พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2011–12

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พรีเมียร์ลีก
ฤดูกาล2011–12
ชนะเลิศแมนเชสเตอร์ซิตี
ตกชั้นวูล์ฟแฮมป์ตันวันเดอเริร์ส
แบล็กเบิร์นโรเวิร์ส
โบลตันวันเดอเริร์ส
แชมเปียนลีกแมนเชสเตอร์ซิตี
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
อาร์เซนอล
เชลซี
ยูโรปาลีกทอตแนมฮอตสเปอร์
นิวคาสเซิลยูไนเต็ด
ลิเวอร์พูล
จำนวนการแข่งขันทั้งหมด380
จำนวนประตูทั้งหมด1066 (2.81 ต่อนัด)
ผู้ยิงประตูสูงสุดโรบิน ฟาน เพอร์ซี (30 ประตู)
ทีมเหย้าชนะสูงสุดแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 8–2 อาร์เซนอล
อาร์เซนอล 7–1 แบล็กเบิร์นโรเวิร์ส
ฟูแลม 6–0 ควีนส์ปาร์กเรนเจิร์ส
ทีมเยือนชนะสูงสุดแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 1–6 แมนเชสเตอร์ซิตี
โบลตันวันเดอเริร์ส 0-5 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
ฟูแลม 0–5 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
วูล์ฟแฮมป์ตันวันเดอเริร์ส 0–5 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
แมนเชสเตอร์ซิตี 6-1 นอริช ซิตี้
ประตูสูงสุดแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 8–2 อาร์เซนอล (10 ประตู)
สถิติชนะติดต่อกันสูงสุด8 นัด[1]
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
สถิติไม่แพ้ติดต่อกันสูงสุด14 นัด[1]
แมนเชสเตอร์ซิตี
สถิติไม่ชนะติดต่อกันสูงสุด9 นัด[1]
ควีนส์ปาร์กเรนเจิร์ส
วีแกนแอธเลติก
วูล์ฟแฮมป์ตันวันเดอเริร์ส
สถิติแพ้ติดต่อกันสูงสุด8 นัด[1]
วีแกนแอธเลติก
ผู้เข้าชมมากที่สุด75,627[1]
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 4–1 วูล์ฟแฮมป์ตันวันเดอเริร์ส
ผู้เข้าชมน้อยที่สุด15,195[1]
ควีนส์ปาร์กเรนเจิร์ส 0–4 โบลตันวันเดอเริร์ส
ผู้เข้าชมทั้งหมด13,148,465[1]
ผู้เข้าชมโดยเฉลี่ย34,601[1]

พรีเมียร์ลีก ฤดูกาล 2011–12 (หรือเรียกว่า บาร์เคลย์สพรีเมียร์ลีกด้วยเหตุผลด้านการสนับสนุน) เป็นการแข่งขันพรีเมียร์ลีก ฤดูกาลที่ 20 นับแต่เริ่มจัดการแข่งขันครั้งแรกในปี ค.ศ. 1992 เริ่มต้นฤดูกาลวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 2011 และสิ้นสุดวันที่ 13 พฤษภาคม ค.ศ. 2012 โดยแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดกลับมาป้องกันตำแหน่งแชมป์

มีทีมเข้าร่วมแข่งขันในลีก 20 ทีม โดยมี 17 ทีมเดิมจากฤดูกาลก่อน และอีก 3 ทีมที่เลื่อนชั้นขึ้นมาจากฟุตบอลลีกแชมเปียนชิป ได้แก่ ผู้ชนะ ควีนส์ปาร์กเรนเจิร์ส และรองชนะเลิศ ทีมนอริชซิตี ส่วนสวอนซีได้เลื่อนชั้นจากการแข่งรอบเพลย์ออฟชนะเรดดิง 4–2

ทีม[แก้]

ทีมเข้าแข่งขันทั้งหมด 20 ทีม โดยเป็น 17 ทีมจากในฤดูกาล 2010-11 และอีก 3 ทีมที่เลื่อนขึ้นจากฟุตบอลลีกแชมเปียนชิป ฤดูกาล 2010-11

สนามแข่งขัน[แก้]

ทีม สถานที่ สนามแข่งขัน↓ ความจุ
อาร์เซนอล ลอนดอน เอมิเรตส์สเตเดียม 60,361
แอสตันวิลลา เบอร์มิงแฮม วิลลาปาร์ค 42,785
แบล็กเบิร์นโรเวิร์ส แบล็กเบิร์น อีวูดปาร์ค 31,154
โบลตันวันเดอเริร์ส โบลตัน รีบอคสเตเดียม 28,100
เชลซี ลอนดอน สแตมฟอร์ดบริดจ์ 42,449
เอฟเวอร์ตัน ลิเวอร์พูล กูดิสันพาร์ค 40,157
ฟูแลม ลอนดอน คราเวนคอทเทจ 25,700
ลิเวอร์พูล ลิเวอร์พูล แอนฟิลด์ 45,276
แมนเชสเตอร์ซิตี แมนเชสเตอร์ เอติฮัด สเตเดียม[2] 47,405
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด แมนเชสเตอร์ โอลด์แทรฟฟอร์ด 75,811
นิวคาสเซิลยูไนเต็ด นิวคาสเซิลอะพอนไทน์ สปอร์ตส์ ไดเร็ค อารีนา 52,409
นอริชซิตี นอริช แคร์โรว์โรด 27,010
ควีนส์ปาร์กเรนเจิร์ส ลอนดอน ลอฟตัสโรด 18,439
สโตกซิตี สโตคออนเทรนต์ บริทาเนียสเตเดียม 27,740
ซันเดอร์แลนด์ ซันเดอร์แลนด์ สเตเดียมออฟไลต์ 48,707
สวอนซีซิตี สวอนซี ลิเบอร์ตีสเตเดียม 20,520
ทอตแนมฮอตสเปอร์ ลอนดอน ไวท์ฮาร์ทเลน 36,230
เวสต์บรอมวิชอัลเบียน เวสต์บรอมวิช เดอะฮอว์ธอร์น 26,360
วีแกนแอธเลติก วีแกน ดีดับเบิลยูสเตเดียม 25,133
วูล์ฟแฮมป์ตันวันเดอเริร์ส วูล์ฟแฮมป์ตัน โมลินิวซ์ 27,828

ทีมและชุดแข่งขัน[แก้]

หมายเหตุ: ธงแสดงชาตินั้นเป็นไปภายใต้กฎของฟีฟ่า นักฟุตบอลและผู้จัดการอาจจะถือมากกว่า 1 สัญชาติ

