จักรวรรดิแอซเท็ก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก Aztec Empire)
สามพันธมิตร
(จักรวรรดิแอซเท็ก)

Ēxcān Tlahtōlōyān
ค.ศ. 1428ค.ศ. 1521
ธงชาติจักรวรรดิแอซเท็ก
ธงชาติ
ของจักรวรรดิแอซเท็ก
ตราแผ่นดิน
ที่ตั้งของจักรวรรดิแอซเท็ก
เมืองหลวงเตนอชตีตลัน
ภาษาทั่วไปNahuatl
การปกครองสมาพันธรัฐการใช้อำนาจครอบงำทางทหารแห่งนครรัฐสัมพันธมิตร
Huehuetlatoani of Tenochtitlan 
• 1427–1440
Itzcoatl (Alliance founder)
• 1520–1521
Cuauhtémoc (last)
Huetlatoani of Texcoco 
• 1431–1440
Nezahualcoyotl (Alliance founder)
• 1516–1520
Cacamatzin (last)
Huetlatoani of Tlacopan 
• 1400–1430
Totoquihuatzin (Alliance founder)
• 1519–1524
Tetlepanquetzaltzin (last)
ยุคประวัติศาสตร์พรี-โคลัมเบียน
• ก่อตั้งเตนอชตีตลัน
13 มีนาคม ค.ศ. 1325 ค.ศ. 1428
13 สิงหาคม ค.ศ. 1521 ค.ศ. 1521
พื้นที่
500,000 ตารางกิโลเมตร (190,000 ตารางไมล์)
สกุลเงินระบบแลกเปลี่ยน
ถัดไป
เขตอุปราชแห่งนิวสเปน

แอซเท็ก (อังกฤษ: Aztec Empire) เป็นคำที่หมายถึงกลุ่มชาติพันธ์ในทางตอนกลางของเม็กซิโกโดยเฉพาะกลุ่มที่พูดภาษานาวาตล์ (Nahuatl) ผู้มีอำนาจทางการเมืองและทางการทหารในบริเวณเมโสอเมริกา ในคริสต์ศตวรรษที่ 14, 15 และ 16 ในสมัยที่เรียกว่าปลายยุคคลาสสิกตอนหลังในลำดับเหตุการณ์ในเมโสอเมริกา (Mesoamerican chronology)

ส่วนใหญ่แล้ว “แอซเท็ก” มักจะหมายถึงเฉพาะชาวเตนอชตีตลัน (en:Tenochtitlan) ที่ตั้งถิ่นฐานอยู่บนเกาะในทะเลสาบเท็กซ์โคโคที่เรียกตนเองว่า “เม็กซิกาเทน็อคคา” หรือ “โคลฮูอาเม็กซิกาเทน็อคคา”

บางครั้งคำนี้ก็รวมทั้งผู้ที่พำนักอาศัยของเตนอชตีตลันในนครรัฐพันธมิตรอีกสองเมือง Acolhua แห่ง เตซโกโก และ เทพาเน็คแห่งทลาโคพานที่รวมกันเป็นสามพันธมิตรแอซเท็ก (Aztec Triple Alliance) หรือที่เรียกกันว่า “จักรวรรดิแอซเท็ก”

กลุ่มกองกิสตาดอร์ หรือนักสำรวจดินแดนชาวสเปนนำโดย เอร์นัน กอร์เตส เข้ารุกรานและยึดครองจักรวรรดิแอซเท็ก จนกระทั่งล่มสลายในปี ค.ศ. 1521

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  • Berdan, Frances F. (2004) The Aztecs of Central Mexico: An Imperial Society. 2nd ed. Thomson-Wadsworth, Belmont, CA. ISBN 0-534-62728-5.
  • Berdan, Frances F., Richard E. Blanton, Elizabeth H. Boone, Mary G. Hodge, Michael E. Smith and Emily Umberger (1996). Aztec Imperial Strategies. Dumbarton Oaks, Washington, DC. ISBN 0-88402-211-0.