แม่แบบ:Transclude lead excerpt/testcases

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

No parameters[แก้]

{{ Transclude lead excerpt }} Parameter 1 was not provided

Side by side comparison
{{Transclude lead excerpt}}{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Blank article title[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | }} Parameter 1 is a blank string

Side by side comparison
{{Transclude lead excerpt}}{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Redlinked article[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | No title }} No such page on Wikipedia

Side by side comparison
{{Transclude lead excerpt}}{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

No parameters: error[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | errors= }} Parameter 1 was not provided

Side by side comparison
{{Transclude lead excerpt}}{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
ข้อผิดพลาด Lua: No articles provided

Blank article title: error[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | | errors= }} Parameter 1 is a blank string

Side by side comparison
{{Transclude lead excerpt}}{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
ข้อผิดพลาด Lua: Cannot read a valid page: first name is

Redlinked article: error[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | No title | errors= }} No such page on Wikipedia

Side by side comparison
{{Transclude lead excerpt}}{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
ข้อผิดพลาด Lua: Cannot read a valid page: first name is No title

Aviation[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Aviation | files = 1 }} text follows; image not moved to left

Side by side comparison
{{Transclude lead excerpt}}{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
เที่ยวบินแรกของพี่น้องไรต์ เมื่อ 17 ธันวาคม 1903 ในรัฐนอร์ทแคโรไลนา
การเดินอากาศ หรือ การบิน (อังกฤษ: Aviation) หมายถึงลักษณะหรือศิลปะของการบิน ไมได้หมายถึงเฉพาะเครื่องบินที่บินได้เท่านั้น แต่เริ่มตั้งแต่การออกแบบ, พัฒนา, ผลิต, ดำเนินงานและใช้งานอากาศยาน คำว่า "Aviation" ในภาษาอังกฤษนั้น เป็นคำที่เขียนโดยอดีตทหารเรือชาวฝรั่งเศส กาบริแอล ลา ลันเดอล์ ในปี 1873 ซึ่งเขารวมเอาคำว่า "avier" (บิน) เข้ากับคำละติน "avis" (นก) ตามด้วยรูปนาม "-ation" (บทความเต็ม...)This text should appear on the same line as the excerpt.
เที่ยวบินแรกของพี่น้องไรต์ เมื่อ 17 ธันวาคม 1903 ในรัฐนอร์ทแคโรไลนา
การเดินอากาศ หรือ การบิน (อังกฤษ: Aviation) หมายถึงลักษณะหรือศิลปะของการบิน ไมได้หมายถึงเฉพาะเครื่องบินที่บินได้เท่านั้น แต่เริ่มตั้งแต่การออกแบบ, พัฒนา, ผลิต, ดำเนินงานและใช้งานอากาศยาน คำว่า "Aviation" ในภาษาอังกฤษนั้น เป็นคำที่เขียนโดยอดีตทหารเรือชาวฝรั่งเศส กาบริแอล ลา ลันเดอล์ ในปี 1873 ซึ่งเขารวมเอาคำว่า "avier" (บิน) เข้ากับคำละติน "avis" (นก) ตามด้วยรูปนาม "-ation"This text should appear on the same line as the excerpt.

Decompression practice[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Decompression practice | paragraphs = 1-99 | files = 1 | fileargs=left }} too many paragraphs; image on left

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Mercury (planet)[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Mercury (planet) | paragraphs = 2,4 }} using wikilink; more=

{{Transclude lead excerpt}}

ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น

ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

ดาวพุธไม่มีดาวบริวาร ยานอวกาศเพียงลำเดียวที่เคยสำรวจดาวพุธในระยะใกล้คือยานมาริเนอร์ 10เมื่อปี พ.ศ. 2517-2518 (ค.ศ. 1974-1975) และสามารถทำแผนที่พื้นผิวดาวพุธได้เพียง 40-45% เท่านั้น

ชื่อละตินของดาวพุธ (Mercury) มาจากคำเต็มว่า Mercurius เทพนำสารของพระเจ้า สัญลักษณ์แทนดาวพุธ คือ เป็นรูปคทาของเทพเจ้าเมอคิวรี ก่อนศตวรรษที่ 5 ดาวพุธมีสองชื่อ คือ เฮอร์เมส เมื่อปรากฏในเวลาหัวค่ำ และอพอลโล เมื่อปรากฏในเวลาเช้ามืด เชื่อว่าพีทาโกรัสเป็นคนแรกที่ระบุว่าทั้งสองเป็นดาวเคราะห์ดวงเดียวกัน Read more...

O-Bahn Busway[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | O-Bahn Busway }} using piped link; more=text

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Sydney[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Sydney (Australia) | paragraphs = 1,3-5 }} using redirect and section link

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Nitrogen narcosis[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Nitrogen narcosis }} with odd ref syntax and toc

{{Transclude lead excerpt}}

ภาวะเมาไนโตรเจน หรือ ภาวะเซื่องซึมเหตุไนโตรเจน (อังกฤษ: nitrogen narcosis) หรือ ภาวะเซื่องซึมเหตุก๊าซเฉื่อย (อังกฤษ: inert gas narcosis) หรือชื่ออื่น ๆ อาการเมาน้ำลึก (อังกฤษ: raptures of the deep) และ ปรากฏการณ์มาร์ทีนี (อังกฤษ: Martini effect) เป็นการลดลงของความรู้ตัวชนิดแก้ไขได้ อันเกิดจากการดำน้ำที่ความลึกสูง ซึ่งเกิดจากฤทธิ์กดประสาทของก๊าซเฉื่อยบางชนิดที่ความดันหนึ่ง ภาษาอังกฤษของคำว่าภาวะเซื่องซึม (Nacrosis) มาจากภาษากรีก νάρκωσις (narkōsis) แปลว่า "การทำให้ชา" ซึ่งมาจาก νάρκη (narkē) แปลว่า "ความชา ไร้ความรู้สึก" คำซึ่งปรากฏใช้โดยทั้งโฮเมอร์ และ ฮิปพอคราทีส ภาวะเซื่องซึมมีอาการคล้ายกับความเมา (ภาวะพิษเหตุแอลกอฮอล์) หรือการสูดเอาไนตรัสออกไซด์ ภาวะเมาไนโตรเจนอาจพบได้ในการดำน้ำที่ความตื้นแต่มักไม่ปรากฏชัดเจนเท่าการดำน้ำที่ความลึกมากกว่า 30 เมตร

นอกจากฮีเลียม (และอาจรวมถึงนีออน) อากาศที่หายใจล้วนมีผลกดประสาท ซึ่งแตกต่างกันไปตามความดันของก๊าซแต่ละชนิด เข้าใจกันว่าเกิดจากความสามารถในการละลายในลิพิด อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ แต่มีหลักฐานชัดเจนว่าลักษณะทั้งสองประการมีความเกี่ยวเนื่องกันในทางฟิสิกส์ (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

ภาวะเมาไนโตรเจน หรือ ภาวะเซื่องซึมเหตุไนโตรเจน (อังกฤษ: nitrogen narcosis) หรือ ภาวะเซื่องซึมเหตุก๊าซเฉื่อย (อังกฤษ: inert gas narcosis) หรือชื่ออื่น ๆ อาการเมาน้ำลึก (อังกฤษ: raptures of the deep) และ ปรากฏการณ์มาร์ทีนี (อังกฤษ: Martini effect) เป็นการลดลงของความรู้ตัวชนิดแก้ไขได้ อันเกิดจากการดำน้ำที่ความลึกสูง ซึ่งเกิดจากฤทธิ์กดประสาทของก๊าซเฉื่อยบางชนิดที่ความดันหนึ่ง ภาษาอังกฤษของคำว่าภาวะเซื่องซึม (Nacrosis) มาจากภาษากรีก νάρκωσις (narkōsis) แปลว่า "การทำให้ชา" ซึ่งมาจาก νάρκη (narkē) แปลว่า "ความชา ไร้ความรู้สึก" คำซึ่งปรากฏใช้โดยทั้งโฮเมอร์ และ ฮิปพอคราทีส ภาวะเซื่องซึมมีอาการคล้ายกับความเมา (ภาวะพิษเหตุแอลกอฮอล์) หรือการสูดเอาไนตรัสออกไซด์ ภาวะเมาไนโตรเจนอาจพบได้ในการดำน้ำที่ความตื้นแต่มักไม่ปรากฏชัดเจนเท่าการดำน้ำที่ความลึกมากกว่า 30 เมตร

