ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาคตะวันออก (ประเทศไทย)"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 45: บรรทัด 45:
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
== การแบ่งเขตการปกครอง ==
[[ไฟล์:Thailand East eco.png|200px|thumb|right|แผนที่ภาคตะวันออก กำหนดตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]
[[ไฟล์:Thailand East eco.png|200px|thumb|right|แผนที่ภาคตะวันออก กำหนดตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]

การแบ่งจังหวัดเป็นภูมิภาคด้วยระบบ 6 ภาค เป็นการแบ่งที่เป็นทางการโดยคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ ใช้ในการศึกษาทางภูมิศาสตร์ โดยภาคตะวันออกของระบบ 6 ภาคนี้ ประกอบไปด้วยเขตการปกครอง 7 จังหวัด รวมถึง[[กรุงเทพมหานคร]] (ซึ่งเป็นเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มีฐานะเทียบเท่ากับจังหวัด) โดยมีพื้นที่ทางเหนือไปจนสุดเขต[[จังหวัดสุโขทัย]]และ[[จังหวัดพิษณุโลก]] และทางใต้ลงไปสุดที่[[อ่าวไทย]] ยกเว้นจังหวัดที่ติดกับประเทศกัมพูชา ซึ่งมีลักษณะเป็นภูเขา และยกเว้นจังหวัดทางภาคกลาง

นอกจากนี้ ยังมีหลายหน่วยงานที่กำหนดขอบเขตของภาคกลางแตกต่างกันออกไป บางครั้งก็มีการระบุว่าพื้นที่ภาคตะวันออกเป็นภูมิภาคที่แยกต่างหากจากภาคกลาง หรือระบุว่าภาคกลางไม่มีจังหวัดนครนายก แต่ไปอยู่ภาคตะวันออก เช่น [[คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ]]กำหนดให้ภาคกลางประกอบด้วย 9 จังหวัด ได้แก่ [[กรุงเทพมหานคร]] [[จังหวัดชัยนาท]] [[จังหวัดนนทบุรี|นนทบุรี]] [[จังหวัดปทุมธานี|ปทุมธานี]] [[จังหวัดพระนครศรีอยุธยา|พระนครศรีอยุธยา]] [[จังหวัดลพบุรี|ลพบุรี]] [[จังหวัดสระบุรี|สระบุรี]] [[จังหวัดสิงห์บุรี|สิงห์บุรี]] และ[[จังหวัดอ่างทอง]] เพราะภูมิภาคเป็นการปกครองที่ไม่มีผู้บริหาร ไม่มีเขตที่ชัดเจน การแบ่งจังหวัดเป็นภูมิภาคจึงเป็นเพียงการจัดกลุ่มทางภูมิศาสตร์และสถิติเท่านั้น อย่างไรก็ตาม จังหวัดในภาคกลางตามการแบ่งที่เป็นทางการ ประกอบไปด้วยจังหวัดต่าง ๆ 21 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร ดังต่อไปนี้


{| class="wikitable sortable" width="70%"
{| class="wikitable sortable" width="70%"

รุ่นแก้ไขเมื่อ 15:05, 16 มีนาคม 2561

ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกในประเทศไทย
ภาคตะวันออกในประเทศไทย
เมืองใหญ่สุดเมืองพัทยา,
เทศบาลนครเจ้าพระยาสุรศักดิ์
จังหวัด
พื้นที่
 • ทั้งหมด34,380 ตร.กม. (13,270 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (พ.ศ. 2560)
 • ทั้งหมด4,743,840 คน
 • ความหนาแน่น140 คน/ตร.กม. (360 คน/ตร.ไมล์)

ภาคตะวันออก เป็นภูมิภาคย่อยทางตะวันออกของประเทศไทย เดิมถือเป็นส่วนหนึ่งของภาคกลาง อยู่ติดชายฝั่งอ่าวไทยด้านตะวันออก นับเป็นอีกภูมิภาคหนึ่งที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ เนื่องจากเป็นแหล่งอุตสาหกรรม ผลไม้ และอัญมณีของประเทศ

อาณาเขตติดต่อ

พื้นที่ของภาคตะวันออกมีขอบเขตจรดภูมิภาคต่างๆ ดังนี้

การแบ่งเขตการปกครอง

แผนที่ภาคตะวันออก กำหนดตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม โดยคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

การแบ่งจังหวัดเป็นภูมิภาคด้วยระบบ 6 ภาค เป็นการแบ่งที่เป็นทางการโดยคณะกรรมการภูมิศาสตร์แห่งชาติ ใช้ในการศึกษาทางภูมิศาสตร์ โดยภาคตะวันออกของระบบ 6 ภาคนี้ ประกอบไปด้วยเขตการปกครอง 7 จังหวัด รวมถึงกรุงเทพมหานคร (ซึ่งเป็นเขตการปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษที่มีฐานะเทียบเท่ากับจังหวัด) โดยมีพื้นที่ทางเหนือไปจนสุดเขตจังหวัดสุโขทัยและจังหวัดพิษณุโลก และทางใต้ลงไปสุดที่อ่าวไทย ยกเว้นจังหวัดที่ติดกับประเทศกัมพูชา ซึ่งมีลักษณะเป็นภูเขา และยกเว้นจังหวัดทางภาคกลาง

