กองทัพใหญ่

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
La Grande Armée
ลา กรองด์ ดาร์เม
(กองทัพใหญ่)
Emblem of Napoleon Bonaparte.svg
ตรานกอินทรี สัญลักษณ์แห่งกองทัพใหญ่ของจักรวรรดิฝรั่งเศสที่ 1
ประเทศฝรั่งเศส
กำลังรบจากช่วงที่มีกำลังพลมากที่สุดใน ค.ศ. 1812 ประมาณการว่ามีจำนวน 554,500 คน:
• ชาวฝรั่งเศสและชาวดัชต์ 300,000 คน
• ชาวโปล 95,000 คน
• ชาวอิตาลี 30,000 คน[1]
• ชาวบาวาเรีย 24,000 คน
• ชาวแซกซอน 20,000 คน
• ชาวเวสต์ฟาเลีย 17,000 คน
• ชาวปรัสเซีย 20,000 คน
• ชาวออสเตรีย 35,000 คน
• ชาวสวิส 15,000 คน
• ชาวโครแอต 3,500 คน
ผู้อุปถัมภ์จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
คำขวัญValeur et Discipline
(กล้าหาญและวินัย)
สีหน่วยLe Tricolore (ธงไตรรงค์)
เพลงหน่วยLa Victoire Est a Nous (ชัยชนะเป็นของเรา)
La Marseillaise (ลามาร์แซแยส)
ปฏิบัติการสำคัญ
ผู้บังคับบัญชา
ผบ. สำคัญจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส
ฌออากีม มูว์รา
หลุยส์ อาแล็กซองดร์ แบร์ทิเยร์
ฌอง เดอ ดิเยอ ซูลต์
ฌอง-บับติสต์ แบร์นาดอตต์
ฌอง ลานน์
นิโกลาส์ ดาวูต์
มีแชล แน
ฌอง-บับติสต์ เบสซิแยร์
อังเดร มาสเซนา
เครื่องหมายสังกัด
สัญลักษณ์นกอินทรีจักรวรรดิฝรั่งเศส

กองทัพใหญ่ หรือ ลากร็องด์อาเม (ฝรั่งเศส: La Grande Armée; ออกเสียง: [gʀɑ̃d aʀme], ในภาษาอังกฤษมักแปลว่า "the Great Army" หรือ "the Grand Army") เป็นชื่อของกองทัพฝรั่งเศสในยุคสงครามนโปเลียน กองทัพนี้เริ่มเข้ามามีบทบาทในประวัติศาสตร์ในปี ค.ศ. 1805 เมื่อจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 แห่งฝรั่งเศส ได้ตั้งชื่อของกองทัพที่พระองค์ทรงรวบรวมจากชายฝั่งของประเทศฝรั่งเศสแถบช่องแคบอังกฤษเพื่อเตรียมการรุกรานเกาะบริเตนใหญ่ แต่แผนการดังการกลับล้มเหลวเนื่องจากการพ่ายแพ่ในยุทธนาวีทราฟัลการ์ ภายหลังพระองค์ได้ฟื้นฟูกองทัพใหญ่ขึ้นมาอีกครั้งทางด้านตะวันออกของประเทศ เพื่อเปิดฉากการรบต่อจักรวรรดิออสเตรียและจักรวรรดิรัสเซียในปีเดียวกัน

โครงสร้าง[แก้]

โครงสร้างสายการบังคับบัญชาของกองทัพใหญ่ ระหว่างสงครามสัมพันธมิตรครั้งที่สาม

กำลังพล[แก้]

ชั้นยศทหาร[แก้]

ชั้นยศทหารกองทัพใหญ่ ชั้นยศทหารของสหรัฐอเมริกา
ยศนายทหารชั้นสัญญาบัตร
Général de division,
Lieutenant général (ancien régime rank reintroduced in 1814)
พลตรี
Général de brigade,
Maréchal de camp (ancien régime rank reintroduced in 1814)
พลจัตวา
Adjudant-commandant พันเอกเสนาธิการ
Colonel พันเอก
Major พันโท
Chef de bataillon or Chef d'escadron[2] พันตรี
Capitaine adjutant-major ร้อยเอกเสนาธิการ
Capitaine ร้อยเอก
Lieutenant ร้อยโท
Sous-lieutenant ร้อยตรี
ยศนายทหารชั้นประทวน
Adjudant sous-officier จ่าสิบเอก
Adjudant-Chef จ่าสิบโท
Adjudant จ่าสิบตรี
Sergent-Major or Maréchal des logis Chef[2] สิบเอก
Sergent or Maréchal des Logis[2] สิบโท
Caporal-Fourrier or Brigadier-Fourrier[2] เสมียนกองร้อย/สิบตรีพลาธิการ
Caporal or Brigadier (Cavalry, Horse Artillery and Gendarmerie)[2] สิบตรี
Soldat or Cavalier(Cavalry) or Canonnier(Artillery) พลทหาร

อ้างอิง[แก้]

  1. INS Scholarship 1998: Henri Clarke, Minister of War, and the Malet Conspiracy
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 The second rank was used by mounted organizations: cavalry, horse artillery, gendarmerie and trains

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]