นอกจากฮีเลียม (และอาจรวมถึงนีออน) อากาศที่หายใจล้วนมีผลกดประสาท ซึ่งแตกต่างกันไปตามความดันของก๊าซแต่ละชนิด เข้าใจกันว่าเกิดจากความสามารถในการละลายในลิพิด อย่างไรก็ตามทฤษฎีนี้ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ แต่มีหลักฐานชัดเจนว่าลักษณะทั้งสองประการมีความเกี่ยวเนื่องกันในทางฟิสิกส์

Ancient Greece[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Ancient Greece }} template-image-template

{{Transclude lead excerpt}}
ซากปรักหักพังของวิหารที่ เดลฟี ตามที่ปรากฏใน ค.ศ. 1938

กรีซโบราณ (อังกฤษ: Ancient Greece) เป็นอารยธรรมที่ตั้งอยู่บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ดำรงอยู่ตั้งแต่ยุคมืดของกรีซในช่วงศตวรรษที่ 12-9 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึงปลายยุคคลาสสิก (ประมาณ ค.ศ. 600) ประกอบด้วยกลุ่มนครรัฐและดินแดนอื่น ๆ ที่มีความสัมพันธ์กันทางวัฒนธรรมและภาษาศาสตร์ ภูมิภาคเหล่านี้ส่วนใหญ่ได้รวมเป็นหนึ่งอย่างเป็นทางการเพียงครั้งเดียวเป็นเวลา 13 ปีภายใต้การปกครองของอเล็กซานเดอร์มหาราชตั้งแต่ 336 ถึง 323 ปีก่อนคริสตกาล (กล่าวคือ ไม่รวมนครรัฐกรีกจำนวนหนึ่งที่เป็นอิสระจากเขตอำนาจของอเล็กซานเดอร์ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก รอบทะเลดำ ไซปรัส และไซเรไนกา) ทั้งนี้ ในประวัติศาสตร์ตะวันตก ยุคกรีซโบราณจะตามมาด้วยยุคกลางตอนต้นและยุคไบแซนไทน์

ประมาณ 300 ปีหลังการล่มสลายปลายยุคสัมฤทธิ์ของอารยธรรมกรีซแบบไมซีนี เมืองในลักษณะโพลิส (poleis) ของกรีกได้เริ่มก่อตัวขึ้นในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศักราช นำไปสู่ยุคอาร์เคอิกและการล่าอาณานิคมรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จากนั้นตามมาด้วยยุคคลาสสิก ตั้งแต่สงครามกรีก-เปอร์เซีย จนถึงศตวรรษที่ 5 ถึง 4 ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งรวมถึงยุคทองของเอเธนส์ด้วย การพิชิตของอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซีโดเนียได้แพร่กระจายอารยธรรมแบบเฮลเลนิสต์จากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตกไปจนถึงภูมิภาคเอเชียกลาง ก่อนที่จะสิ้นสุดลงด้วยการพิชิตภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกของสาธารณรัฐโรมัน และการผนวกมณฑลมาซิโดเนียและอาเคียในสมัยจักรวรรดิโรมัน

วัฒนธรรมกรีกคลาสสิก โดยเฉพาะปรัชญา มีอิทธิพลอย่างมากต่อโรมโบราณ ตลอดจนทั่วทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและส่วนใหญ่ของยุโรป ด้วยเหตุผลนี้ จึงถือเป็นแหล่งกำเนิดของอารยธรรมตะวันตกโดยทั่วไป และเป็นวัฒนธรรมต้นทางที่ชาวตะวันตกสมัยใหม่ได้รับต้นแบบและเป็นรากฐานในการเมือง ปรัชญา วิทยาศาสตร์ และศิลปะ

กรีซโบราณ' เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต์ (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
ซากปรักหักพังของวิหารที่ เดลฟี ตามที่ปรากฏใน ค.ศ. 1938

กรีซโบราณ (อังกฤษ: Ancient Greece) เป็นอารยธรรมที่ตั้งอยู่บริเวณตะวันออกเฉียงเหนือของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ดำรงอยู่ตั้งแต่ยุคมืดของกรีซในช่วงศตวรรษที่ 12-9 ก่อนคริสต์ศักราช จนถึงปลายยุคคลาสสิก (ประมาณ ค.ศ. 600) ประกอบด้วยกลุ่มนครรัฐและดินแดนอื่น ๆ ที่มีความสัมพันธ์กันทางวัฒนธรรมและภาษาศาสตร์ ภูมิภาคเหล่านี้ส่วนใหญ่ได้รวมเป็นหนึ่งอย่างเป็นทางการเพียงครั้งเดียวเป็นเวลา 13 ปีภายใต้การปกครองของอเล็กซานเดอร์มหาราชตั้งแต่ 336 ถึง 323 ปีก่อนคริสตกาล (กล่าวคือ ไม่รวมนครรัฐกรีกจำนวนหนึ่งที่เป็นอิสระจากเขตอำนาจของอเล็กซานเดอร์ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตก รอบทะเลดำ ไซปรัส และไซเรไนกา) ทั้งนี้ ในประวัติศาสตร์ตะวันตก ยุคกรีซโบราณจะตามมาด้วยยุคกลางตอนต้นและยุคไบแซนไทน์

ประมาณ 300 ปีหลังการล่มสลายปลายยุคสัมฤทธิ์ของอารยธรรมกรีซแบบไมซีนี เมืองในลักษณะโพลิส (poleis) ของกรีกได้เริ่มก่อตัวขึ้นในศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสต์ศักราช นำไปสู่ยุคอาร์เคอิกและการล่าอาณานิคมรอบทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จากนั้นตามมาด้วยยุคคลาสสิก ตั้งแต่สงครามกรีก-เปอร์เซีย จนถึงศตวรรษที่ 5 ถึง 4 ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งรวมถึงยุคทองของเอเธนส์ด้วย การพิชิตของอเล็กซานเดอร์มหาราชแห่งมาซีโดเนียได้แพร่กระจายอารยธรรมแบบเฮลเลนิสต์จากทะเลเมดิเตอร์เรเนียนตะวันตกไปจนถึงภูมิภาคเอเชียกลาง ก่อนที่จะสิ้นสุดลงด้วยการพิชิตภูมิภาคเมดิเตอร์เรเนียนตะวันออกของสาธารณรัฐโรมัน และการผนวกมณฑลมาซิโดเนียและอาเคียในสมัยจักรวรรดิโรมัน

วัฒนธรรมกรีกคลาสสิก โดยเฉพาะปรัชญา มีอิทธิพลอย่างมากต่อโรมโบราณ ตลอดจนทั่วทะเลเมดิเตอร์เรเนียนและส่วนใหญ่ของยุโรป ด้วยเหตุผลนี้ จึงถือเป็นแหล่งกำเนิดของอารยธรรมตะวันตกโดยทั่วไป และเป็นวัฒนธรรมต้นทางที่ชาวตะวันตกสมัยใหม่ได้รับต้นแบบและเป็นรากฐานในการเมือง ปรัชญา วิทยาศาสตร์ และศิลปะ

กรีซโบราณ' เป็นคำที่ใช้เรียกถึงบริเวณที่มีการพูดภาษากรีกในโลกยุคโบราณ ซึ่งไม่เพียงอ้างถึงพื้นที่คาบสมุทรของกรีซยุคปัจจุบันเท่านั้น แต่ยังกล่าวรวมถึงอารยธรรมกรีกโบราณซึ่งเป็นที่ตั้งรกรากถิ่นฐานโดยชาวกรีกในยุคโบราณอันได้แก่ ไซปรัส, บริเวณชายฝั่งของทะเลอีเจียนของตุรกี (หรือที่รู้จักในนามไอโอเนีย), ซิซิลีและทางใต้ของอิตาลี (หรือที่รู้จักในนามแมกนา เกรเชีย) และถิ่นฐานซึ่งกระจายออกไปของชาวกรีกตามชายฝั่งต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศ บัลแกเรีย ฝรั่งเศส ยูเครน โรมาเนีย ลิเบีย สเปน อัลแบเนีย และอียิปต์

Bahá'í Faith[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Bahá'í Faith }} template-image-template

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

John Wayne[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | John Wayne | files=1 | fileargs=left }} free image in infobox using image=, move to left

