ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถานีหัวลำโพง"

พิกัด: 13°44′14″N 100°31′04″E / 13.737269°N 100.517792°E / 13.737269; 100.517792
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Ciwat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 72: บรรทัด 72:
|}
|}


หนัง​ไไไไไได​โน​ไไไป​ใน​ใน​ใน​ไไป​ไใน​ชีวิต​ประจำวัน​ประจำวัน​ไไได้​ไไไได้​ใน​ไไไไไไได้​ไไไได้​ไไไได้​ได้​ไได้​ไไได้​ไไไไไไไไไไไไไได้​ไไม่ยาก​ไโทร​นี่​ไป​ไป​ไหน​เลย​ไได้​ที่​ได้รับ​คไไม่ได้​ไปหา​ไม่ได้​ไวามนิยม​ได้​ไไไไไได้​ใน​ใน​ไได้​ใน​ใน​ไได้​
== รายละเอียดของสถานี ==
[[ไฟล์:สัญลักษณ์สถานีหัวลำโพง.jpg|thumb|รูปทรงครึ่งวงกลมของอาคารสถานีรถไฟกรุงเทพ สัญลักษณ์ประจำสถานี]]
==== สัญลักษณ์ของสถานี ====
ตราสัญลักษณ์เป็นรูปทรงครึ่งวงกลมของอาคารสถานีรถไฟกรุงเทพ โดยมีรูปทรงปกติอยู่เหนือเงาสะท้อนรูปหัวกลับ ใช้สีแดงเพื่อบ่งบอกถึงความเป็นย่านธุรกิจ หรือตลาด <ref>จุดเริ่มต้นของคนเดินทาง: ดำดินเดินทาง. คอลัมน์นายรอบรู้ นิตยสารสารคดี เดือนตุลาคม 2548</ref>

==== รูปแบบของสถานี ====
เป็นสถานีใต้ดิน กว้าง 23 เมตร ยาว 206 เมตร ระดับชานชาลาอยู่ลึกจากผิวดิน 14 เมตร เป็นชานชาลาแบบกลาง (Station with Central Platform)

==== ทางเข้า-ออก ====
* '''1''' โรงแรมบางกอกเซ็นเตอร์, ถนนมหาพฤฒาราม, วัดไตรมิตร, วงเวียนโอเดียน, ถนนไมตรีจิตต์
* '''2''' สถานีรถไฟกรุงเทพ, ถนนรองเมือง ด้านข้างอาคารสถานีรถไฟ, ป้ายรถประจำทางหน้าสถานีรถไฟ
* '''3''' ธนาคารกรุงเทพ สาขาหัวลำโพง, ถนนรองเมือง ด้านติดถนนพระรามที่ 4, ป้ายรถประจำทางไปสามย่าน
* '''4''' ธนาคารนครหลวงไทย สาขาหัวลำโพง (อาคารตั้ง ฮั่ว ปัก พระรามสี่), ป้ายรถประจำทางไปเยาวราช

<gallery mode="packed">
ไฟล์:Señalizacion bilingue metro bangkok.jpg|ป้ายบอกทางไปทางเข้า-ออกที่ 1 และ 4
ไฟล์:Walkway from MRT to Bangkok Railway Station.jpg|ทางเชื่อมไปยัง[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]]
ไฟล์:Hua Lamphong MRT Station Entrance.jpg|ทางเข้า-ออกที่ 2 เชื่อมต่อกับ[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]]
ไฟล์:ทางออก 3.jpg|ทางเข้า-ออกที่ 3 ฝั่ง[[ถนนพระรามที่ 4]]
</gallery>

==== การจัดพื้นที่ในตัวสถานี ====
แบ่งเป็น 2 ชั้น ประกอบด้วย
* '''1''' ชั้นออกบัตรโดยสาร นิทรรศการ และทางเชื่อมสถานีรถไฟกรุงเทพ
* '''2''' ชั้นชานชาลา


== สิ่งอำนวยความสะดวก ==
== สิ่งอำนวยความสะดวก ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 09:16, 25 มิถุนายน 2562

แม่แบบ:BMCL infobox

สถานีหัวลำโพง (อังกฤษ: Hua Lamphong Station, รหัส BL28) เป็นสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน ในเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล ที่ถนนพระรามที่ 4 กรุงเทพมหานคร บริเวณสถานีรถไฟกรุงเทพ (หัวลำโพง) ซึ่งเป็นสถานีรถไฟที่เก่าแก่ที่สุด และเป็นสถานีรถไฟหลักของประเทศไทย เนื่องจากเป็นสถานีปลายทางและเพื่อรำลึกถึงกิจการรถไฟในประเทศไทย จึงใช้สถานีหัวลำโพงเป็นสถานที่ทำพิธีวางศิลาฤกษ์โครงการ และทำพิธีเปิดการเดินรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล นอกจากนี้ยังมีส่วนจัดแสดงนิทรรศการถาวรเกี่ยวกับความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานครอยู่ภายในสถานี

