ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Political1973 (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 16: บรรทัด 16:
'''คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง''' ({{lang-en|Faculty of Political Science Ramkhamhaeng University}}) ก่อตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 2516]] โดยในระยะแรกได้เปิดสอนเป็นสาขารัฐศาสตร์ สังกัด[[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง|คณะนิติศาสตร์]]มาตั้งแต่ [[พ.ศ. 2515]]
'''คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง''' ({{lang-en|Faculty of Political Science Ramkhamhaeng University}}) ก่อตั้งเมื่อ [[พ.ศ. 2516]] โดยในระยะแรกได้เปิดสอนเป็นสาขารัฐศาสตร์ สังกัด[[คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง|คณะนิติศาสตร์]]มาตั้งแต่ [[พ.ศ. 2515]]


คณะรัฐศาสตร์ ในระยะแรกเป็นสาขาวิชารัฐศาสตร์ในคณะนิติศาสตร์ พ.ศ. 2515 และได้จัดตั้ง เป็นคณะรัฐศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2516 และได้ย้าย ที่ทำการแยกจากคณะนิติศาสตร์มาเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ติดกับสนามกีฬา หัวหมาก ซึ่งเป็นที่ทำการของคณะมนุษยศาสตร์เดิม ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2517 ขณะนี้อาคารดังกล่าวเป็นที่ทำการของกองแผนงาน ปัจจุบันคณะรัฐศาสตร์ ได้ย้ายมาอยู่อาคาร 5 ชั้น ซึ่งเป็นที่ ทำการถาวร เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ.2522 และได้จัดให้มีพิธีทำบุญขึ้นตึกใหม่เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2522
== ประวัติ ==

{{โครงส่วน}}
อาคารปัจจุบัน เป็นอาคาร 5 ชั้น รูปตัวยู ตัวอาคารแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนหนึ่งเป็นห้องพักอาจารย์ และสำนักงานคณะผู้บริหารอีกส่วนหนึ่งเป็นสำนักงานบัณฑิตศึกษา ห้องเรียนบัณฑิตศึกษา ห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ศูนย์เอกสารทางวิชาการและศูนย์วิจัยนโยบายและการพัฒนา ศูนย์ศึกษาเอเซียตะวันออกศูนย์ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศคณะรัฐศาสตร์ มีหน้าที่รับผิดชอบผลิตบัณฑิตตามหลักสูตรชั้นปริญญาตรีสาขารัฐศาสตร์ และรับผิดขอบให้การศึกษา แก่นักศึกษาคณะอื่น ซึ่งกำหนดให้วิชารัฐศาสตร์เป็นวิชาพื้นฐาน วิชาบังคับ วิชาโทและวิชาเลือกตามนโยบายการประสานงาน ด้านวิชาการระหว่างสาขาของมหาวิทยาลัยอีกด้วยและยังสนับสนุนและส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการรัฐศาสตร์ และ เผยแพร่ความรู้ทางรัฐศาสตร์แก่บุคคลทั่วไปอันเป็นบริการทางสังคมอย่างหนึ่ง

จำนวนอาจารย์และเจ้าหน้าที่ เมื่อแรกเริ่มโครงการ ในปี พ.ศ. 2515 มีอาจารย์อยู่ 14 คน เป็นผู้มีวุฒิปริญญาเอก 2 คน วุฒิปริญญาโท 8 คน และวุฒิปริญญาตรี 4 คน เจ้าหน้าที่ใช้ร่วมกับคณะนิติศาสตร์

บุคลากรคณะรัฐศาสตร์ มีดังนี้

บุคลากรสายวิชาการ จำนวน 60 คน
บุคลากรสายปฏิบัติการ จำนวน 62 คน
ลูกจ้างประจำ, ลูกจ้างงบรายได้, (พนักงานขับรถยนต์, พนักงานบริการเอกสารทั่วไป,
พนักงานสถานที่, ผู้ช่วยช่างทั่วไป) จำนวน 18 คน
รวม 140 คน
ลูกจ้างชั่วคราวรายปีมหาวิทยาลัยที่ปฏิบัติงานโครงการพิเศษ, ลูกจ้างศูนย์ฯ
และลูกจ้างโครงการพิเศษ จำนวน 42 คน
รวมทั้งสิ้น 182 คน
ข้อมูล ณ วันที่ 30 เม.ย. 2555

โดยการบริหารจัดการของคณบดีคณะรัฐศาสตร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังรายนามต่อไปนี้