{{Transclude lead excerpt}}

จอห์น เวย์น (อังกฤษ: John Wayne) (26 พฤษภาคม ค.ศ. 190711 มิถุนายน ค.ศ. 1979) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์และผู้สร้างชาวอเมริกัน เคยได้รับรางวัลออสการ์และรางวัลลูกโลกทองคำ เขามีรูปลักษณ์บึกบึนและถือเป็นสัญลักษณ์ของนักแสดงอเมริกันคนหนึ่ง เขายังมีน้ำเสียง ท่าเดิน และความสูงที่โดดเด่น เขาเป็นที่รู้จักดีเรื่องมุมมองการเมืองทางด้านอนุรักษ์ และเขาต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ ในช่วงทศวรรษ 1950

ในปี 1999 สถาบันภาพยนตร์อเมริกัน ให้เขาอยู่อันดับ 13 ของนักแสดงที่เยี่ยมที่สุดตลอดการ ต่อมา Harris Poll ออกผลสำรวจในปี 2007 ให้เวย์นอยู่อันดับ 3 ของนักแสดงภาพยนตร์ที่เป็นที่ชื่นชอบที่สุด (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

จอห์น เวย์น (อังกฤษ: John Wayne) (26 พฤษภาคม ค.ศ. 190711 มิถุนายน ค.ศ. 1979) เป็นนักแสดงภาพยนตร์ ผู้กำกับภาพยนตร์และผู้สร้างชาวอเมริกัน เคยได้รับรางวัลออสการ์และรางวัลลูกโลกทองคำ เขามีรูปลักษณ์บึกบึนและถือเป็นสัญลักษณ์ของนักแสดงอเมริกันคนหนึ่ง เขายังมีน้ำเสียง ท่าเดิน และความสูงที่โดดเด่น เขาเป็นที่รู้จักดีเรื่องมุมมองการเมืองทางด้านอนุรักษ์ และเขาต่อต้านลัทธิคอมมิวนิสต์ ในช่วงทศวรรษ 1950

ในปี 1999 สถาบันภาพยนตร์อเมริกัน ให้เขาอยู่อันดับ 13 ของนักแสดงที่เยี่ยมที่สุดตลอดการ ต่อมา Harris Poll ออกผลสำรวจในปี 2007 ให้เวย์นอยู่อันดับ 3 ของนักแสดงภาพยนตร์ที่เป็นที่ชื่นชอบที่สุด

Bread[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Bread | files=1 | fileargs=left }} free image in infobox using File:, move to left

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Lech Poznań[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Lech Poznań | files=1 }} non-free image in infobox using image=

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Manchester United F.C.[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Manchester United F.C. | files=1 }} non-free image in infobox using File:

{{Transclude lead excerpt}}

สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (อังกฤษ: Manchester United Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลตั้งอยู่ที่โอลด์แทรฟฟอร์ดในเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ ปัจจุบันแข่งขันในพรีเมียร์ลีกซึ่งเป็นลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ สโมสรมีฉายา "ปีศาจแดง" ก่อตั้งในชื่อสโมสรฟุตบอลนิวตันฮีตแอลวายอาร์ใน ค.ศ. 1878 ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดใน ค.ศ. 1902 และย้ายไปเล่นที่สนามเหย้าปัจจุบันอย่างโอลด์แทรฟฟอร์ดใน ค.ศ. 1910

แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นหนึ่งในสโมสรที่ชนะเลิศถ้วยรางวัลมากที่สุดในฟุตบอลอังกฤษ โดยชนะเลิศลีก 20 สมัย ซึ่งเป็นสถิติสูงสุด, เอฟเอคัพ 12 สมัย, ลีกคัพ 6 สมัย และเอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 21 สมัย ซึ่งก็เป็นสถิติสูงสุดเช่นกัน ยูไนเต็ดยังชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 3 สมัย, ยูฟ่ายูโรปาลีก 1 สมัย, ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ 1 สมัย, ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 1 สมัย, อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ 1 สมัย และฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 1 สมัย โดยในฤดูกาล 1998–99 สโมสรกลายเป็นทีมแรกในประวัติศาสตร์ฟุตบอลอังกฤษที่คว้าทริปเปิลแชมป์ระดับทวีปยุโรป และในฤดูกาล 2016–17 หลังจากที่ชนะเลิศยูฟ่ายูโรปาลีก พวกเขากลายเป็นหนึ่งในห้าสโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันรายการหลักของยูฟ่าครบทั้งสามรายการ

ภัยพิบัติทางอากาศมิวนิกเมื่อ ค.ศ. 1958 คร่าชีวิตผู้เล่นแปดคน ต่อมาใน ค.ศ. 1968 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดกลายเป็นสโมสรฟุตบอลแรกของอังกฤษที่ชนะเลิศยูโรเปียนคัพภายใต้การคุมทีมของแมตต์ บัสบี ต่อมาอเล็กซ์ เฟอร์กูสันพาทีมชนะเลิศถ้วยรางวัล 38 ใบในฐานะผู้จัดการทีม ซึ่งรวมพรีเมียร์ลีก 13 สมัย, เอฟเอคัพ 5 สมัย และยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2 สมัยในระหว่าง ค.ศ. 1986 ถึง 2013 ซึ่งเป็นปีที่เขาประกาศเกษียณตัวเอง แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นหนึ่งในสโมสรฟุตบอลที่มีผู้สนับสนุนมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และมีสโมสรคู่ปรับคือ ลิเวอร์พูล, แมนเชสเตอร์ซิตี, อาร์เซนอล และลีดส์ยูไนเต็ด

แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นสโมสรฟุตบอลที่มีรายได้สูงที่สุดในโลกในฤดูกาล 2016–17 ด้วยรายได้ต่อปีเป็นจำนวน 676.3 ล้านยูโร และเป็นสโมสรที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับที่สามของโลกใน ค.ศ. 2019 เป็นมูลค่า 3.15 พันล้านปอนด์ (3.81 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ณ ค.ศ. 2015 สโมสรเป็นเครื่องหมายการค้าฟุตบอลที่มีมูลค่าสูงที่สุดในโลก คาดว่ามีมูลค่า 1.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หลังจากที่ได้มีการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ลอนดอนเมื่อ ค.ศ. 1991 สโมสรได้กลับมาเป็นบริษัทเอกชนจากการที่มัลคอม เกลเซอร์ซื้อกิจการเมื่อ ค.ศ. 2005 ด้วยมูลค่าเกือบ 800 ล้านปอนด์ ซึ่งเงินที่ถูกกู้กว่า 500 ล้านปอนด์นี้กลายเป็นหนี้ของสโมสร และตั้งแต่ ค.ศ. 2012 หุ้นบางส่วนของสโมสรถูกเสนอขายในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก แม้ว่าตระกูลเกลเซอร์จะยังคงมีบทบาทเป็นเจ้าของและควบคุมสโมสร (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

สโมสรฟุตบอลแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ด (อังกฤษ: Manchester United Football Club) เป็นสโมสรฟุตบอลตั้งอยู่ที่โอลด์แทรฟฟอร์ดในเกรเทอร์แมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ ปัจจุบันแข่งขันในพรีเมียร์ลีกซึ่งเป็นลีกสูงสุดของฟุตบอลอังกฤษ สโมสรมีฉายา "ปีศาจแดง" ก่อตั้งในชื่อสโมสรฟุตบอลนิวตันฮีตแอลวายอาร์ใน ค.ศ. 1878 ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็นแมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดใน ค.ศ. 1902 และย้ายไปเล่นที่สนามเหย้าปัจจุบันอย่างโอลด์แทรฟฟอร์ดใน ค.ศ. 1910

แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นหนึ่งในสโมสรที่ชนะเลิศถ้วยรางวัลมากที่สุดในฟุตบอลอังกฤษ โดยชนะเลิศลีก 20 สมัย ซึ่งเป็นสถิติสูงสุด, เอฟเอคัพ 12 สมัย, ลีกคัพ 6 สมัย และเอฟเอคอมมิวนิตีชีลด์ 21 สมัย ซึ่งก็เป็นสถิติสูงสุดเช่นกัน ยูไนเต็ดยังชนะเลิศยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 3 สมัย, ยูฟ่ายูโรปาลีก 1 สมัย, ยูฟ่าคัพวินเนอร์สคัพ 1 สมัย, ยูฟ่าซูเปอร์คัพ 1 สมัย, อินเตอร์คอนติเนนตัลคัพ 1 สมัย และฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 1 สมัย โดยในฤดูกาล 1998–99 สโมสรกลายเป็นทีมแรกในประวัติศาสตร์ฟุตบอลอังกฤษที่คว้าทริปเปิลแชมป์ระดับทวีปยุโรป และในฤดูกาล 2016–17 หลังจากที่ชนะเลิศยูฟ่ายูโรปาลีก พวกเขากลายเป็นหนึ่งในห้าสโมสรที่ชนะเลิศการแข่งขันรายการหลักของยูฟ่าครบทั้งสามรายการ