ทีม ผู้จัดการ1 กัปตัน[3] ชุดที่ใช้[4] สปอนเซอร์[4]
อาร์เซนอล ฝรั่งเศส แวงแกร์, อาร์แซนอาร์แซน แวงแกร์ เนเธอร์แลนด์ ฟาน เพอร์ซี, โรบินโรบิน ฟาน เพอร์ซี ไนกี้ สายการบินเอมิเรตส์
แอสตันวิลลา สกอตแลนด์ แม็กลีช, อเล็กซ์อเล็กซ์ แม็กลีช บัลแกเรีย เปตรอฟ, สติลิยันสติลิยัน เปตรอฟ5 ไนกี้ เกนติงคาสิโนส์[5]
แบล็กเบิร์นโรเวิร์ส สกอตแลนด์ คีน, สตีฟสตีฟ คีน อังกฤษ โรบินสัน, พอลพอล โรบินสัน6 อัมโบร เดอะพรินซ์สทรัสต์[6]
โบลตันวันเดอเริร์ส สกอตแลนด์ คอยล์, โอเวนโอเวน คอยล์ อังกฤษ เดวีส, เควินเควิน เดวีส รีบอค 188เบ็ต
เชลซี อิตาลี ดี มัตเตโอ, โรแบร์โตโรแบร์โต ดี มัตเตโอ อังกฤษ เทอร์รี, จอห์นจอห์น เทอร์รี อาดิดาส ซัมซุง
เอฟเวอร์ตัน สกอตแลนด์ มอยส์, เดวิดเดวิด มอยส์ อังกฤษ เนวิลล์, ฟิลฟิล เนวิลล์ เลอ คอก สปอร์ทิฟ เบียร์ช้าง
ฟูแลม เนเธอร์แลนด์ โยล, มาร์ตินมาร์ติน โยล อังกฤษ เมอร์ฟี, แดนนีแดนนี เมอร์ฟี แคปปา เอฟเอ็กซ์โปร
ลิเวอร์พูล สกอตแลนด์ ดัลกลิช, เคนนีเคนนี ดัลกลิช อังกฤษ เจอร์ราร์ด, สตีเฟนสตีเฟน เจอร์ราร์ด อาดิดาส สแตนดาร์ด ชาร์เตอร์
แมนเชสเตอร์ซิตี อิตาลี มันชีนี, โรแบร์โตโรแบร์โต มันชีนี เบลเยียม กงปานี, แว็งซ็องแว็งซ็อง กงปานี อัมโบร สายการบินอัลติฮัด
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด สกอตแลนด์ เฟอร์กูสัน, อเล็กซ์อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน เซอร์เบีย วิดิช, เนมานยาเนมานยา วิดิช7 ไนกี้ เอออน
นิวคาสเซิลยูไนเต็ด อังกฤษ พาร์ดิว, อลันอลัน พาร์ดิว อาร์เจนตินา โกลอชชีนี, ฟาบรีโชฟาบรีโช โกลอชชีนี พูมา นอร์ธเธิร์น ร็อค/เวอร์จิน มันนี2
นอริชซิตี สกอตแลนด์ แลมเบิร์ต, พอลพอล แลมเบิร์ต อังกฤษ โฮลต์, แกรนต์แกรนต์ โฮลต์ เอเรีย เอวิวา
ควีนส์ปาร์กเรนเจิร์ส อังกฤษ ฮิวจ์ส, มาร์คมาร์ค ฮิวจ์ส อังกฤษ บาร์ตัน, โจอีโจอี บาร์ตัน ล็อตโต สายการบินมาเลเซีย/แอร์เอเชีย3
สโตกซิตี เวลส์ พูริส, โทนีโทนี พูริส อังกฤษ ชอว์ครอส, ไรอันไรอัน ชอว์ครอส อาดิดาส บริทานเนีย
ซันเดอร์แลนด์ ไอร์แลนด์เหนือ โอนีล, มาร์ตินมาร์ติน โอนีล อังกฤษ แคตเทอร์โมล, ลีลี แคตเทอร์โมล อัมโบร ทอมโบลา
สวอนซีซิตี ไอร์แลนด์เหนือ ร็อดเจอร์, เบรนแดนเบรนแดน ร็อดเจอร์ อังกฤษ มังค์, แกร์รีแกร์รี มังค์ อาดิดาส[7] ทรีทูเรด
ทอตแนมฮ็อตสเปอร์ อังกฤษ เรดแนปป์, แฮร์รีแฮร์รี เรดแนปป์ อังกฤษ คิง, เล็ดลีย์เล็ดลีย์ คิง พูมา[8] ออราสมา4
เวสต์บรอมวิชอัลเบียน อังกฤษ ฮอดจ์สัน, รอยรอย ฮอดจ์สัน ไอร์แลนด์เหนือ บรันต์, คริสคริส บรันต์ อาดิดาส บอด็อก[9]
วีแกนแอธเลติก สเปน มาร์ตีเนซ, โรเบร์โตโรเบร์โต มาร์ตีเนซ สกอตแลนด์ คาลด์เวลล์, แกรีแกรี คาลด์เวลล์ มิฟิต วันทูเบ็ต
วูล์ฟแฮมป์ตันวันเดอเริร์ส อังกฤษ คอนเนอร์, เทอร์รีเทอร์รี คอนเนอร์ อังกฤษ จอห์นสัน, โรเจอร์โรเจอร์ จอห์นสัน เบอร์ดา สปอร์ติงเบ็ต
  • 1 อ้างอิงจาก รายชื่อผู้จัดการทีมในฟุตบอลลีกอังกฤษ
  • 2 Following Virgin Money's acquisition of Northern Rock on 1 January 2012, Virgin Money started to appear on the team's kits from 4 January 2012.[10]
  • 3 สายการบินมาเลเซีย จะปรากฏอยู่บนเสื้อชุดทีมเหย้า ส่วยแอร์เอเซียจะปรากฏอยู่บนเสื้อชุดทีมเยือน[11]
  • 4 ออราสมา เป็นบริษัทในเครือของ ออโตโนมี
  • 5Stiliyan Petrov was previously Villa's captain, but after he was diagnosed with leukemia Agbonlahor was handed the captaincy in Petrov's absence.[12]
  • 6Chris Samba was previously Blackburn's captain. Following Samba's transfer to Anzhi Makhachkala, Robinson was handed the captaincy.[13]
  • 7On 7 December 2011, Vidić twisted his knee during United's Champions League clash at Basel and left the field on a stretcher.[14] Vidic missed the rest of the season and Patrice Evra assumed the captaincy of Manchester United.[15]