ที่ตั้ง

ถนนพระรามที่ 4 บริเวณแยกหัวลำโพง จุดบรรจบ ถนนพระรามที่ 4, ถนนรองเมือง, ทางขึ้นทางด่วนหัวลำโพง และ ถนนมหาพฤฒาราม ในพื้นที่แขวงรองเมือง เขตปทุมวัน และแขวงมหาพฤฒาราม เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร

สำหรับที่ตั้งของสถานีหัวลำโพง นอกจากมีความโดดเด่นจากการเชื่อมต่อกับสถานีรถไฟหัวลำโพง ซึ่งเป็นต้นทางหลักของรถไฟทางไกลทั่วประเทศแล้ว ยังอยู่ใกล้กับย่านธุรกิจการค้าที่สำคัญของชาวไทยเชื้อสายจีน บริเวณสามแยก (ห้าแยกหมอมี), ตลาดน้อย และวงเวียนโอเดียน ที่เป็นจุดเริ่มต้นของถนนเยาวราช หรือ "ไชน่าทาวน์" ของเมืองไทย ทำให้สถานีรถไฟฟ้าหัวลำโพงเป็นอีกหนึ่งสถานี ที่มีบทบาทสำคัญด้านการท่องเที่ยวในกรุงเทพฯ และในขณะนี้ที่ระบบรถไฟฟ้ายังครอบคลุมไปไม่ถึงพื้นที่เมืองเก่าบริเวณเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ สถานีหัวลำโพงก็ยังมีความสำคัญต่อการเดินทางของผู้โดยสารในย่านเมืองเก่า เช่น เยาวราช คลองถม พาหุรัด ปากคลองตลาด ซึ่งโดยสารรถประจำทางมาเชื่อมต่อรถไฟฟ้าใต้ดินออกสู่พื้นที่อื่น ๆ ของกรุงเทพฯ โดยเฉพาะด้านตะวันออก เพราะในปัจจุบันสถานีหัวลำโพงถือได้ว่าเป็นสถานีรถไฟฟ้าที่อยู่ใกล้กับเขตเมืองเก่ามากที่สุด เพียงถัดจากคลองผดุงกรุงเกษม ซึ่งเป็นคูเมืองชั้นนอกสุดของกรุงเทพฯ บริเวณสะพานเจริญสวัสดิ์ 36

โดยปัจจุบัน (พ.ศ. 2562) สถานีหัวลำโพงยังคงเป็นสถานีปลายทางในระบบรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล แต่อยู่ในระหว่างการก่อสร้างส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแค โดยหลังจากนี้ชานชาลาที่ 1 ที่มุ่งหน้าไปสถานีหลักสอง จะลดระดับกลายเป็นชานชาลาแบบสองชั้นเหมือนเดิม เนื่องจากวิ่งเลียบเข้าถนนเจริญกรุงที่มีทางแคบ และจะลดระดับลงไปเรื่อยๆ จนถึงความลึกที่ 40 เมตร เพื่อลอดข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา แล้วยกระดับขึ้นมาเรื่อยๆ จนมาขึ้นพ้นระดับใต้ดินที่บริเวณสถานีอิสรภาพ ก่อนมุ่งหน้าเข้าสู่สถานีท่าพระ

และในอนาคต สถานีหัวลำโพงจะเชื่อมต่อกับ สถานีหัวลำโพงอีกแห่งในบริเวณสถานีหัวลำโพง ของโครงการรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้มอีกด้วย

แผนผังสถานี

G
ระดับถนน
- ป้ายรถประจำทาง, สถานีรถไฟกรุงเทพ,โรงแรมบางกอกเซ็นเตอร์, แม่แบบ:BTS Lines สถานีหัวลำโพง
B1
ชั้นขายบัตรโดยสาร
ชั้นขายบัตรโดยสาร ทางออก 1-4, ห้องขายบัตรโดยสาร, เครื่องขายบัตรโดยสาร
ร้านค้า, ทางเชื่อมไปยังสถานีรถไฟกรุงเทพ
B2
ชานชาลา
ชานชาลา 2 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีเตาปูน
ชานชาลาเกาะกลาง, ประตูรถจะเปิดทางด้านซ้าย/ขวา
ชานชาลา 1 แม่แบบ:BTS Lines มุ่งหน้า สถานีหลักสอง