ภัยพิบัติทางอากาศมิวนิกเมื่อ ค.ศ. 1958 คร่าชีวิตผู้เล่นแปดคน ต่อมาใน ค.ศ. 1968 แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดกลายเป็นสโมสรฟุตบอลแรกของอังกฤษที่ชนะเลิศยูโรเปียนคัพภายใต้การคุมทีมของแมตต์ บัสบี ต่อมาอเล็กซ์ เฟอร์กูสันพาทีมชนะเลิศถ้วยรางวัล 38 ใบในฐานะผู้จัดการทีม ซึ่งรวมพรีเมียร์ลีก 13 สมัย, เอฟเอคัพ 5 สมัย และยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก 2 สมัยในระหว่าง ค.ศ. 1986 ถึง 2013 ซึ่งเป็นปีที่เขาประกาศเกษียณตัวเอง แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นหนึ่งในสโมสรฟุตบอลที่มีผู้สนับสนุนมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และมีสโมสรคู่ปรับคือ ลิเวอร์พูล, แมนเชสเตอร์ซิตี, อาร์เซนอล และลีดส์ยูไนเต็ด

แมนเชสเตอร์ยูไนเต็ดเป็นสโมสรฟุตบอลที่มีรายได้สูงที่สุดในโลกในฤดูกาล 2016–17 ด้วยรายได้ต่อปีเป็นจำนวน 676.3 ล้านยูโร และเป็นสโมสรที่มีมูลค่าสูงเป็นอันดับที่สามของโลกใน ค.ศ. 2019 เป็นมูลค่า 3.15 พันล้านปอนด์ (3.81 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ณ ค.ศ. 2015 สโมสรเป็นเครื่องหมายการค้าฟุตบอลที่มีมูลค่าสูงที่สุดในโลก คาดว่ามีมูลค่า 1.2 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ หลังจากที่ได้มีการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ลอนดอนเมื่อ ค.ศ. 1991 สโมสรได้กลับมาเป็นบริษัทเอกชนจากการที่มัลคอม เกลเซอร์ซื้อกิจการเมื่อ ค.ศ. 2005 ด้วยมูลค่าเกือบ 800 ล้านปอนด์ ซึ่งเงินที่ถูกกู้กว่า 500 ล้านปอนด์นี้กลายเป็นหนี้ของสโมสร และตั้งแต่ ค.ศ. 2012 หุ้นบางส่วนของสโมสรถูกเสนอขายในตลาดหลักทรัพย์นิวยอร์ก แม้ว่าตระกูลเกลเซอร์จะยังคงมีบทบาทเป็นเจ้าของและควบคุมสโมสร

Bollywood[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Bollywood | files=1 }} image=File:Foo in infobox

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Alexander Graham Bell[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Alexander Graham Bell }} Refn tag

{{Transclude lead excerpt}}

อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (Alexander Graham Bell - 3 มีนาคม ค.ศ. 1847 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 1922) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ ผู้ก่อตั้งบริษัท เบลล์ เทเลโฟน (Bell Telephone company) สิ่งประดิษฐ์ที่สำคัญอย่างมากของเบลล์และเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกอย่างมาก ได้แก่ โทรศัพท์ ซึ่งได้คิดค้นอย่างอิสระได้พร้อมๆ กับ เอลิชา เกรย์ นักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน นอกจากนี้ เบลล์ยังเป็นผู้มีความสำคัญอย่างมากในงานวิจัยทางด้านอากาศยาน และ ไฮโดรฟอยล์


He is a scientist, inventor, and founder of the Bell Telephone company. Bell's very important inventions that are very beneficial to the world include the telephone. (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

อเล็กซานเดอร์ เกรแฮม เบลล์ (Alexander Graham Bell - 3 มีนาคม ค.ศ. 1847 - 2 สิงหาคม ค.ศ. 1922) เป็นนักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ ผู้ก่อตั้งบริษัท เบลล์ เทเลโฟน (Bell Telephone company) สิ่งประดิษฐ์ที่สำคัญอย่างมากของเบลล์และเป็นประโยชน์ต่อชาวโลกอย่างมาก ได้แก่ โทรศัพท์ ซึ่งได้คิดค้นอย่างอิสระได้พร้อมๆ กับ เอลิชา เกรย์ นักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน นอกจากนี้ เบลล์ยังเป็นผู้มีความสำคัญอย่างมากในงานวิจัยทางด้านอากาศยาน และ ไฮโดรฟอยล์


He is a scientist, inventor, and founder of the Bell Telephone company. Bell's very important inventions that are very beneficial to the world include the telephone.

Albania[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Albania | files=1,2 }} .ogg file; flag in infobox

{{Transclude lead excerpt}}
แอลเบเนีย (อังกฤษ: Albania; แอลเบเนีย: Shqipëri หรือ Shqipëria, ออกเสียง [ʃcipəˈɾi(a)]) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (อังกฤษ: Republic of Albania; แอลเบเนีย: Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับคอซอวอ ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตย (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
แอลเบเนีย (อังกฤษ: Albania; แอลเบเนีย: Shqipëri หรือ Shqipëria, ออกเสียง [ʃcipəˈɾi(a)]) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐแอลเบเนีย (อังกฤษ: Republic of Albania; แอลเบเนีย: Republika e Shqipërisë) เป็นประเทศแถบเมดิเตอร์เรเนียนในยุโรปตะวันออกเฉียงใต้ พรมแดนทางเหนือติดต่อกับมอนเตเนโกร ตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับคอซอวอ ทางตะวันออกติดต่อกับมาซิโดเนีย และทางใต้ติดต่อกับกรีซ ชายฝั่งตะวันตกจรดทะเลเอเดรียติก ชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้จรดทะเลไอโอเนียน ปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตย

James Talacek[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | James Talacek | files=1 }} Wikilink in caption in infobox

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Thriller (short story collection)[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Thriller (short story collection) }} Italic title in lead

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Billboard 200[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Billboard 200 | files=1 }} Italics at start of title in lead

{{Transclude lead excerpt}}

บิลบอร์ด 200 (อังกฤษ: Billboard 200) เป็นชาร์ตอันดับเพลง 200 อันดับของนิตยสารบิลบอร์ด ที่รายงานยอดขายสูงสุดของอัลบั้มเพลงและอีพีในสหรัฐ ตีพิมพ์เป็นรายสัปดาห์ รายงานความนิยมของศิลปินหรือกลุ่มศิลปิน

ชาร์ตยึดจากยอดขาย (ทั้งส่วนจากร้านค้าและดิจิทัลดาวน์โหลด) ของอัลบั้มในสหรัฐ ยอดขายประจำสัปดาห์จะนับจากวันจันทร์และสิ้นสุดวันอาทิตย์ ชาร์ตใหม่จะตีพิมพ์ในวันพฤหัสในฉบับของวันเสาร์ถัดไป

ตัวอย่าง:
จันทร์ 1 มกราคม — เริ่มนับยอดขายประจำสัปดาห์
อาทิตย์ 7 มกราคม — สิ้นสุดนับยอดขายประจำสัปดาห์
พฤหัส 11 มกราคม — ชาร์ตใหม่ตีพิมพ์ในฉบับวันเสาร์ที่ 20 มกราคม

โดยทั่วไปแล้วสินค้า อัลบั้มเพลงจะออกวางขายในตลาดอเมริกันวันอังคาร ส่วนการดาวน์โหลดแบบดิจิทัลก็จะรวมเข้าไปในตารางบิลบอร์ด 200 ด้วย ตราบใดที่ขายทั้งอัลบั้ม อัลบั้มที่ไม่ได้ขายในร้านค้าในสหรัฐ (ยังไม่รวมถึงการขายแบบนำเข้า) ก็จะไม่นับเข้าชาร์ต และจากนโยบายอันยาวนานที่จะไม่นับยอดขายจากร้านเฉพาะที่ไม่ใช่ร้านขายซีดีโดยตรง หรืออย่างร้านขายสินค้าจากโรงงาน เช่นวอล-มาร์ต หรือสตาร์บักส์ ก็ถูกยกเลิกไป และนำมานับในชาร์ตด้วยตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 มีผลต่อชาร์ตตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 เป็นต้นไป