In addition, Nike will have a new design for their match ball (white from August to October and March to May; high-visibility yellow from November through February) called Seitiro, featuring a modified flame design.[16]

เปลี่ยนผู้จัดการทีม[แก้]

ทีม ผู้จัดการคนก่อน เหตุที่ออก วันที่ อันดับในตาราง ผู้จัดการคนใหม่ วันที่ได้รับการแต่งตั้ง
เชลซี อิตาลี อันเชล็อตติ, คาร์โลคาร์โล อันเชล็อตติ ถูกไล่ออก 22 พฤษภาคม ค.ศ. 2011[17] ก่อนเริ่มฤดูกาล โปรตุเกส วิลลัช-โบอัช, อังเดรอังเดร วิลลัช-โบอัช 22 มิถุนายน ค.ศ. 2011[18]
แอสตันวิลลา ฝรั่งเศส อูลลิเยร์, เชราร์เชราร์ อูลลิเยร์ ความยินยอมร่วมกัน 1 มิถุนายน ค.ศ. 2011[19] สกอตแลนด์ แม็กลีช, อเล็กซ์อเล็กซ์ แม็กลีช 17 มิถุนายน ค.ศ. 2011[20]
ฟูแลม เวลส์ ฮิวจ์ส, มาร์คมาร์ค ฮิวจ์ส ลาออก 2 มิถุนายน ค.ศ. 2011[21] เนเธอร์แลนด์ โยล, มาร์ตินมาร์ติน โยล 7 มิถุนายน ค.ศ. 2011[22]
ซันเดอร์แลนด์ อังกฤษ บรูซ, สตีฟสตีฟ บรูซ ถูกไล่ออก 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 2011[23] 16 ไอร์แลนด์เหนือ โอนีล, มาร์ตินมาร์ติน โอนีล 3 ธันวาคม ค.ศ. 2011[24]
ควีนส์ปาร์กเรนเจิร์ส อังกฤษ วอร์น็อก, นีลนีล วอร์น็อก 8 มกราคม ค.ศ. 2012[25] 17 เวลส์ ฮิวจ์ส, มาร์คมาร์ค ฮิวจ์ส 10 มกราคม ค.ศ. 2012[26]
วูล์ฟแฮมป์ตันวันเดอเริร์ส สาธารณรัฐไอร์แลนด์ แม็กคาร์ที, มิกมิก แม็กคาร์ที 13 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012[27] 18 อังกฤษ คอนเนอร์, เทอร์รีเทอร์รี คอนเนอร์ (จนจบฤดูกาล) 24 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2012[28]
เชลซี โปรตุเกส วิลลัช-โบอัช, อังเดรอังเดร วิลลัช-โบอัช 4 มีนาคม ค.ศ. 2012[29] 5 อิตาลี ดี มัตเตโอ, โรแบร์โตโรแบร์โต ดี มัตเตโอ (จนจบฤดูกาล) 4 มีนาคม ค.ศ. 2012[29]

ตารางคะแนน[แก้]

อันดับ
สโมสร
แข่ง
ชนะ
เสมอ
แพ้
ได้
เสีย
ผลต่าง
คะแนน
ได้รับคัดเลือก หรือ ตกชั้น
1 แมนเชสเตอร์ซิตี (C) 38 28 5 5 93 29 +64 89 ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2012-13 รอบแบ่งกลุ่ม
2 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 38 28 5 5 89 33 +56 89
3 อาร์เซนอล 38 21 7 10 74 49 +25 70
4 ทอตนัมฮอตสเปอร์ 38 20 9 9 66 41 +25 69 ยูฟ่ายูโรปาลีก 2012-13 รอบแบ่งกลุ่ม 2
5 นิวคาสเซิลยูไนเต็ด 38 19 8 11 56 51 +5 65 ยูฟ่ายูโรปาลีก 2012-13 รอบคัดเลือก
6 เชลซี 38 18 10 10 65 46 +19 64 ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2012-13 รอบแบ่งกลุ่ม 2
7 เอฟเวอร์ตัน 38 15 11 12 50 40 +10 56
8 ลิเวอร์พูล 38 14 10 14 47 40 +7 52 ยูฟ่ายูโรปาลีก 2012-13 รอบคัดเลือกรอบที่ 3 1
9 ฟูแลม 38 14 10 14 48 51 −3 52
10 เวสต์บรอมมิชอัลเบียน 38 13 8 17 45 52 −7 47
11 สวอนซีซิตี 38 12 11 15 44 51 −7 47
12 นอริชซิตี 38 12 11 15 52 66 −14 47
13 ซันเดอร์แลนด์ 38 11 12 15 45 46 −1 45
14 สโตกซิตี 38 11 12 15 36 53 −17 45
15 วีแกนแอธเลติก 38 11 10 17 42 62 −20 43
16 แอสตันวิลลา 38 7 17 14 37 53 −16 38
17 ควีนส์พาร์กเรนเจอส์ 38 10 7 21 43 66 −23 37
18 โบลตันวันเดอเรอส์ (R) 38 10 6 22 46 77 −31 36 ตกชั้นสู่ ฟุตบอลลีกแชมเปียนชิพ 2012-13
19 แบล็กเบิร์นโรเวอส์ (R) 38 8 7 23 48 78 −30 31
20 วุลเวอร์แฮมป์ตันวันเดอเรอส์ (R) 38 5 10 23 40 82 −42 25

อัปเดตล่าสุด 13 พฤษภาคม 2012
แหล่งข้อมูล: Barclays Premier League
กฎการจัดอันดับ: 1) คะแนน; 2) ผลต่างประตู; 3) ประตูรวม
1ลิเวอร์พูลได้รับการคัดเลือกไปเล่นใน ยูฟ่ายูโรปาลีก 2012-13 รอบคัดเลือกรอบที่ 3 หลังจากชนะเลิศในรายการ 2011–12 ฟุตบอลลีกคัพ
2เชลซีได้แชมป์ เอฟเอคัพ ฤดูกาล 2011-12 และได้สิทธิ์ไปเล่น ยูฟ่ายูโรปาลีกรอบแบ่งกลุ่ม ในฤดูกาล 2012-13 และยังสามารถได้สิทธิ์ไปเล่นใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012-13 ได้ โดยการเป็นผู้ชนะใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2011-12 นัดชิงชนะเลิศ หากเป็นเช่นนั้นจะมีทีมจากอังกฤษ 4 ทีมได้สิทธิ์ไปเล่นใน ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012-13 รอบแบ่งกลุ่มและทีมอันดับ 4 ในพรีเมียร์ลีกจะต้องตกไปเล่น ยูฟ่ายูโรปาลีก รอบแบ่งกลุ่ม ในฤดูกาล 2012-13 แทน
(C) = ชนะเลิศ; (R) = ตกชั้น; (P) = เลื่อนชั้น; (O) = ผู้ชนะจากรอบคัดเลือก; (A) = ผ่านเข้ารอบต่อไป
ใช้ได้เฉพาะเมื่อฤดูกาลยังไม่สิ้นสุด:
(Q) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขันในระยะของทัวร์นาเมนต์ที่ระบุ; (TQ) = ได้รับคัดเลือกเข้าแข่งขัน แต่ยังไม่อยู่ในระยะที่ระบุ; (DQ) = ถูกตัดสิทธิ์จากทัวร์นาเมนต์