1. นายบรรพต วีระสัย (จิรโชค วีระสย) (25 ม.ค. 2518 – 14 มิ.ย. 2520)
2. นายสุขุม นวลสกุล (27 มิ.ย. 2520 – 30 ก.ย. 2523)
3. นายศิโรตม์ ภาคสุวรรณ (20 พ.ย. 2523 – 1 มี.ค. 2526)
4. นายสุรพล ราชภัณฑารักษ์ (11 มี.ค. 2526 – 27 ก.พ. 2528)
5. นายอัษฎางค์ ปาณิกบุตร ( 6 พ.ค. 2528 – 7 มิ.ย. 2530)
6. นายวิทยา นภาศิริกุลกิจ ( 8 มิ.ย. 2530 – 16 พ.ค. 2531)
7. นายวิเชษฐ เทพเฉลิม ( 3 ส.ค. 2531 – 30 พ.ย. 2533)
8. นายสนธิ์ บางยี่ขัน ( 1 ธ.ค. 2533 – 30 ก.ย. 2536)
9. นายเสถียร หอมขจร (16 ธ.ค. 2536 – 15 ธ.ค. 2538)
10. นายนิยม รัฐอมฤต (23 ก.พ. 2539 – 22 ก.พ. 2541)
11. นายพรชัย เทพปัญญา ( 8 มิ.ย. 2541 – 1 ต.ค. 2543)
12. นายพรชัย เทพปัญญา (สมัยที่ 2 ) (17 ต.ค. 2543 – 16 ต.ค. 2547)
13. นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (16 ม.ค. 2548 – 15 ม.ค. 2552)
14 นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (สมัยที่ 2) (24 ส.ค. 2552 - 5 ต.ค. 2554)
15 นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (รักษาการในตำแหน่ง)(1 พ.ย. 2554 - 30 เม.ย. 2555)
16 นายมนตรี กวีนัฏธยานนท์ (รักษาการในตำแหน่ง)(3 พ.ค. 2555 - 2 พ.ย. 2555)
17 นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (รักษาการในตำแหน่ง)(3 พ.ย. 2555 - ปัจจุบัน)


== ทำเนียบคณบดี ==
== ทำเนียบคณบดี ==

รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:10, 17 กุมภาพันธ์ 2558

คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
Faculty of Political Science Ramkhamhaeng University
สถาปนาพ.ศ. 2516
คณบดีผู้ช่วยศาสตราจารย์วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (รักษาการในตำแหน่ง)
สี███ แดง
มาสคอต
สิงห์ทอง
เว็บไซต์www.pol.ru.ac.th

คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (อังกฤษ: Faculty of Political Science Ramkhamhaeng University) ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2516 โดยในระยะแรกได้เปิดสอนเป็นสาขารัฐศาสตร์ สังกัดคณะนิติศาสตร์มาตั้งแต่ พ.ศ. 2515

คณะรัฐศาสตร์ ในระยะแรกเป็นสาขาวิชารัฐศาสตร์ในคณะนิติศาสตร์ พ.ศ. 2515 และได้จัดตั้ง เป็นคณะรัฐศาสตร์ เมื่อปี พ.ศ. 2516 และได้ย้าย ที่ทำการแยกจากคณะนิติศาสตร์มาเป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ติดกับสนามกีฬา หัวหมาก ซึ่งเป็นที่ทำการของคณะมนุษยศาสตร์เดิม ตั้งแต่วันที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ.2517 ขณะนี้อาคารดังกล่าวเป็นที่ทำการของกองแผนงาน ปัจจุบันคณะรัฐศาสตร์ ได้ย้ายมาอยู่อาคาร 5 ชั้น ซึ่งเป็นที่ ทำการถาวร เมื่อวันที่ 17 กันยายน พ.ศ.2522 และได้จัดให้มีพิธีทำบุญขึ้นตึกใหม่เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2522