อัลบั้มอันดับหนึ่งอัลบั้มล่าสุด ลงวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 2018 บนชาร์ตบิลบอร์ด 200 คืออัลบั้มครายพริตตี ของแคร์รี อันเดอร์วูด (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

บิลบอร์ด 200 (อังกฤษ: Billboard 200) เป็นชาร์ตอันดับเพลง 200 อันดับของนิตยสารบิลบอร์ด ที่รายงานยอดขายสูงสุดของอัลบั้มเพลงและอีพีในสหรัฐ ตีพิมพ์เป็นรายสัปดาห์ รายงานความนิยมของศิลปินหรือกลุ่มศิลปิน

ชาร์ตยึดจากยอดขาย (ทั้งส่วนจากร้านค้าและดิจิทัลดาวน์โหลด) ของอัลบั้มในสหรัฐ ยอดขายประจำสัปดาห์จะนับจากวันจันทร์และสิ้นสุดวันอาทิตย์ ชาร์ตใหม่จะตีพิมพ์ในวันพฤหัสในฉบับของวันเสาร์ถัดไป

ตัวอย่าง:
จันทร์ 1 มกราคม — เริ่มนับยอดขายประจำสัปดาห์
อาทิตย์ 7 มกราคม — สิ้นสุดนับยอดขายประจำสัปดาห์
พฤหัส 11 มกราคม — ชาร์ตใหม่ตีพิมพ์ในฉบับวันเสาร์ที่ 20 มกราคม

โดยทั่วไปแล้วสินค้า อัลบั้มเพลงจะออกวางขายในตลาดอเมริกันวันอังคาร ส่วนการดาวน์โหลดแบบดิจิทัลก็จะรวมเข้าไปในตารางบิลบอร์ด 200 ด้วย ตราบใดที่ขายทั้งอัลบั้ม อัลบั้มที่ไม่ได้ขายในร้านค้าในสหรัฐ (ยังไม่รวมถึงการขายแบบนำเข้า) ก็จะไม่นับเข้าชาร์ต และจากนโยบายอันยาวนานที่จะไม่นับยอดขายจากร้านเฉพาะที่ไม่ใช่ร้านขายซีดีโดยตรง หรืออย่างร้านขายสินค้าจากโรงงาน เช่นวอล-มาร์ต หรือสตาร์บักส์ ก็ถูกยกเลิกไป และนำมานับในชาร์ตด้วยตั้งแต่ 7 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 มีผลต่อชาร์ตตั้งแต่ 17 พฤศจิกายน ค.ศ. 2007 เป็นต้นไป

อัลบั้มอันดับหนึ่งอัลบั้มล่าสุด ลงวันที่ 29 กันยายน ค.ศ. 2018 บนชาร์ตบิลบอร์ด 200 คืออัลบั้มครายพริตตี ของแคร์รี อันเดอร์วูด

SS Vienna (1873)[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | SS Vienna (1873) | files=1 }} Italics at end of title in lead; flag and image in infobox

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Mare aux Vacoas[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Mare aux Vacoas }} Stub template and category in what appears to be the lead

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Musk turtle[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Musk turtle }} Disambiguation page (not recommended for transclusion)

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Test article[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | {{Transclude lead excerpt/testcases/article}} | files=1,2,3 }} images in unexpected places

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Too many articles[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Cricket bat | List of Ashes series |... | paragraphs=1,2 | files=1 | more= }} "random" article, should always be Cricket bat

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Test Case with Gifu[แก้]

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Cat[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Cat | paragraphs=1 | files=1 }} Uses an infobox without "infobox" in the template name

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Snake[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Snake | paragraphs=1 | files=1,2 }} Has an <imagemap>...</imagemap> image in the infobox

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Germany[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Germany | paragraphs=1 | files=1-3 }} Free image File:Flag of Germany.svg with a local description page

{{Transclude lead excerpt}}
เยอรมนี (อังกฤษ: Germany; เยอรมัน: Deutschland, ออกเสียง: [ˈdɔʏtʃlant] ( ฟังเสียง)) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นสหพันธรัฐในรูปแบบสาธารณรัฐแบบรัฐสภาในภูมิภาคยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบทั้งหมด 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 85 ล้านคน ซึ่งถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป และมากที่สุดเป็นอันดับสองในทวีปยุโรปรองจากรัสเซีย มีเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดคือกรุงเบอร์ลิน และยังเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศ มีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ต และภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ รัวร์ เยอรมนีมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์ (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
เยอรมนี (อังกฤษ: Germany; เยอรมัน: Deutschland, ออกเสียง: [ˈdɔʏtʃlant] ( ฟังเสียง)) หรือชื่ออย่างเป็นทางการคือ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เป็นสหพันธรัฐในรูปแบบสาธารณรัฐแบบรัฐสภาในภูมิภาคยุโรปกลาง มีรัฐองค์ประกอบทั้งหมด 16 รัฐ มีพื้นที่ 357,021 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรประมาณ 85 ล้านคน ซึ่งถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในสหภาพยุโรป และมากที่สุดเป็นอันดับสองในทวีปยุโรปรองจากรัสเซีย มีเมืองหลวงและมหานครที่ใหญ่ที่สุดคือกรุงเบอร์ลิน และยังเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศ มีศูนย์กลางทางเศรษฐกิจอยู่ที่แฟรงก์เฟิร์ต และภูมิภาคที่มีขนาดใหญ่ที่สุดคือ รัวร์ เยอรมนีมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยเชิงเสรีภาพและรัฐสวัสดิการ มีพรมแดนทางทิศเหนือติดทะเลเหนือ เดนมาร์ก และทะเลบอลติก ทิศตะวันออกติดโปแลนด์และเช็กเกีย ทิศใต้ติดออสเตรีย และสวิตเซอร์แลนด์ ทิศตะวันตกติดฝรั่งเศส ลักเซมเบิร์ก เบลเยียม และเนเธอร์แลนด์

Geneva[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Geneva | paragraphs=1 | files=1 }} Image not in a recognised parameter

{{Transclude lead excerpt}}
จากบนซ้าย: ปาแลเดนาซียง, กลางซ้าย: ห้องทดลอง ATLAS ที่เซิร์น, ขวา: แฌโด, ล่าง: ทัศนียภาพจากทะเลสาบเจนีวา
เจนีวา (อังกฤษ: Geneva) หรือออกเสียงในภาษาท้องถิ่นว่า เฌอแนฟว์ (ฝรั่งเศส: Genève) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (รองจากซือริช) ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในภาครอม็องดีอันเป็นภูมิภาคที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลักในสวิตเซอร์แลนด์ นครเจนีวาตั้งอยู่บริเวณต้นแม่น้ำโรนซึ่งไหลออกจากทะเลสาบเจนีวา เจนีวามีสถานะเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐแห่งรัฐเจนีวา (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
จากบนซ้าย: ปาแลเดนาซียง, กลางซ้าย: ห้องทดลอง ATLAS ที่เซิร์น, ขวา: แฌโด, ล่าง: ทัศนียภาพจากทะเลสาบเจนีวา
เจนีวา (อังกฤษ: Geneva) หรือออกเสียงในภาษาท้องถิ่นว่า เฌอแนฟว์ (ฝรั่งเศส: Genève) เป็นเมืองใหญ่อันดับสองของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ (รองจากซือริช) ถือเป็นเมืองที่มีประชากรมากที่สุดในภาครอม็องดีอันเป็นภูมิภาคที่ใช้ภาษาฝรั่งเศสเป็นหลักในสวิตเซอร์แลนด์ นครเจนีวาตั้งอยู่บริเวณต้นแม่น้ำโรนซึ่งไหลออกจากทะเลสาบเจนีวา เจนีวามีสถานะเป็นเมืองหลวงของสาธารณรัฐแห่งรัฐเจนีวา

Goa[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Goa | paragraphs=1 | files=1-7 }} First image is non-free, but there are other free images