ผลการแข่งขัน[แก้]

เหย้า \ เยือน1 ARS AST BLB BOL CHE EVE FUL LIV MCI MUN NEW NOR QPR STK SUN SWA TOT WBA WIG WOL
อาร์เซนอล 3–0 7–1 3–0 0–0 1–0 1–1 0–2 1–0 1–2 2–1 3–3 1–0 3–1 2–1 1–0 5–2 3–0 1–2 1–1
แอสตันวิลลา 1–2 3–1 1–2 2–4 1–1 1–0 0–2 0–1 0–1 1–1 3–2 2–2 1–1 0–0 0–2 1–1 1–2 2–0 0–0
แบล็กเบิร์นโรเวอส์ 4–3 1–1 1–2 0–1 0–1 3–1 2–3 0–4 0–2 0–2 2–0 3–2 1–2 2–0 4–2 1–2 1–2 0–1 1–2
โบลตันวันเดอเรอส์ 0–0 1–2 2–1 1–5 0–2 0–3 3–1 2–3 0–5 0–2 1–2 2–1 5–0 0–2 1–1 1–4 2–2 1–2 1–1
เชลซี 3–5 1–3 2–1 3–0 3–1 1–1 1–2 2–1 3–3 0–2 3–1 6–1 1–0 1–0 4–1 0–0 2–1 2–1 3–0
เอฟเวอร์ตัน 0–1 2–2 1–1 1–2 2–0 4–0 0–2 1–0 0–1 3–1 1–1 0–1 0–1 4–0 1–0 1–0 2–0 3–1 2–1
ฟูแลม 2–1 0–0 1–1 2–0 1–1 1–3 1–0 2–2 0–5 5–2 2–1 6–0 2–1 2–1 0–3 1–3 1–1 2–1 5–0
ลิเวอร์พูล 1–2 1–1 1–1 3–1 4–1 3–0 0–1 1–1 1–1 3–1 1–1 1–0 0–0 1–1 0–0 0–0 0–1 1–2 2–1
แมนเชสเตอร์ซิตี 1–0 4–1 3–0 2–0 2–1 2–0 3–0 3–0 1–0 3–1 5–1 3–2 3–0 3–3 4–0 3–2 4–0 3–0 3–1
แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 8–2 4–0 2–3 3–0 3–1 4–4 1–0 2–1 1–6 1–1 2–0 2–0 2–0 1–0 2–0 3–0 2–0 5–0 4–1
นิวคาสเซิลยูไนเต็ด 0–0 2–1 3–1 2–0 0–3 2–1 2–1 2–0 0–2 3–0 1–0 1–0 3–0 1–1 0–0 2–2 2–3 1–0 2–2
นอริชซิตี 1–2 2–0 3–3 2–0 0–0 2–2 1–1 0–3 1–6 1–2 4–2 2–1 1–1 2–1 3–1 0–2 0–1 1–1 2–1
ควีนส์พาร์กเรนเจอส์ 2–1 1–1 1–1 0–4 1–0 1–1 0–1 3–2 2–3 0–2 0–0 1–2 1–0 2–3 3–0 1–0 1–1 3–1 1–2
สโตกซิตี 1–1 0–0 3–1 2–2 0–0 1–1 2–0 1–0 1–1 1–1 1–3 1–0 2–3 0–1 2–0 2–1 1–2 2–2 2–1
ซันเดอร์แลนด์ 1–2 2–2 2–1 2–2 1–2 1–1 0–0 1–0 1–0 0–1 0–1 3–0 3–1 4–0 2–0 0–0 2–2 1–2 0–0
สวอนซีซิตี 3–2 0–0 3–0 3–1 1–1 0–2 2–0 1–0 1–0 0–1 0–2 2–3 1–1 2–0 0–0 1–1 3–0 0–0 4–4
ทอตนัมฮอตสเปอร์ 2–1 2–0 2–0 3–0 1–1 2–0 2–0 4–0 1–5 1–3 5–0 1–2 3–1 1–1 1–0 3–1 1–0 3–1 1–1
เวสต์บรอมมิชอัลเบียน 2–3 0–0 3–0 2–1 1–0 0–1 0–0 0–2 0–0 1–2 1–3 1–2 1–0 0–1 4–0 1–2 1–3 1–2 2–0
วีแกนแอธเลติก 0–4 0–0 3–3 1–3 1–1 1–1 0–2 0–0 0–1 1–0 4–0 1–1 2–0 2–0 1–4 0–2 1–2 1–1 3–2
วุลเวอร์แฮมป์ตันวันเดอเรอส์ 0–3 2–3 0–2 2–3 1–2 0–0 2–0 0–3 0–2 0–5 1–2 2–2 0–3 1–2 2–1 2–2 0–2 1–5 3–1


อัปเดตล่าสุดวันที่ 13 พฤษภาคม 2012
แหล่งข้อมูล: Premier League
1คอลัมน์ด้านซ้ายมือหมายถึงทีมเหย้า
สี: ฟ้า = ทีมเหย้าชนะ; เหลือง = เสมอ; แดง = ทีมเยือนชนะ
สำหรับแมตช์ที่กำลังมาถึง อักษร a หมายถึง มีบทความเกี่ยวกับแมตช์นั้น

สถิติตลอดฤดูกาล[แก้]

แฮท-ทริคส์[แก้]