อาคารปัจจุบัน เป็นอาคาร 5 ชั้น รูปตัวยู ตัวอาคารแบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนหนึ่งเป็นห้องพักอาจารย์ และสำนักงานคณะผู้บริหารอีกส่วนหนึ่งเป็นสำนักงานบัณฑิตศึกษา ห้องเรียนบัณฑิตศึกษา ห้องสมุด ศูนย์สารนิเทศ ศูนย์เอกสารทางวิชาการและศูนย์วิจัยนโยบายและการพัฒนา ศูนย์ศึกษาเอเซียตะวันออกศูนย์ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและศูนย์เทคโนโลยี สารสนเทศคณะรัฐศาสตร์ มีหน้าที่รับผิดชอบผลิตบัณฑิตตามหลักสูตรชั้นปริญญาตรีสาขารัฐศาสตร์ และรับผิดขอบให้การศึกษา แก่นักศึกษาคณะอื่น ซึ่งกำหนดให้วิชารัฐศาสตร์เป็นวิชาพื้นฐาน วิชาบังคับ วิชาโทและวิชาเลือกตามนโยบายการประสานงาน ด้านวิชาการระหว่างสาขาของมหาวิทยาลัยอีกด้วยและยังสนับสนุนและส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการรัฐศาสตร์ และ เผยแพร่ความรู้ทางรัฐศาสตร์แก่บุคคลทั่วไปอันเป็นบริการทางสังคมอย่างหนึ่ง

จำนวนอาจารย์และเจ้าหน้าที่ เมื่อแรกเริ่มโครงการ ในปี พ.ศ. 2515 มีอาจารย์อยู่ 14 คน เป็นผู้มีวุฒิปริญญาเอก 2 คน วุฒิปริญญาโท 8 คน และวุฒิปริญญาตรี 4 คน เจ้าหน้าที่ใช้ร่วมกับคณะนิติศาสตร์

บุคลากรคณะรัฐศาสตร์ มีดังนี้

บุคลากรสายวิชาการ จำนวน 60 คน บุคลากรสายปฏิบัติการ จำนวน 62 คน ลูกจ้างประจำ, ลูกจ้างงบรายได้, (พนักงานขับรถยนต์, พนักงานบริการเอกสารทั่วไป, พนักงานสถานที่, ผู้ช่วยช่างทั่วไป) จำนวน 18 คน

	รวม	140	คน

ลูกจ้างชั่วคราวรายปีมหาวิทยาลัยที่ปฏิบัติงานโครงการพิเศษ, ลูกจ้างศูนย์ฯ และลูกจ้างโครงการพิเศษ จำนวน 42 คน

	รวมทั้งสิ้น	182	คน

ข้อมูล ณ วันที่ 30 เม.ย. 2555

โดยการบริหารจัดการของคณบดีคณะรัฐศาสตร์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ดังรายนามต่อไปนี้

1. นายบรรพต วีระสัย (จิรโชค วีระสย) (25 ม.ค. 2518 – 14 มิ.ย. 2520) 2. นายสุขุม นวลสกุล (27 มิ.ย. 2520 – 30 ก.ย. 2523) 3. นายศิโรตม์ ภาคสุวรรณ (20 พ.ย. 2523 – 1 มี.ค. 2526) 4. นายสุรพล ราชภัณฑารักษ์ (11 มี.ค. 2526 – 27 ก.พ. 2528) 5. นายอัษฎางค์ ปาณิกบุตร ( 6 พ.ค. 2528 – 7 มิ.ย. 2530) 6. นายวิทยา นภาศิริกุลกิจ ( 8 มิ.ย. 2530 – 16 พ.ค. 2531) 7. นายวิเชษฐ เทพเฉลิม ( 3 ส.ค. 2531 – 30 พ.ย. 2533) 8. นายสนธิ์ บางยี่ขัน ( 1 ธ.ค. 2533 – 30 ก.ย. 2536) 9. นายเสถียร หอมขจร (16 ธ.ค. 2536 – 15 ธ.ค. 2538) 10. นายนิยม รัฐอมฤต (23 ก.พ. 2539 – 22 ก.พ. 2541) 11. นายพรชัย เทพปัญญา ( 8 มิ.ย. 2541 – 1 ต.ค. 2543) 12. นายพรชัย เทพปัญญา (สมัยที่ 2 ) (17 ต.ค. 2543 – 16 ต.ค. 2547) 13. นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (16 ม.ค. 2548 – 15 ม.ค. 2552) 14 นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (สมัยที่ 2) (24 ส.ค. 2552 - 5 ต.ค. 2554) 15 นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (รักษาการในตำแหน่ง)(1 พ.ย. 2554 - 30 เม.ย. 2555) 16 นายมนตรี กวีนัฏธยานนท์ (รักษาการในตำแหน่ง)(3 พ.ค. 2555 - 2 พ.ย. 2555) 17 นายวุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ (รักษาการในตำแหน่ง)(3 พ.ย. 2555 - ปัจจุบัน)

