวพาหนะ = [[โค]]
| เทวพาหนะ = [[โค]]
}}
}}
'''พระแม่มเหศวรี'''({{lang-sa|माहेस्वरी }}{{lang-en|Maheshvari}})เป็น[[เทวีในศาสนาฮินดู]]องค์หนึ่งในคณะของ[[พระแม่สัปตมาตฤกา]] โดยถือว่าเป็นพลังของ[[พระศิวะ|พระอิศวร]]และ[[พระแม่ปารวตี|พระอุมาเทวี]] ใน[[ศาสนาฮินดู]]และยังปรากฎ[[เทวรูป]]ใน[[ประเทศไทย]]ที่[[ประเทศไทย]][[เทวสถานโบสถ์พราหมณ์]] [[กรุงเทพมหานคร]]โดยประดิษฐานในบุษบกขนาบข้างร่วมกับ[[เทวรูป]][[พระวิษณุ|พระนารายณ์]]และ[[เทวรูป]][[พระลักษมี]] ในหอพระนารายณ์. ทั้งยังปารกฎใน[[จิตรกรรม]]ฝาผนัง[[วัดบวรสถานสุทธาวาส]]และสมุดข่อยตำราเทพเจ้าในช่วงต้นของกรุงรัตนโกสินทร์.
'''พระแม่มเหศวรี'''({{lang-sa|माहेस्वरी }}{{lang-en|Maheshvari}})เป็น[[เทวีในศาสนาฮินดู]]องค์หนึ่งในคณะของ[[พระแม่สัปตมาตฤกา]] โดยถือว่าเป็นพลังของ[[พระศิวะ|พระอิศวร]]และ[[พระแม่ปารวตี|พระอุมาเทวี]] ใน[[ศาสนาฮินดู]]และยังปรากฏ[[เทวรูป]]ใน[[ประเทศไทย]]ที่[[ประเทศไทย]][[เทวสถานโบสถ์พราหมณ์]] [[กรุงเทพมหานคร]]โดยประดิษฐานในบุษบกขนาบข้างร่วมกับ[[เทวรูป]][[พระวิษณุ|พระนารายณ์]]และ[[เทวรูป]][[พระลักษมี]] ในหอพระนารายณ์. ทั้งยังปารกฎใน[[จิตรกรรม]]ฝาผนัง[[วัดบวรสถานสุทธาวาส]]และสมุดข่อยตำราเทพเจ้าในช่วงต้นของกรุงรัตนโกสินทร์.


==เทวตำนาน==
==เทวตำนาน==
{{โครงส่วน}}
{{โครงส่วน}}
== ความเข้าใจผิดใน[[ประเทศไทย]] ==
== ความเข้าใจผิดใน[[ประเทศไทย]] ==
ในภาษาสันสกฤต คำว่า มเหศวร นั้นหมายถึง [[พระศิวะ|พระอิศวร]]และคำว่า มเหศวรี นั่นย่อมหมายถึง [[พระแม่ปารวตี|พระอุมาเทวี]]พระชายาของ [[พระศิวะ|พระอิศวร]]และใน[[ศาสนาฮินดู|ศาสนาพราหมณ์]]ใน[[ประเทศอินเดีย]]ซึ่งเป็นต้นฉบับนั้น หาก[[เทวรูป]][[พระวิษณุ|พระนารายณ์]]แล้วขนาบข้างด้วย[[เทวรูป]][[เทวี]]สองพระองค์นั้น คือ [[พระลักษมี]]และ[[พระแม่ภูมี|พระภูเทวี]] ซึ่งลักษณะนี้ส่วนใหญ่นิยมปารากฏในภาคใต้ของ[[ประเทศอินเดีย]]แต่ปรากฎว่าเมื่อเข้ามาถึง[[ประเทศไทย]] คติได้ผันแปรไป กลายเป็นพระลักษมีและพระมเหศวรีไปแทน [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]](รัชกาลที่6)ทรงพระราชวิจารณ์ไว้ในหนังสือพระเป็นเจ้าของพราหมณ์ในทำนองว่า เป็ฯความเข้าใจผิดของพราหมณ์ไทย ที่คิดว่าชื่อ [[พระลักษมี]]และชื่อมเหศวรี เป็นคนละองค์กัน แต่ที่แท้แล้วทรงเห็นว่าทั้งสองชื่อหมายถึงพระเทวีพระองค์เดียวกันคือ [[พระลักษมี]] ดังนั้นจึงอาจอนุมานได้ว่า[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงเป็นต้นทางของคติในเมืองไทยที่ว่า[[พระนารายณ์]]ทรงมีพระชายาเพียงพระองค์เดียวคือ[[พระลักษมี]] ซึ่งตรงกับพระราชประสงค์จำนงหมายในเวลานั้นเช่นกัน.
ในภาษาสันสกฤต คำว่า มเหศวร นั้นหมายถึง [[พระศิวะ|พระอิศวร]]และคำว่า มเหศวรี นั่นย่อมหมายถึง [[พระแม่ปารวตี|พระอุมาเทวี]]พระชายาของ [[พระศิวะ|พระอิศวร]]และใน[[ศาสนาฮินดู|ศาสนาพราหมณ์]]ใน[[ประเทศอินเดีย]]ซึ่งเป็นต้นฉบับนั้น หาก[[เทวรูป]][[พระวิษณุ|พระนารายณ์]]แล้วขนาบข้างด้วย[[เทวรูป]][[เทวี]]สองพระองค์นั้น คือ [[พระลักษมี]]และ[[พระแม่ภูมี|พระภูเทวี]] ซึ่งลักษณะนี้ส่วนใหญ่นิยมปารากฏในภาคใต้ของ[[ประเทศอินเดีย]]แต่ปรากฏว่าเมื่อเข้ามาถึง[[ประเทศไทย]] คติได้ผันแปรไป กลายเป็นพระลักษมีและพระมเหศวรีไปแทน [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]](รัชกาลที่6)ทรงพระราชวิจารณ์ไว้ในหนังสือพระเป็นเจ้าของพราหมณ์ในทำนองว่า เป็ฯความเข้าใจผิดของพราหมณ์ไทย ที่คิดว่าชื่อ [[พระลักษมี]]และชื่อมเหศวรี เป็นคนละองค์กัน แต่ที่แท้แล้วทรงเห็นว่าทั้งสองชื่อหมายถึงพระเทวีพระองค์เดียวกันคือ [[พระลักษมี]] ดังนั้นจึงอาจอนุมานได้ว่า[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงเป็นต้นทางของคติในเมืองไทยที่ว่า[[พระนารายณ์]]ทรงมีพระชายาเพียงพระองค์เดียวคือ[[พระลักษมี]] ซึ่งตรงกับพระราชประสงค์จำนงหมายในเวลานั้นเช่นกัน.
== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:58, 14 กรกฎาคม 2560