ผู้เล่น ทีม พบกับทีม ผล วันที่
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เจโก, เอดินเอดิน เจโก4 แมนเชสเตอร์ซิตี ทอตนัมฮอตสเปอร์ 5–1 28 สิงหาคม 2011
อังกฤษ รูนีย์, เวย์นเวย์น รูนีย์ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด อาร์เซนอล 8–2 28 สิงหาคม 2011
อาร์เจนตินา อะกูเอโร, เซร์คีโอเซร์คีโอ อะกูเอโร แมนเชสเตอร์ซิตี วีแกนแอธเลติก 3–0 10 กันยายน 2011
อังกฤษ รูนีย์, เวย์นเวย์น รูนีย์ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด โบลตันวันเดอร์เรอร์ส 5–0 10 กันยายน 2011
เซเนกัล บา, เดมบาเดมบา บา นิวคาสเซิลยูไนเต็ด แบล็คเบิร์นโรเวอร์ส 3–1 24 กันยายน 2011
อังกฤษ แลมพาร์ด, แฟรงค์แฟรงค์ แลมพาร์ด เชลซี โบลตันวันเดอร์เรอร์ส 5–1 2 ตุลาคม 2011
อังกฤษ จอห์นสัน, แอนดรูว์แอนดรูว์ จอห์นสัน ฟูแลม ควีนสปาร์คเรนเจอส์ 6–0 2 ตุลาคม 2011
เนเธอร์แลนด์ ฟาน เพอร์ซี, โรบินโรบิน ฟาน เพอร์ซี อาร์เซนอล เชลซี 5–3 29 ตุลาคม 2011
เซเนกัล บา, เดมบาเดมบา บา นิวคาสเซิล ยูไนเต็ด สโตกซิตี 3–1 31 ตุลาคม 2011
ไนจีเรีย ไอเยกเบนี, ยาคูบูยาคูบู ไอเยกเบนี4 แบล็คเบิร์นโรเวอร์ส สวอนซีซิตี 4–2 3 ธันวาคม 2011
บัลแกเรีย เบอร์บาตอฟ, ดิมิตาร์ดิมิตาร์ เบอร์บาตอฟ แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด วีแกนแอธเลติก 5–0 26 ธันวาคม 2011
สหรัฐ เดมป์ซีย์, คลินท์คลินท์ เดมป์ซีย์ ฟูแลม นิวคาสเซิลยูไนเต็ด 5–2 21 มกราคม 2012
เนเธอร์แลนด์ ฟาน เพอร์ซี, โรบินโรบิน ฟาน เพอร์ซี อาร์เซนอล แบล็คเบิร์นโรเวอร์ส 7–1 4 กุมภาพันธ์ 2012
ไนจีเรีย โอเดมวิงกี, ปีเตอร์ปีเตอร์ โอเดมวิงกี เวสต์บรอมวิชอัลเบียน วูล์ฟแฮมป์ตัน วันเดอร์เรอร์ส 5–1 12 กุมภาพันธ์ 2012
รัสเซีย โพเกร็บเนียค, พาเวลพาเวล โพเกร็บเนียค ฟูแลม วูล์ฟแฮมป์ตัน วันเดอร์เรอร์ส 5–0 4 มีนาคม 2012
อังกฤษ เจอร์ราร์ด, สตีเวนสตีเวน เจอร์ราร์ด ลิเวอร์พูล เอฟเวอร์ตัน 3–0 13 มีนาคม 2012
อาร์เจนตินา Tevez, Carlosคาร์ลอส เตเบซ แมนเชสเตอร์ซิตี นอริชซิตี 6–1 14 เมษายน 2012
อุรุกวัย ซัวเรซ, หลุยส์หลุยส์ ซัวเรซ ลิเวอร์พูล นอริชซิตี 3–0 28 เมษายน 2012
สเปน ตอร์เรส, เฟร์นันโดเฟร์นันโด ตอร์เรส เชลซี ควีนสปาร์คเรนเจอส์ 6–1 29 เมษายน 2012
  • 4 ผู้เล่นที่ทำได้สี่ประตู

สถิติที่น่าสนใจ[แก้]

แข่งทั้งหมด 380 นัด[32]
มีนัดที่มีผู้ชนะและผู้แพ้ 287 นัด (เฉลี่ย 75.53%)
มีนัดที่เสมอกัน 93 นัด (เฉลี่ย 24.47%)
ประตูทั้งหมด 1,066 ประตู (เฉลี่ย 2.81 ประตูต่อนัด)
คลีนชีตส์ 206 ครั้ง
ยิงเข้ากรอบ 5,563 ครั้ง (เฉลี่ย 14.64 ครั้งต่อนัด)
ยิงไม่เข้ากรอบ 4,287 ครั้ง (เฉลี่ย 11.28 ครั้งต่อนัด)
แฮตทริก 19 ครั้ง
ผู้ชมทั้งหมด 13,148,465 คน (เฉลี่ย 34,601 คนต่อนัด)
มีผู้เล่น 68 สัญชาติ
ผู้เล่นที่ลงเล่นทั้งหมด 541 คน
ใบเหลืองทั้งหมด 1,176 ใบ (เฉลี่ย 3.09 ใบต่อนัด)
ใบแดงทั้งหมด 64 ใบ (เฉลี่ย 0.17 ใบต่อนัด)

การทำประตู[แก้]

  • ประตูแรกของฤดูกาล: หลุยส์ ซัวเรซ ให้กับ ลิเวอร์พูล ในนัดที่เจอกับ ซันเดอร์แลนด์ (13 สิงหาคม 2011)[33]
  • ทำได้ประตูเร็วที่สุด: 24 วินาทีแอนเดรีย โอร์แลนดี ให้กับ สวอนซีซิตี ในนัดที่เจอกับ วูล์ฟแฮมป์ตันวันเดอเริร์ส (28 เมษายน 2012)[34]
  • ชนะด้วยด้วยการทำประตูห่างกันมากที่สุด: 6 ประตู[1]
    • แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 8–2 อาร์เซนอล (28 สิงหาคม 2011)
    • ฟูแล่ม 6–0 ควีนสปาร์ค เรนเจอร์ส (2 ตุลาคม 2011)
    • อาร์เซนอล 7–1 แบล็คเบิร์น โรเวอร์ส (4 กุมภาพันธ์ 2012)
  • การแข่งขันที่มีการทำประตูมากที่สุด: 10 ประตู[1]
    • แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 8–2 อาร์เซนอล (28 สิงหาคม 2011)
  • ทีมที่ทำประตูได้มากที่สุดในการแข่งขัน: 8 ประตู[1]
    • แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด 8–2 อาร์เซนอล (28 สิงหาคม 2011)
  • ทีมที่แพ้แล้วทำประตูได้มากที่สุดในการแข่งขัน: 3 ประตู[1]
    • แบล็คเบิร์น โรเวอร์ส 4–3 อาร์เซนอล (17 กันยายน 2011)
    • เชลซี 3–5 อาร์เซนอล (29 ตุลาคม 2011)