ปัจจุบันชานชาลาสถานีหัวลำโพงจะเปิดใช้เพียงชานชาลาที่ 2 เพียงชานชาลาเดียว ผู้โดยสารที่จะโดยสารไปยังสถานีเตาปูนจะใช้ชานชาลาร่วมกับผู้โดยสารที่เดินทางมาจากสถานีรายทาง โดยผู้โดยสารที่จะโดยสารไปยังสถานีเตาปูนจะต้องรอจนกว่าผู้โดยสารที่มาจากสถานีรายทางออกจากขบวนรถ และรอให้เจ้าหน้าที่ทำการตรวจสอบสภาพรถไฟฟ้าให้เรียบร้อยเสียก่อน แต่ทั้งนี้รถไฟฟ้าบางขบวนอาจเข้าเทียบชานชาลา 1 เพื่อให้ผู้โดยสารที่มาจากสถานีเตาปูนลงจากรถ โดยไม่รับผู้โดยสาร

แต่เมื่อการก่อสร้างส่วนต่อขยายหัวลำโพง-บางแคแล้วเสร็จ จะมีการเดินรถโดยจะใช้ชานชาลาที่ 2 เพื่อจอดเทียบขบวนรถที่มาจากสถานีวัดมังกร มุ่งหน้าสถานีเตาปูน - ท่าพระ

เวลาให้บริการ

ปลายทาง ขบวนแรก ขบวนสุดท้าย
สายเฉลิมรัชมงคล
BN09 บางซื่อ 06.00 00.00

หนัง​ไไไไไได​โน​ไไไป​ใน​ใน​ใน​ไไป​ไใน​ชีวิต​ประจำวัน​ประจำวัน​ไไได้​ไไไได้​ใน​ไไไไไไได้​ไไไได้​ไไไได้​ได้​ไได้​ไไได้​ไไไไไไไไไไไไไได้​ไไม่ยาก​ไโทร​นี่​ไป​ไป​ไหน​เลย​ไได้​ที่​ได้รับ​คไไม่ได้​ไปหา​ไม่ได้​ไวามนิยม​ได้​ไไไไไได้​ใน​ใน​ไได้​ใน​ใน​ไได้​

สิ่งอำนวยความสะดวก

  • ลิฟท์สำหรับผู้พิการ 2 ตัว จากทางเข้า-ออกที่ 2 และ 4

นิทรรศการถาวรภายในสถานี

จัดแสดงบริเวณทางเดินเชื่อมต่อสถานีรถไฟกรุงเทพ ระหว่างทางเข้า-ออกที่ 2 และ 3

  • ศิลาฤกษ์โครงการรถไฟฟ้ามหานคร ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จฯ แทนพระองค์ทรงวางที่บริเวณหน้าสถานีรถไฟหัวลำโพง เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 อยู่บนแท่นภายใต้หลังคาพีระมิดแก้ว ซึ่งโผล่พ้นระดับดินบริเวณทางเข้า-ออกที่ 3
  • ประวัติความเป็นมาของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร และภาพการก่อสร้าง
  • จารึกรายชื่อผู้ที่มีส่วนร่วมในโครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล รวมถึงผู้เสียสละ (ผู้ที่ถูกเวนคืนที่ดิน) บนผนังของโถงบันไดเลื่อนทางเข้า-ออกที่ 3
  • พระเก้าอี้ลำลอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ พระบรมราชินีนาถ เมื่อเสด็จพระราชดำเนินทรงเปิดการเดินรถไฟฟ้าใต้ดินสายเฉลิมรัชมงคล วันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547

รถโดยสารประจำทาง

  • ถนนพระรามที่สี่ สาย 4 21 25 40 53 (วนขวา เทเวศร์-หัวลำโพง-เยาวราช) 73 73ก 172 507 529 542
  • ถนนเลียบทางรถไฟ ข้างสถานีรถไฟกรุงเทพ สาย 7 29 34 109 113 501
  • ถนนมหาพฤฒาราม สาย 1 (จากท่าช้างไปถนนตก) 75

จุดเชื่อมต่อการเดินทาง

สถานที่สำคัญใกล้เคียง

โรงแรม

เหตุการณ์สำคัญในอดีต

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

13°44′14″N 100°31′04″E / 13.737269°N 100.517792°E / 13.737269; 100.517792

สถานีใกล้เคียง

สถานีก่อนหน้า เส้นทางรถไฟ สถานีต่อไป
สถานีวัดมังกร
มุ่งหน้า สถานีหลักสอง
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานีสามย่าน
มุ่งหน้า สถานีเตาปูน
สถานีคลองสาน
มุ่งหน้า สถานีปากท่อ
style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   แม่แบบ:BTS Lines style="background:#แม่แบบ:BTS color; border-left: 0px none; border-right: 0px none; border-top:1px #aaa solid; border-bottom:0px none;" |   สถานียศเส
มุ่งหน้า สถานีรังสิต