นอกจากนี้ ยังมีหลายหน่วยงานที่กำหนดขอบเขตของภาคกลางแตกต่างกันออกไป บางครั้งก็มีการระบุว่าพื้นที่ภาคตะวันออกเป็นภูมิภาคที่แยกต่างหากจากภาคกลาง หรือระบุว่าภาคกลางไม่มีจังหวัดนครนายก แต่ไปอยู่ภาคตะวันออก เช่น คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติกำหนดให้ภาคกลางประกอบด้วย 9 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี และจังหวัดอ่างทอง เพราะภูมิภาคเป็นการปกครองที่ไม่มีผู้บริหาร ไม่มีเขตที่ชัดเจน การแบ่งจังหวัดเป็นภูมิภาคจึงเป็นเพียงการจัดกลุ่มทางภูมิศาสตร์และสถิติเท่านั้น อย่างไรก็ตาม จังหวัดในภาคกลางตามการแบ่งที่เป็นทางการ ประกอบไปด้วยจังหวัดต่าง ๆ 21 จังหวัด และกรุงเทพมหานคร ดังต่อไปนี้

ตราประจำ
จังหวัด
ชื่อจังหวัด
อักษรไทย
ชื่อจังหวัด
อักษรโรมัน
จำนวนประชากร
(คน)
พื้นที่
(ตร.กม.)
ความหนาแน่น
(คน/ตร.กม.)
จันทบุรี Chanthaburi 5,682,415 1,568.7 3,622.2
ฉะเชิงเทรา Chachoengsao 727,093 8,607.5 84.5
ชลบุรี Chonburi 334,934 2,469.7 135.6
ตราด Trat 252,734 2,122.0 119.1
ปราจีนบุรี Prachinburi 860,246 2,168.3 396.7
ระยอง Rayong 1,073,495 9,597.7 111.8
สระแก้ว Sakaeo 1,101,743 622.3 1,770.4

การแบ่งพื้นที่

การแบ่งภูมิภาคตามราชบัณฑิตยสถาน แบ่งภาคตะวันออกประกอบไปด้วย 7 จังหวัดอย่างเป็นทางการ [1]

การจัดแบ่งภูมิภาคตามคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แบ่งภาคตะวันออกประกอบด้วย 9 จังหวัด[1] ได้แก่

สถิติประชากรของจังหวัดในภาคตะวันออก ตามการแบ่งเขตปกครองของราชบัณฑิตยสถาน

อันดับ จังหวัด จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2558)[2]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2557)[3]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2556)[4]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2555) [5]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2554) [6]
จำนวน (คน)
(31 ธันวาคม 2553) [7]
1 ชลบุรี 1,455,039 1,421,425 1,390,354 1,364,002 1,338,656 1,316,293
2 ฉะเชิงเทรา 700,902 695,478 690,226 685,721 679,370 673,933
3 ระยอง 688,999 674,393 661,220 649,275 637,736 626,402
4 สระแก้ว 556,922 552,187 550,937 548,342 545,596 544,100
5 จันทบุรี 531,037 527,350 524,260 521,812 516,855 514,616
6 ปราจีนบุรี 482,195 479,314 476,167 473,770 469,652 466,572
7 ตราด 229,435 224,730 224,010 222,855 222,013 220,921
รวม 4,644,529 4,574,877 4,517,174 4,465,777 4,409,878 4,362,837

ลักษณะภูมิประเทศ

ภาคตะวันออกมีลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบสูงสลับกับภูเขาลูกเตี้ยมากๆ มีชายฝั่งทะเลที่เรียบยาวและโค้งเว้า มีทิวเขาจันทบุรีอยู่ทางด้านชายฝั่งทะเลตะวันออก ทอดตัวไปทางด้านทิศตะวันตก จรดกับทิวเขาบรรทัด ซึ่งเป็นทิวเขาที่เป็นเส้นแบ่งเขตระหว่างประเทศไทยกับประเทศกัมพูชา และมีแม่น้ำสายสำคัญอยู่หลายสาย ที่ไหลลงสู่อ่าวไทยได้แก่ แม่น้ำระยอง แม่น้ำจันทบุรี แม่น้ำประแสร์ แม่น้ำตราด แม่น้ำบางปะกง

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 การแบ่งภูมิภาคในประเทศไทย
  2. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat58.htm 2558. สืบค้น 16 กุมภาพันธ์ 2559.
  3. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat57.html 2558. สืบค้น 1 มีนาคม 2558.
  4. ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักทะเบียนกลาง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเนกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่างๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๖, เล่ม ๑๓๑, ตอน ๔๑ ง , ๔ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗, หน้า ๑
  5. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat55.html 2555. สืบค้น 3 เมษายน 2556.
  6. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://stat.bora.dopa.go.th/stat/y_stat54.html 2555. สืบค้น 6 เมษายน 2555.
  7. กรมการปกครอง. กระทรวงมหาดไทย. "ประกาศสำนักทะเบียนกลาง กรมการปกครอง เรื่อง จำนวนราษฎรทั่วราชอาณาจักร แยกเป็นกรุงเทพมหานครและจังหวัดต่าง ๆ ตามหลักฐานการทะเบียนราษฎร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553." [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: [1] 2553. สืบค้น 22 มีนาคม 2554.

แหล่งข้อมูลอื่น