คลีนชีตส์[แก้]

  • ทีมที่คลีนชีตส์มากที่สุด: 20[1]
    • แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด
  • ทีมที่คลีนชีตส์น้อยที่สุด: 3[1]
    • แบล็กเบิร์นโรเวิร์ส
    • โบลตันวันเดอเริร์ส
    • นอริช ซิตี้

กฎกติกา[แก้]

  • ผลรวมความประพฤติแย่ที่สุด (1 คะแนนต่อ 1 ใบเหลือง, 2 คะแนนต่อ 1 ใบแดง):
    • เชลซี – 77 คะแนน (69 ใบหลือง & 4 ใบแดง)[35]
  • ผลรวมความประพฤติดีที่สุด:
    • สวอนซี ซิตี – 43 คะแนน (39 ใบเหลือง & 2 ใบแดง)[35]
  • ใบเหลืองมากที่สุด (สโมสร): 69 – เชลซี[35]
  • ใบเหลืองมากที่สุด (ผู้เล่น):[36]
  • ใบแดงมากที่สุด (สโมสร): 8 – ควีนส์ปาร์กเรนเจิร์ส[36]
  • ใบแดงมากที่สุด (ผู้เล่น):[36]

การตัดสินแชมป์[แก้]

การตัดสินแชมป์ของฤดูกาลนี้ ยืดเยื้อมาจนถึงนัดสุดท้าย คือ ในวันอาทิตย์ที่ 13 พฤษภาคม โดย แมนเชสเตอร์ซิตี ซึ่งมีผลงานดีมาโดยตลอดตั้งแต่เปิดฤดูกาลมา โดยขึ้นเป็นที่ 1 ของตารางคะแนน และยึดอันดับนี้มาตลอด และมีบางช่วงที่แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด คู่ปรับร่วมเมืองขึ้นแซงไปเป็นที่ 1 บ้าง ซึ่งมีอยู่ช่วงหนึ่งที่แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด มีคะแนนำห่างถึง 8 คะแนน จนกระทั่งมาถึงนัดสุดท้ายของการแข่งขัน ทั้งคู่มีคะแนนเท่ากัน คือ 86 คะแนน แต่ผลต่างของประตูได้เสียของแมนเชสเตอร์ซิตีดีกว่าถึง 8 ลูก โดยแมนเชสเตอร์ซิตีจะต้องพบกับ ควีนปาร์คแรนเจอส์ ที่เอติฮัด สเตเดี้ยม สนามของตนเอง ขณะที่แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เป็นฝ่ายออกไปเยือน ซันเดอร์แลนด์ ซึ่งทั้งคู่ต้องการชัยชนะทั้งคู่ หากแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด ชนะ แล้วแมนเชสเตอร์ซิตีทำได้แค่เสมอหรือแม้กระทั่งแพ้ แชมป์จะตกอยู่ที่แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดทันที ดังนั้นจึงกลายเป็นความกดดันที่แมนเชสเตอร์ซิตีต้องเอาชนะควีนปาร์คแรนเจอส์ให้ได้ประการเดียว ปรากฏว่าแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด เอาชนะซันเดอร์แลนด์ไปได้ 0-1 ประตู และเป็นฝ่ายจบเกมก่อน แต่ในเกมที่แมนเชสเตอร์ซิตีพบกับควีนปาร์คแรนเจอส์นั้น แมนเชสเตอร์ซิตีไม่อาจทำอะไรได้อย่างถนัดถนี่เกือบตลอดการแข่งขัน เพราะนักฟุตบอลแต่ละคนถูกประกบตลอด ซ้ำกลายเป็นควีนปาร์คแรนเจอร์สขึ้นนำไป 1-2 ประตู ในนาทีที่ 60 จนกระทั่งถึงช่วงทดเวลาบาดเจ็บ แมนเชสเตอร์ซิตี พลิกกลับขึ้นมานำในนาทีที่ 91 และ 92 อย่างปาฏิหาริย์ ชนะไป 3-2 และได้แชมป์พรีเมียร์ลีกไปครอง หลังจากรอคอยมานานกว่า 44 ปี[37]

และนับเป็นครั้งแรกด้วยของพรีเมียร์ลีก ที่ต้องตัดสินแชมป์กันที่ประตูได้เสีย เนื่องจากอันดับ 1 และอันดับ 2 มีคะแนนเท่ากัน คือ 89 คะแนน และทำให้แมนเชสเตอร์ซิตีกลายเป็นทีมที่ 5 ที่ได้แชมป์พรีเมียร์ลีก นับจาก แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด, อาร์เซนอล, เชลซี และแบล็กเบิร์นโรเวอส์

รางวัล[แก้]

รางวัลประจำเดือน[แก้]

เดือน ผู้จัดการทีมยอดเยื่ยมประจำเดือน ผู้เล่นยอดเยื่ยมประจำเดือน
ผู้จัดการทีม สโมสร ผู้เล่น สโมสร
สิงหาคม สกอตแลนด์ เซอร์ อเล็กซ์ เฟอร์กูสัน[38] แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เอดิน เจโก[39] แมนเชสเตอร์ซิตี
กันยายน อังกฤษ แฮร์รี เรดแนปป์[40] ทอตแนม ฮอตสเปอร์ สเปน ดาบิด ซิลบา[41] แมนเชสเตอร์ซิตี
ตุลาคม อิตาลี โรแบร์โต มันชีนี[42] แมนเชสเตอร์ซิตี เนเธอร์แลนด์ โรบิน ฟาน เพอร์ซี[42] อาร์เซนอล
พฤศจิกายน อังกฤษ แฮร์รี เรดแนปป์[43] ทอตแนม ฮอตสเปอร์ อังกฤษ สก็อต พาร์กเกอร์[43] ทอตแนม ฮอตสเปอร์
ธันวาคม ไอร์แลนด์เหนือ มาร์ติน โอ'นีล[44] ซันเดอร์แลนด์ เซเนกัล เดมบา บา[44] นิวคาสเซิล ยูไนเต็ด
มกราคม ไอร์แลนด์เหนือ เบรนแดน ร็อดเจอร์[45] สวอนซี ซิตี้ เวลส์ แกเร็ธ เบล[46] ทอตแนม ฮอตสเปอร์
กุมภาพันธ์ ฝรั่งเศส อาร์แซน แวงแกร์[47] อาร์เซนอล ไนจีเรีย ปีเตอร์ โอเดมวิงกี[47] เวสต์บรอมวิช อัลเบียน
มีนาคม สกอตแลนด์ โอเวน คอยล์[48] โบลตัน วันเดอร์เรอร์ส ไอซ์แลนด์ กิลฟี่ ซิกูร์ดส์สัน[49] สวอนซี ซิตี้
เมษายน[50] สเปน โรแบร์โต้ มาติเนซ วีแกนแอธเลติก โครเอเชีย นีคีกา เจราวิช เอฟเวอร์ตัน

