ข้ามไปเนื้อหา

นักวิทยาศาสตร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นักวิทยาศาสตร์
(Scientist)
แมรี ซอเมอร์วิลล์ เป็นคนแรกที่ถูกเรียกว่า "นักวิทยาศาสตร์" (scientist)
อาชีพ
ชื่อScientist
ประเภทอาชีพ
Profession
กลุ่มงาน
Laboratory, field research
รายละเอียด
ความสามารถScientific research
การศึกษา
Science
สถานที่
ปฏิบัติงาน
Academia, industry, government, nonprofit
อาชีพที่เกี่ยวข้อง
Engineers

นักวิทยาศาสตร์ คือบุคคลผู้ดำเนินงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพือความก้าวหน้าทางความรู้ในสาขาวิชาที่สนใจ [1] [2]

ในสมัยคลาสสิกไม่มีคนยุคโบราณที่เป็นเหมือนนักวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ยุคนั้นคือนักปราชญ์ที่ทำงานในด้านการศึกษาปรัชญาของธรรมชาติที่เรียกว่าปรัชญาธรรมชาติซึ่งเป็นที่มาของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ[3] คำว่านักวิทยาศาสตร์ยังไม่มีจนกระทั่งศตวรรษที่ 19 ที่คำว่านักวิทยาศาสตร์ถูกนำมาใช้เป็นปกติหลังที่ถูกบัญญัติคำศัพท์โดยนักศาสนศาสตร์ นักปรัชญา และนักประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ที่ชื่อ วิลเลียม วีเวลล์ ในปี พ.ศ. 2567[4][5]

ในยุคปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ได้รับปริญญา[6]ในสาขาทางวิทยาศาสตร์และทำงานที่มีสายอาชีพในภาคส่วนต่างๆ ทางเศรษฐกิจ เช่น สถาบันการศึกษา อุตสาหกรรม รัฐบาล และองค์กรไม่แสวงหากำไร[7][8][9]

นักวิทยาศาสตร์สาขาต่าง ๆ

[แก้]

ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ที่ถือกันว่าเป็น "นักวิทยาศาสตร์" มีดังนี้

ดูเพิ่ม

[แก้]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Eusocial climbers เก็บถาวร 2019-04-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน" (PDF). E.O. Wilson Foundation. Retrieved 3 September 2018. But he’s not a scientist, he’s never done scientific research. My definition of a scientist is that you can complete the following sentence: ‘he or she has shown that...’,” Wilson says.
  2. "Our definition of a scientist". Science Council. Retrieved 7 September 2018. A scientist is someone who systematically gathers and uses research and evidence, making a hypothesis and testing it, to gain and share understanding and knowledge.
  3. Lehoux, Daryn (2011). "2. Natural Knowledge in the Classical World". In Shank, Michael; Numbers, Ronald; Harrison, Peter (eds.). Wrestling with Nature : From Omens to Science. Chicago: University of Chicago , U.S.A. Press. p. 39. ISBN 978-0226317830.
  4. Cahan, David, ed. (2003). From Natural Philosophy to the Sciences: Writing the History of Nineteenth-Century Science. Chicago, Illinois: University of Chicago Press. ISBN 0-226-08928-2.
  5. Lightman, Bernard (2011). "Science and the Public". In Shank, Michael; Numbers, Ronald; Harrison, Peter (eds.). Wrestling with Nature : From Omens to Science. Chicago: University of Chicago Press. p. 367. ISBN 978-0226317830.
  6. Cyranoski, David; Gilbert, Natasha; Ledford, Heidi; Nayar, Anjali; Yahia, Mohammed (2011). "Education: The PhD factory". Nature. 472(7343): 276–279. Bibcode:2011Natur.472..276C. doi:10.1038/472276a. PMID 21512548.
  7. Kwok, Roberta (2017). "Flexible working: Science in the gig economy". Nature. 550: 419–421. doi:10.1038/nj7677-549a.
  8. Woolston, Chris (2007). Editorial (ed.). "Many junior scientists need to take a hard look at their job prospects". Nature. 550: 549–552. doi:10.1038/nj7677-549a.
  9. Lee, Adrian; Dennis, Carina; Campbell, Phillip (2007). "Graduate survey: A love–hurt relationship". Nature. 550 (7677): 549–552. doi:10.1038/nj7677-549a.