{{Transclude lead excerpt}}
ที่ตั้งในประเทศอินเดีย
กัว (อังกฤษ: Goa, /ˈɡə/ ( ฟังเสียง); กงกัณ: गोंय; มราฐี: गोवा) เป็นรัฐบนชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย ส่วนหนึ่งของภูมิภาคโกนกาน มีที่ราบสูงเดกกันกั้นออกจากเทือกเขาฆาฏตะวันตก รัฐกัวมีพื้นที่น้อยที่สุดในบรรดารัฐ และมีประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับสี่ รัฐกัวมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อประชากรสูงที่สุดในบรรดารัฐของอินเดีย สูงกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ 2.5 เท่า (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
ตามเข็มจากบน: ชายหาดโคลวา, โบสถ์และคอนเวนต์เซนต์ฟรังซิสแห่งอัสซีซี, ลาซิลิกาแห่งพระเยซูโบม, โบสถ์พระนางมารีย์ปฏิสนธินิรมล และอาคารเก่า Gallery de Fontainhas
กัว (อังกฤษ: Goa, /ˈɡə/ ( ฟังเสียง); กงกัณ: गोंय; มราฐี: गोवा) เป็นรัฐบนชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศอินเดีย ส่วนหนึ่งของภูมิภาคโกนกาน มีที่ราบสูงเดกกันกั้นออกจากเทือกเขาฆาฏตะวันตก รัฐกัวมีพื้นที่น้อยที่สุดในบรรดารัฐ และมีประชากรน้อยที่สุดเป็นอันดับสี่ รัฐกัวมีผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศต่อประชากรสูงที่สุดในบรรดารัฐของอินเดีย สูงกว่าค่าเฉลี่ยประเทศ 2.5 เท่า

Gilbert and Sullivan[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Gilbert and Sullivan | paragraphs=1 | files=1,2 }} Two images in a {{multiple image}} template

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Dubh Artach[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Dubh Artach | paragraphs=1 | files=1,2 }} Image in an unknown parameter, but with unrelated caption in a known parameter

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

John Gregorson Campbell[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | John Gregorson Campbell }} TOC template at the end of line

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Napoleonic Wars[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Napoleonic Wars | paragraphs= | files=1 }} previously had a "pattern is longer than 10000 bytes" error

{{Transclude lead excerpt}}

สงครามนโปเลียน (ฝรั่งเศส: Guerres napoléoniennes; ค.ศ. 1803 – 1815) เป็นหนึ่งในความขัดแย้งที่สำคัญในระดับโลกที่เกิดขึ้นระหว่างจักรวรรดิฝรั่งเศสและพันธมิตร ซึ่งนำโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ต่อกรกับรัฐต่าง ๆ ในยุโรปที่ดูผันผวนซึ่งได้รวมตัวกันเป็นพันธมิตรที่หลากหลาย ซึ่งได้รับการสนับสนุนทางการเงินและนำโดยสหราชอาณาจักร และทำให้เกิดช่วงเวลาที่ฝรั่งเศสปกครองเหนือยุโรปภาคพื้นทวีปเป็นส่วนใหญ่ สงครามครั้งนี้เกิดจากข้อพิพาทที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับการปฏิวัติฝรั่งเศสและผลลัพธ์ของความขัดแย้งครั้งนี้ สงครามมักแบ่งออกเป็นความขัดแย้งห้าครั้ง แต่ละครั้งจะเรียกตามชื่อสหสัมพันธมิตรที่ต่อสู้กับนโปเลียน ประกอบด้วย: สหสัมพันธมิตรครั้งที่สาม (ค.ศ. 1805) ครั้งที่สี่ (ค.ศ. 1806–07) ครั้งที่ห้า (ค.ศ. 1809) ครั้งที่หก (ค.ศ. 1813–14) และครั้งที่เจ็ด (ค.ศ. 1815) ซึ่งรวมไปถึงสงครามคาบสมุทร (ค.ศ. 1807–14) และการรุกรานรัสเซียโดยฝรั่งเศส (ค.ศ. 1812)

เมื่อนโปเลียนได้ก้าวขึ้นดำรงตำแหน่งกงสุลคนแรกของฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1799 ได้รับช่วงต่อจากสาธารณรัฐอันวุ่นวาย ต่อมาเขาได้สร้างรัฐที่มีการเงินที่มั่นคง ระบบราชการที่แข็งแกร่ง และกองทัพที่ได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ใน ค.ศ. 1805 ออสเตรียและรัสเซียได้จัดตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่สามและทำสงครามกับฝรั่งเศส ในการตอบโต้ นโปเลียนได้เอาชนะกองทัพรัสเซีย-ออสเตรียที่เป็นพันธมิตรกันที่เอาสเทอร์ลิทซ์ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1805 ซึ่งถือว่าเป็นชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของพระองค์ ในทางด้านทะเล บริติชได้เอาชนะกองทัพเรือร่วมกันของฝรั่งเศส-สเปนอย่างหนักหน่วงในยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1805 ชัยชนะครั้งนี้ทำให้อังกฤษสามารถควบคุมทางทะเลและป้องกันเกาะอังกฤษจากการถูกบุกครอง ด้วยความกังวลเกี่ยวกับการเพิ่มอำนาจของฝรั่งเศส ปรัสเซียเป็นผู้นำในการก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่สี่กับรัสเซีย ซัคเซิน และสวีเดน และการเริ่มต้นของสงครามในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1806 นโปเลียนได้เอาชนะปรัสเซียอย่างรวดเร็วที่เจนาและรัสเซียที่ฟรายด์ลันด์ ได้นำพาความสงบสุขที่ไม่สบายใจมาสู่ทวีป แม้ว่าสันติภาพจะล้มเหลว เมื่อสงครามได้ปะทุขึ้นมาใน ค.ศ. 1809 เมื่อสหสัมพันธมิตรครั้งที่ห้าซึ่งเตรียมการที่แย่ นำโดยออสเตรีย ซึ่งพ่ายแพ้อย่างรวดเร็วที่วากรัม

ด้วยความหวังที่จะแบ่งแยกและทำให้บริติชอ่อนแลลงทางเศรษฐกิจผ่านทางระบบภาคพื้นทวีป นโปเลียนได้เปิดฉากการบุกครองโปรตุเกสซึ่งเป็นพันธมิตรเพียงหนึ่งเดียวของอังกฤษที่เหลืออยู่ในทวีปยุโรป ภายหลังจากการยึดครองลิสบอนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1807 และด้วยกองทหารฝรั่งเศสจำนวนมากที่อยู่ในสเปน นโปเลียนจึงฉวยโอกาสในการจัดการกับสเปน อดีตพันธมิตรของพระองค์ ซึ่งได้ทำการขับไล่ราชวงศ์สเปนที่ปกครองอยู่ออกไปและประกาศให้พระเชษฐาของพระองค์ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปนแทนใน ค.ศ. 1808 เป็นพระเจ้าโฮเซที่ 1 สเปนและโปรตุเกสได้ออกมาลุกฮือโดยได้รับการสนับสนุนจากบริติชและขับไล่ฝรั่งเศสออกจากคราบสมุทรไอบีเรียในปี ค.ศ. 1814 ภายหลังจากหกปีของการสู้รบ

ในขณะเดียวกัน รัสเซียไม่เต็มใจที่จะแบกรับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการค้าที่ลดลงและละเมิดระบบทวีปอยู่เป็นประจำ ทำให้นโปเลียนเปิดฉากการบุกครองรัสเซียครั้งใหญ่ในปี ค.ศ. 1812 ผลลัพธ์ของการทัพครั้งนี้ได้จบลงด้วยหายนะและความพินาศย่อยยับของกองทัพใหญ่ของนโปเลียน