รางวัลประจำปี[แก้]

นักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของพีเอฟเอ[แก้]

รางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของพีเอฟเอ ได้แก่ โรบิน ฟาน เพอร์ซี.[51]

นักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของสมาคมผู้สื่อข่าวอังกฤษ[แก้]

รางวัลนักฟุตบอลยอดเยี่ยมแห่งปีของสมาคมผู้สื่อข่าวอังกฤษ ได้แก่ โรบิน ฟาน เพอร์ซี[52]

นักฟุตบอลดาวรุ่งยอดเยี่ยมแห่งปีของพีเอฟเอ[แก้]

รางวัลนักฟุตบอลดาวรุ่งยอดเยี่ยมแห่งปีของพีเอฟเอ ได้แก่ ไคล์ วอล์กเกอร์[54]

ทีมยอดเยื่อมแห่งปีของพีเอฟเอ[แก้]

ผู้รักษาประตู: โจ ฮาร์ต (แมนเชสเตอร์ซิตี)
กองหลัง: ไคล์ วอล์กเกอร์ (ทอตแนมฮอตสเปอร์), แว็งซ็อง กงปานี (แมนเชสเตอร์ซิตี), ฟาบรีเซียว โกโลชีนี (นิวคาสเซิลยูไนเต็ด), เลย์ตัน เบนส์ (เอฟเวอร์ตัน)
มิดฟิลด์: ดาบิด ซิลบา, ยาย่า ตูเร (ทั้งคู่จากแมนเชสเตอร์ซิตี), สก็อต พาร์กเกอร์, แกเร็ธ เบล (ทั้งคู่จากทอตแนมฮอตสเปอร์)
กองหน้า: โรบิน ฟาน เพอร์ซี (อาร์เซนอล), เวย์น รูนีย์ (แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด)

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล[แก้]

รางวัลผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล ได้แก่ แว็งซ็อง กงปานี จากแมนเชสเตอร์ซิตี[55]

ผู้จัดการยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล[แก้]

รางวัลผู้จัดการยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล ได้แก่ ผู้จัดการทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ด อลัน พาร์ดิว[55] พาร์ดิว เป็นผู้จัดการคนแรกของทีมนิวคาสเซิลยูไนเต็ดที่ได้รับรางวัล และเป็นคนที่สองต่อจาก แฮร์รี เรดแนปป์ ที่คนได้รับรางวัลเป็นชาวอังกฤษ

รางวัลรองเท้าทองคำ[แก้]

รางวัลรองเท้าทองคำ ได้แก่ โรบิน ฟาน เพอร์ซี, โดยทำไป 30 ประตู

รางวัลถุงมือทองคำ[แก้]

รางวัลถุงมือทองคำ ได้แก่ โจ ฮาร์ต จากแมนเชสเตอร์ซิตี, ซึ่งทำได้ 17 คลีนชีต

ประตูยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล[แก้]

รางวัลประตูยอดเยี่ยมประจำฤดูกาล ได้แก่ ประตูของ ปาปิส ซีเซ จากนิวคาสเซิลยูไนเต็ด สำหรับประตูที่สอง ทำให้ชนะทีม เชลซี ที่ สแตมฟอร์ดบริดจ์, กลายมาเป็นผู้เล่นคนแรกของสโมสรที่ได้รับรางวัล นับตั้งแต่ก่อตั้งสโมสร

บาร์เคลส์พรีเมียร์ลีก แฟร์เพลย์ อวอร์ด[แก้]