พระแม่มเหศวรี
ไฟล์:Goddesses Maheshvari.jpg
ภาพวาดพระแม่มเหศวรี ตามคติอินเดีย
จำพวกเทวนารี
อาวุธตรีศูล
สัตว์พาหนะโค

พระแม่มเหศวรี(สันสกฤต: माहेस्वरीอังกฤษ: Maheshvari)เป็นเทวีในศาสนาฮินดูองค์หนึ่งในคณะของพระแม่สัปตมาตฤกา โดยถือว่าเป็นพลังของพระอิศวรและพระอุมาเทวี ในศาสนาฮินดูและยังปรากฏเทวรูปในประเทศไทยที่ประเทศไทยเทวสถานโบสถ์พราหมณ์ กรุงเทพมหานครโดยประดิษฐานในบุษบกขนาบข้างร่วมกับเทวรูปพระนารายณ์และเทวรูปพระลักษมี ในหอพระนารายณ์. ทั้งยังปารกฎในจิตรกรรมฝาผนังวัดบวรสถานสุทธาวาสและสมุดข่อยตำราเทพเจ้าในช่วงต้นของกรุงรัตนโกสินทร์.

เทวตำนาน

ความเข้าใจผิดในประเทศไทย

ในภาษาสันสกฤต คำว่า มเหศวร นั้นหมายถึง พระอิศวรและคำว่า มเหศวรี นั่นย่อมหมายถึง พระอุมาเทวีพระชายาของ พระอิศวรและในศาสนาพราหมณ์ในประเทศอินเดียซึ่งเป็นต้นฉบับนั้น หากเทวรูปพระนารายณ์แล้วขนาบข้างด้วยเทวรูปเทวีสองพระองค์นั้น คือ พระลักษมีและพระภูเทวี ซึ่งลักษณะนี้ส่วนใหญ่นิยมปารากฏในภาคใต้ของประเทศอินเดียแต่ปรากฏว่าเมื่อเข้ามาถึงประเทศไทย คติได้ผันแปรไป กลายเป็นพระลักษมีและพระมเหศวรีไปแทน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่6)ทรงพระราชวิจารณ์ไว้ในหนังสือพระเป็นเจ้าของพราหมณ์ในทำนองว่า เป็ฯความเข้าใจผิดของพราหมณ์ไทย ที่คิดว่าชื่อ พระลักษมีและชื่อมเหศวรี เป็นคนละองค์กัน แต่ที่แท้แล้วทรงเห็นว่าทั้งสองชื่อหมายถึงพระเทวีพระองค์เดียวกันคือ พระลักษมี ดังนั้นจึงอาจอนุมานได้ว่าพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นต้นทางของคติในเมืองไทยที่ว่าพระนารายณ์ทรงมีพระชายาเพียงพระองค์เดียวคือพระลักษมี ซึ่งตรงกับพระราชประสงค์จำนงหมายในเวลานั้นเช่นกัน.

ดูเพิ่ม

อ้างอิง