ด้วยแรงบันดาลใจจากความพ่ายแพ้ ออสเตรีย ปรัสเซีย และรัสเซียได้ก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่หกและเริ่มการทัพครั้งใหม่เพื่อต่อกรกับฝรั่งเศส โดยเอาชนะนโปเลียนที่ไลพ์ซิชอย่างเด็ดขาดในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1813 ภายหลังจากการสู้รบที่ยังหาบทสรุปไม่ได้หลายครั้ง จากนั้นฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้บุกครองฝรั่งเศสจากทางด้านตะวันออก ในขณะที่สงครามคาบสมุทรได้แผ่ขยายออกไปทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรได้เข้ายึดกรุงปารีสไว้ได้ เมื่อปลายเดือนมีนาคม ค.ศ. 1814 และบีบบังคับให้นโปเลียนสละราชบังลังก์ในเดือนเมษายน พระองค์ถูกเนรเทศไปยังเกาะเอลบาและราชวงศ์บูร์บงได้รับการฟื้นฟูกลับมาเข้าสู่อำนาจอีกครั้ง แต่นโปเลียนได้หลบหนีออกมาในในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1815 และกลับเข้ามาควบคุมฝรั่งเศสอีกครั้งจากราวหนึ่งร้อยวัน ภายหลังจากการก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด ฝ่ายสัมพันธมิตรได้เอาชนะพระองค์อย่างถาวรที่วอเตอร์ลูในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1815 และเนรเทศพระองค์ไปยังเกาะเซนต์เฮเลนา ซึ่งพระองค์ได้สวรรคตในอีกหกปีต่อมา

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาได้ทำให้ชายแดนของทวีปยุโรปได้ถูกเขียนขึ้นใหม่และนำมาซึ่งช่วงเวลาแห่งความสงบสุข สงครามได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อประวัติศาสตร์โลก รวมทั้งการแพร่กระจายของลัทธิชาตินิยมและเสรีนิยม การเถลิงอำนาจของบริติชในฐานะที่เป็นมหาอำนาจที่มีทั้งอำนาจควบคุมทางทะเลและเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของโลก การปรากฏตัวของขบวนการเพื่อเรียกร้องเอกราชในละตินอเมริกา และการล่มสลายของจักรวรรดิสเปนและจักรวรรดิโปรตุเกสในเวลาต่อมา การปรับโครงสร้างพื้นฐานของดินแดนเยอรมันและอิตาลีทำให้กลายเป็นรัฐขนาดใหญ่มากขึ้น และการได้รับแนะนำวิธีการใหม่ ๆ ในการทำสงคราม แต่ยังรวมไปถึงกฎหมายทางแพ่งอีกด้วย (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

สงครามนโปเลียน (ฝรั่งเศส: Guerres napoléoniennes; ค.ศ. 1803 – 1815) เป็นหนึ่งในความขัดแย้งที่สำคัญในระดับโลกที่เกิดขึ้นระหว่างจักรวรรดิฝรั่งเศสและพันธมิตร ซึ่งนำโดยจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ต่อกรกับรัฐต่าง ๆ ในยุโรปที่ดูผันผวนซึ่งได้รวมตัวกันเป็นพันธมิตรที่หลากหลาย ซึ่งได้รับการสนับสนุนทางการเงินและนำโดยสหราชอาณาจักร และทำให้เกิดช่วงเวลาที่ฝรั่งเศสปกครองเหนือยุโรปภาคพื้นทวีปเป็นส่วนใหญ่ สงครามครั้งนี้เกิดจากข้อพิพาทที่ยังไม่ได้รับการแก้ไขที่เกี่ยวข้องกับการปฏิวัติฝรั่งเศสและผลลัพธ์ของความขัดแย้งครั้งนี้ สงครามมักแบ่งออกเป็นความขัดแย้งห้าครั้ง แต่ละครั้งจะเรียกตามชื่อสหสัมพันธมิตรที่ต่อสู้กับนโปเลียน ประกอบด้วย: สหสัมพันธมิตรครั้งที่สาม (ค.ศ. 1805) ครั้งที่สี่ (ค.ศ. 1806–07) ครั้งที่ห้า (ค.ศ. 1809) ครั้งที่หก (ค.ศ. 1813–14) และครั้งที่เจ็ด (ค.ศ. 1815) ซึ่งรวมไปถึงสงครามคาบสมุทร (ค.ศ. 1807–14) และการรุกรานรัสเซียโดยฝรั่งเศส (ค.ศ. 1812)

เมื่อนโปเลียนได้ก้าวขึ้นดำรงตำแหน่งกงสุลคนแรกของฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1799 ได้รับช่วงต่อจากสาธารณรัฐอันวุ่นวาย ต่อมาเขาได้สร้างรัฐที่มีการเงินที่มั่นคง ระบบราชการที่แข็งแกร่ง และกองทัพที่ได้รับการฝึกฝนมาเป็นอย่างดี ใน ค.ศ. 1805 ออสเตรียและรัสเซียได้จัดตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่สามและทำสงครามกับฝรั่งเศส ในการตอบโต้ นโปเลียนได้เอาชนะกองทัพรัสเซีย-ออสเตรียที่เป็นพันธมิตรกันที่เอาสเทอร์ลิทซ์ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1805 ซึ่งถือว่าเป็นชัยชนะที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของพระองค์ ในทางด้านทะเล บริติชได้เอาชนะกองทัพเรือร่วมกันของฝรั่งเศส-สเปนอย่างหนักหน่วงในยุทธนาวีที่ตราฟัลการ์ เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม ค.ศ. 1805 ชัยชนะครั้งนี้ทำให้อังกฤษสามารถควบคุมทางทะเลและป้องกันเกาะอังกฤษจากการถูกบุกครอง ด้วยความกังวลเกี่ยวกับการเพิ่มอำนาจของฝรั่งเศส ปรัสเซียเป็นผู้นำในการก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่สี่กับรัสเซีย ซัคเซิน และสวีเดน และการเริ่มต้นของสงครามในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1806 นโปเลียนได้เอาชนะปรัสเซียอย่างรวดเร็วที่เจนาและรัสเซียที่ฟรายด์ลันด์ ได้นำพาความสงบสุขที่ไม่สบายใจมาสู่ทวีป แม้ว่าสันติภาพจะล้มเหลว เมื่อสงครามได้ปะทุขึ้นมาใน ค.ศ. 1809 เมื่อสหสัมพันธมิตรครั้งที่ห้าซึ่งเตรียมการที่แย่ นำโดยออสเตรีย ซึ่งพ่ายแพ้อย่างรวดเร็วที่วากรัม

ด้วยความหวังที่จะแบ่งแยกและทำให้บริติชอ่อนแลลงทางเศรษฐกิจผ่านทางระบบภาคพื้นทวีป นโปเลียนได้เปิดฉากการบุกครองโปรตุเกสซึ่งเป็นพันธมิตรเพียงหนึ่งเดียวของอังกฤษที่เหลืออยู่ในทวีปยุโรป ภายหลังจากการยึดครองลิสบอนในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1807 และด้วยกองทหารฝรั่งเศสจำนวนมากที่อยู่ในสเปน นโปเลียนจึงฉวยโอกาสในการจัดการกับสเปน อดีตพันธมิตรของพระองค์ ซึ่งได้ทำการขับไล่ราชวงศ์สเปนที่ปกครองอยู่ออกไปและประกาศให้พระเชษฐาของพระองค์ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งสเปนแทนใน ค.ศ. 1808 เป็นพระเจ้าโฮเซที่ 1 สเปนและโปรตุเกสได้ออกมาลุกฮือโดยได้รับการสนับสนุนจากบริติชและขับไล่ฝรั่งเศสออกจากคราบสมุทรไอบีเรียในปี ค.ศ. 1814 ภายหลังจากหกปีของการสู้รบ

ในขณะเดียวกัน รัสเซียไม่เต็มใจที่จะแบกรับผลกระทบทางเศรษฐกิจจากการค้าที่ลดลงและละเมิดระบบทวีปอยู่เป็นประจำ ทำให้นโปเลียนเปิดฉากการบุกครองรัสเซียครั้งใหญ่ในปี ค.ศ. 1812 ผลลัพธ์ของการทัพครั้งนี้ได้จบลงด้วยหายนะและความพินาศย่อยยับของกองทัพใหญ่ของนโปเลียน