รางวัลแฟร์เพลย์ เป็นรางวัลสำหรับสโมสรที่มีการทำฟาวล์ ได้ใบเหลืองใบแดงและอื่นๆ น้อยที่สุด โดยสโมสร สวอนซีซิตี เป็นทีมที่คะแนนมากที่สุด[56]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.00 1.01 1.02 1.03 1.04 1.05 1.06 1.07 1.08 1.09 1.10 1.11 1.12 1.13 "Barclays Premier League Stats - 2011-12". ESPN Soccernet. ESPN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-07-27. สืบค้นเมื่อ 13 August 2011.
  2. "Manchester City strike deal to rename Eastlands". BBC Sport.
  3. "Premier League Team Captains". Transfer Markt Website. 23 August 2011. สืบค้นเมื่อ 23 August. {{cite web}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= (help)
  4. 4.0 4.1 "Premier League Handbook Season 2011/12" (PDF). Premier League. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-02-11. สืบค้นเมื่อ 23 August 2011.
  5. "Villa announce Genting as new principal partner". AVFC. 22 June 2011. สืบค้นเมื่อ 23 June 2011.
  6. "Blackburn Rovers announce sponsorship with The Prince's Trust". www.football-shirts.co.uk. 11 August 2011. สืบค้นเมื่อ 11 August 2011.
  7. "Swans team up with adidas". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-09-07. สืบค้นเมื่อ 3 June 2011.
  8. "Tottenham Home Shirt Teaser 2011/12". www.football-shirts.co.uk. Football Shirts. สืบค้นเมื่อ 9 May 2011.
  9. "Bodog are Albion's new club sponsors". Official website. West Bromwich Albion. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-29. สืบค้นเมื่อ 28 June 2011.
  10. "Virgin Money To Become New Shirt Sponsor". nufc.co.uk. Newcastle United. 4 January 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-08. สืบค้นเมื่อ 4 January 2012.
  11. "QPR sign sponsorship deal with two Asian airlines". BBC News. 12 September 2011. สืบค้นเมื่อ 14 September 2011.
  12. "Agbonlahor named Villa skipper while Petrov battles acute leukaemia". Daily Mail. 13 May 2012.
  13. "Paul Robinson: I'll clean up as Rovers skipper". The Sun. 13 May 2012.
  14. "More misery for United as Vidic suffers knee ligament damage in Champions League defeat". Daily Mail. London. 7 December 2011.
  15. "Patrice Evra proud to captain Manchester United". Daily Mail. 13 May 2012.
  16. "Nike 2011/12 Premier League, La Liga and Serie A Balls | Balls | Football Shirt Culture.com". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-09. สืบค้นเมื่อ 2011-08-21.
  17. "Carlo Ancelotti is sacked by Chelsea". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 22 May 2011. สืบค้นเมื่อ 22 May 2011.
  18. "VILLAS-BOAS APPOINTED". Chelsea FC. Chelsea FC. 22 June 2011. สืบค้นเมื่อ 22 June 2011.
  19. "Gérard Houllier leaves role as Aston Villa manager". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 1 June 2011. สืบค้นเมื่อ 1 June 2011.
  20. "Aston Villa appoint Alex McLeish as manager". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 17 June 2011. สืบค้นเมื่อ 17 June 2011.
  21. "Mark Hughes resigns as Fulham manager". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 2 June 2011. สืบค้นเมื่อ 2 June 2011.
  22. "Fulham appoint Martin Jol as new manager". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 7 June 2011. สืบค้นเมื่อ 7 June 2011.
  23. "Sunderland sack Steve Bruce as manager". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 30 November 2011. สืบค้นเมื่อ 4 December 2011.
  24. "Martin O'Neill named Sunderland manager". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 3 December 2011. สืบค้นเมื่อ 4 December 2011.
  25. "Neil Warnock sacked as manager of Queens Park Rangers". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 8 January 2012.
  26. "Hughes confirmed as new QPR boss". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 10 January 2012. สืบค้นเมื่อ 10 January 2012.
  27. "Wolves sack manager Mick McCarthy". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 13 February 2012.
  28. "Connor appointed to end of season". Wolverhampton Wanderers F.C. 24 February 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-26. สืบค้นเมื่อ 2012-02-26.
  29. 29.0 29.1 "Chelsea sack manager Villas-Boas". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 4 March 2012.
  30. "Barclays Premier League Top Scorers". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. สืบค้นเมื่อ 13 December 2011.
  31. "Barclays Premier League Stats: Assists Leaders – 2011–12". ESPN Soccernet. ESPN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-04. สืบค้นเมื่อ 23 March 2012.
  32. "The 2011/12 Season stats". Premier League. PL. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-09. สืบค้นเมื่อ 21 พฤษภาคม 2012.
  33. Lyon, Sam (13 August 2011). "Saturday football as it happened". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. สืบค้นเมื่อ 13 August 2011.
  34. "Swansea 4 Wolves 4". The Sun. The Sun. 28 April 2012. สืบค้นเมื่อ 28 April 2012.
  35. 35.0 35.1 35.2 "Barclays Premier League Stats: Team Discipline - 2011–12". ESPN Soccernet. ESPN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-02. สืบค้นเมื่อ 23 March 2012.
  36. 36.0 36.1 36.2 "Barclays Premier League Stats: Player Discipline - 2011–12". ESPN Soccernet. ESPN. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-06. สืบค้นเมื่อ 23 March 2012.
  37. "สุดดราม่า! เรือหักอกผีทดเจ็บซิวแชมป์ลีก". ผู้จัดการออนไลน์. 13 May 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-15. สืบค้นเมื่อ 11 February 2014.
  38. "Ferguson picks up Barclays award". premierleague.com. Premier League. 2 September 2011. สืบค้นเมื่อ 2 September 2011.[ลิงก์เสีย]
  39. "Dzeko named Barclays Player of the Month". premierleague.com. Premier League. 2 September 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-30. สืบค้นเมื่อ 2 September 2011.
  40. "Harry named Barclays Manager of the Month". tottenhamhotspur.com. Tottenham Hotspur. 30 September 2011. สืบค้นเมื่อ 30 September 2011.
  41. "Silva picks up prestigious award". mcfc.co.uk. Manchester City. 30 September 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-07-19. สืบค้นเมื่อ 30 September 2011.
  42. 42.0 42.1 "Mancini & Van Persie win monthly awards". premierleague.com. Premier League. 6 November 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-10-30. สืบค้นเมื่อ 6 November 2011.
  43. 43.0 43.1 "Redknapp and Parker win awards". premierleague.com. Premier League. 5 December 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-01-08. สืบค้นเมื่อ 5 December 2011.
  44. 44.0 44.1 "Ba and O'Neill win Barclays awards". premierleague.com. Premier League. 6 January 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-10-29. สืบค้นเมื่อ 7 January 2012.
  45. "Brendan wins Manager of the Month". swanseacity.net. Swansea City. 3 February 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-02-07. สืบค้นเมื่อ 3 February 2012.
  46. "Gareth wins Barclays Player of the Month". tottenhamhotspur.com. Tottenham Hotspur. 3 February 2012. สืบค้นเมื่อ 3 February 2012.
  47. 47.0 47.1 "Wenger and Odemwingie win Barclays awards". premierleague.com. 2 March 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-03-05. สืบค้นเมื่อ 3 March 2012.
  48. "Coyle Wins Manager Of The Month". bwfc.co.uk. 4 April 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-15. สืบค้นเมื่อ 4 April 2012.
  49. "Gylfi Sigurdsson wins Premier League player award". bbc.co.uk/sport. 4 April 2012. สืบค้นเมื่อ 4 April 2012.
  50. "Martinez and Jelavic earn Barclays awards". premierleague.com. Premier League. 4 May 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-07. สืบค้นเมื่อ 4 May 2012.
  51. O'Rourke, Pete (22 April 2012). "Van Persie takes PFA prize". Sky Sports. สืบค้นเมื่อ 22 April 2012.
  52. Bailey, Graeme (42 April 2012). "RVP named Footballer of Year". ESPNsoccernet. สืบค้นเมื่อ 24 April 2012. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |date= (help)
  53. O'Rourke, Pete (22 April 2012). "City quarter in PFA team". Sky Sports. สืบค้นเมื่อ 22 April 2012.
  54. O'Rourke, Pete (22 April 2012). "Walker wins PFA award". Sky Sports. สืบค้นเมื่อ 22 April 2012.
  55. 55.0 55.1 "Alan Pardew and Vincent Kompany's Premier League award". bbc.co.uk. BBC Sport. 11 May 2012. สืบค้นเมื่อ 11 May 2012.
  56. "Swansea top Fair Play League Table". PremierLeague.com. Premier League. 19 May 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-05-21. สืบค้นเมื่อ 19 May 2012.