ด้วยแรงบันดาลใจจากความพ่ายแพ้ ออสเตรีย ปรัสเซีย และรัสเซียได้ก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่หกและเริ่มการทัพครั้งใหม่เพื่อต่อกรกับฝรั่งเศส โดยเอาชนะนโปเลียนที่ไลพ์ซิชอย่างเด็ดขาดในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1813 ภายหลังจากการสู้รบที่ยังหาบทสรุปไม่ได้หลายครั้ง จากนั้นฝ่ายสัมพันธมิตรก็ได้บุกครองฝรั่งเศสจากทางด้านตะวันออก ในขณะที่สงครามคาบสมุทรได้แผ่ขยายออกไปทางตะวันตกเฉียงใต้ของฝรั่งเศส กองทัพฝ่ายสัมพันธมิตรได้เข้ายึดกรุงปารีสไว้ได้ เมื่อปลายเดือนมีนาคม ค.ศ. 1814 และบีบบังคับให้นโปเลียนสละราชบังลังก์ในเดือนเมษายน พระองค์ถูกเนรเทศไปยังเกาะเอลบาและราชวงศ์บูร์บงได้รับการฟื้นฟูกลับมาเข้าสู่อำนาจอีกครั้ง แต่นโปเลียนได้หลบหนีออกมาในในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1815 และกลับเข้ามาควบคุมฝรั่งเศสอีกครั้งจากราวหนึ่งร้อยวัน ภายหลังจากการก่อตั้งสหสัมพันธมิตรครั้งที่เจ็ด ฝ่ายสัมพันธมิตรได้เอาชนะพระองค์อย่างถาวรที่วอเตอร์ลูในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1815 และเนรเทศพระองค์ไปยังเกาะเซนต์เฮเลนา ซึ่งพระองค์ได้สวรรคตในอีกหกปีต่อมา

การประชุมใหญ่แห่งเวียนนาได้ทำให้ชายแดนของทวีปยุโรปได้ถูกเขียนขึ้นใหม่และนำมาซึ่งช่วงเวลาแห่งความสงบสุข สงครามได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อประวัติศาสตร์โลก รวมทั้งการแพร่กระจายของลัทธิชาตินิยมและเสรีนิยม การเถลิงอำนาจของบริติชในฐานะที่เป็นมหาอำนาจที่มีทั้งอำนาจควบคุมทางทะเลและเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุดของโลก การปรากฏตัวของขบวนการเพื่อเรียกร้องเอกราชในละตินอเมริกา และการล่มสลายของจักรวรรดิสเปนและจักรวรรดิโปรตุเกสในเวลาต่อมา การปรับโครงสร้างพื้นฐานของดินแดนเยอรมันและอิตาลีทำให้กลายเป็นรัฐขนาดใหญ่มากขึ้น และการได้รับแนะนำวิธีการใหม่ ๆ ในการทำสงคราม แต่ยังรวมไปถึงกฎหมายทางแพ่งอีกด้วย

Rachel Chiesley[แก้]

Bold text should still link if file is included.

{{Transclude lead excerpt| Rachel Chiesley, Lady Grange |paragraphs=1}}
{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
{{Transclude lead excerpt| Rachel Chiesley, Lady Grange |files=1|paragraphs=1}}
{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Royal Navy[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Royal Navy | paragraphs=1 | files=1-10 }} Expecting File:Naval Ensign of the United Kingdom.svg as the first free image

{{Transclude lead excerpt}}
กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (อังกฤษ: Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพของทหารเรือของสหราชอาณาจักรซึ่งเป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
ไฟล์:ไฟล์:English White Ensign 1620.svg
ไฟล์:ไฟล์:Naval Ensign of Great Britain (1707-1800).svg
ไฟล์:ไฟล์:Naval Ensign of the United Kingdom.svg
ไฟล์:ไฟล์:Flag of the United Kingdom.svg
กองทัพเรือสหราชอาณาจักร หรือ ราชนาวี (อังกฤษ: Royal Navy อักษรย่อ: RN) เป็นเหล่าทัพของทหารเรือของสหราชอาณาจักรซึ่งเป็นเหล่าทัพหลักของกองทัพสหราชอาณาจักร ซึ่งมีต้นกำเนิดมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เหล่าทัพนี้เป็นเหล่าทัพที่เก่าแก่ที่สุด โดยตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 17 ถึงปลายศตวรรษที่ 19 ราชนาวีสหราชอาณาจักรจัดเป็นทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก

abba[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | abba | paragraphs=1 }} Should follow redirect to ABBA

{{Transclude lead excerpt}}
แอ็บบา (ABBA; /ˈæbə/ ab, ภาษาสวีเดน: [ˈâbːa]) เป็นวงดนตรีป็อปสัญชาติสวีเดน ตั้งวงขึ้นในสต็อกโฮล์มเมื่อปี 1972 โดยอังเนียตา เฟ็ลต์สกูก, บยอร์น อุลเวียส, เบนนี อันเดอร์สซัน และ อันนิ-ฟริด ลิงสคัด ชื่อวงมาจากอักษรย่อ จากอักษรแรกของชื่อสมาชิกแต่ละคน แอ็บบาเป็นวงดนตรีหนึ่งที่ประสบความสำเร็จสูงสุดในเชิงพาณิชย์วงหนึ่งในประวัติศาสตร์ดนตรีป็อป มีผลงานเพลงอยู่บนอันดับต้น ๆ ของชาร์ตมาตลอดตั้งแต่ปี 1974 ถึง 1983 ในปี 1974 แอ็บบาเป็นวงดนตรีชาวสวีเดนวงแรกที่ชนะยูโรวิชั่น ซึ่งชนะด้วยผลงานเพลง "วอเตอร์ลู" เพลงซึ่งในปี 2005 ได้รับเลือกให้เป็นเพลงที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์ของการแข่งขันยูโรวิชั่นเนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีของการประกวด (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}
แอ็บบา (ABBA; /ˈæbə/ ab, ภาษาสวีเดน: [ˈâbːa]) เป็นวงดนตรีป็อปสัญชาติสวีเดน ตั้งวงขึ้นในสต็อกโฮล์มเมื่อปี 1972 โดยอังเนียตา เฟ็ลต์สกูก, บยอร์น อุลเวียส, เบนนี อันเดอร์สซัน และ อันนิ-ฟริด ลิงสคัด ชื่อวงมาจากอักษรย่อ จากอักษรแรกของชื่อสมาชิกแต่ละคน แอ็บบาเป็นวงดนตรีหนึ่งที่ประสบความสำเร็จสูงสุดในเชิงพาณิชย์วงหนึ่งในประวัติศาสตร์ดนตรีป็อป มีผลงานเพลงอยู่บนอันดับต้น ๆ ของชาร์ตมาตลอดตั้งแต่ปี 1974 ถึง 1983 ในปี 1974 แอ็บบาเป็นวงดนตรีชาวสวีเดนวงแรกที่ชนะยูโรวิชั่น ซึ่งชนะด้วยผลงานเพลง "วอเตอร์ลู" เพลงซึ่งในปี 2005 ได้รับเลือกให้เป็นเพลงที่ดีที่สุดในประวัติศาสตร์ของการแข่งขันยูโรวิชั่นเนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปีของการประกวด

Golden coin turtle[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Golden coin turtle | files=1 }} – {{Speciesbox}} should be removed

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Municipalities of Lithuania[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Municipalities of Lithuania | files=1 }} – infobox should be removed

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Matcha[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Matcha | paragraphs=1 }}{{efn-lr}} footnote should be removed

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Vogelsberg[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Vogelsberg | files=1 }} – [[:Media:...]] link should not be broken, ref should be removed

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

1972–73 Buffalo Braves season[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | 1972–73 Buffalo Braves season| files=1 }} – non-existent image

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

Italian Renaissance[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Italian Renaissance | files=1 | paragraphs=1 }} – caption was cut off, leaving loose opening braces

{{Transclude lead excerpt}}
สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (ภาษาอังกฤษ: Italian Renaissance) เป็นจุดแรกของการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาซึ่งเป็นช่วงเวลาของความเจริญทางวัฒนธรรมที่สูงสุดในยุโรปที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ไปจนสิ้นสุดลงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นช่วงเวลาที่เชื่อมระหว่างยุคกลางของยุโรปกับยุโรปสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Europe) (บทความเต็ม...)
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}


สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาอิตาลี (ภาษาอังกฤษ: Italian Renaissance) เป็นจุดแรกของการเริ่มสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาซึ่งเป็นช่วงเวลาของความเจริญทางวัฒนธรรมที่สูงสุดในยุโรปที่เริ่มตั้งแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 13 ไปจนสิ้นสุดลงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เป็นช่วงเวลาที่เชื่อมระหว่างยุคกลางของยุโรปกับยุโรปสมัยใหม่ตอนต้น (Early Modern Europe)

Morpeth, Northumberland[แก้]

{{ Transclude lead excerpt | Morpeth, Northumberland | files=1 | paragraphs=1 }} – image map within <center>...</center> tags, inside an infobox

{{Transclude lead excerpt}}
{{Transclude lead excerpt/sandbox}}

References[แก้]

This section contains references and notes. It should be empty.