ทำเนียบคณบดี

รายนามคณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบันมีดังนี้

คณบดีคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
รายนามคณบดี วาระการดำรงตำแหน่ง
1. นายบรรพต วีระสัย ภายหลังเปลี่ยนชื่อและนามสกุลใหม่เป็น จิรโชค วีระสย 25 มกราคม พ.ศ. 251814 มิถุนายน พ.ศ. 2520
2. นายสุขุม นวลสกุล 27 มิถุนายน พ.ศ. 2520 - 30 กันยายน พ.ศ. 2523
3. นายศิโรตม์ ภาคสุวรรณ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2523 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2526
4. นายสุรพล ราชภัณฑารักษ์ 11 มีนาคม พ.ศ. 2526 - 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528
5. นายอัษฎางค์ ปาณิกบุตร 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2528 - 7 มิถุนายน พ.ศ. 2530
6. นายวิทยา นภาศิริกุลกิจ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2530 - 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2531
7. นายวิเชษฐ เทพเฉลิม 3 สิงหาคม พ.ศ. 2531 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2533
8. นายสนธิ์ บางยี่ขัน 1 ธันวาคม พ.ศ. 2533 - 30 กันยายน พ.ศ. 2536
9. นายเสถียร หอมขจร 16 ธันวาคม พ.ศ. 2536 - 15 ธันวาคม พ.ศ. 2538
10. นายนิยม รัฐอมฤต 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2539 - 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541
11. นายพรชัย เทพปัญญา 8 มิถุนายน พ.ศ. 2541 - 1 ตุลาคม พ.ศ. 2543
17 ตุลาคม พ.ศ. 2543 - 16 ตุลาคม พ.ศ. 2547
12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วุฒิศักดิ์ ลาภเจริญทรัพย์ 16 มกราคม พ.ศ. 2548 - 4 ตุลาคม พ.ศ. 2554
5 ตุลาคม พ.ศ. 2554 - 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 (รักษาการในตำแหน่ง)
[1]
3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 (รักษาการในตำแหน่ง)
[2]
[3]
28 ตุลาคม พ.ศ. 2556 - 27 เมษายน พ.ศ. 2557 (รักษาการในตำแหน่ง)
[4]
1 กันยายน พ.ศ. 2557 - ปัจจุบัน (รักษาการในตำแหน่ง)
[5]
13. อาจารย์ ดร.มนตรี กวีนัฏธยานนท์ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 - 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 (รักษาการในตำแหน่ง)
[6]
14. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทิพรัตน์ บุบผะศิริ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 - 27 ตุลาคม พ.ศ. 2556 (รักษาการในตำแหน่ง)
[7]
28 เมษายน พ.ศ. 2557 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2557 (รักษาการในตำแหน่ง)
[8]

จำนวนอาจารย์และพนักงานอาจารย์

ในปี 2515 เมื่อครั้งที่ตั้งคณะใหม่ๆมีอาจารย์ประจำอยู่จำนวน 14 คน ปัจจุบันมีบุคลากรสายอาจารย์จำนวน 59 คน และมีเจ้าหน้าจำนวนกว่า 123 คน

คณะรัฐศาสตร์

ชื่อหลักสูตร หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
  • Bachelor of Political Science Program
ชื่อปริญญา รัฐศาสตรบัณฑิต
  • ร.บ.
Bachelor of Political Science

B.Pol.Sc.

ภาควิชา

  1. ภาควิชาการปกครอง
  2. ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  3. ภาควิชาการบริหารรัฐกิจ
  4. ภาควิชาการบริหารงานยุติธรรม

แผนดำเนินการสอน

  1. กลุ่มวิชาการปกครอง
  2. กลุ่มวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  3. กลุ่มวิชาการบริหารรัฐกิจ

โดยแบ่งเป็น 2 สาขาวิชา ได้แก่:

  1. สาขาวิชารัฐศาสตร์ - แบ่งเป็นกลุ่มวิชาการปกครอง, กลุ่มวิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และกลุ่มวิชาการบริหารรัฐกิจ
  2. สาขาวิชาบริหารงานยุติธรรม

โครงการการศึกษาต่างๆของคณะรัฐศาสตร์

  • โครงการรัฐศาสตร์ภาคพิเศษ
  • โครงการรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนโยบายสาธารณะ สำหรับนักบริหาร
  • โครงการรัฐศาสตร์ สำหรับนักบริหาร
  • โครงการรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการทางการเมือง
  • โครงการรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สำหรับผู้นำภาครัฐและภาคเอกชน
  • โครงการรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนท้องถิ่น
  • โครงการปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ และสาขาวิชาการเมือง

สัญลักษณ์ประจำคณะ

  • สัญลักษณ์ คือ สิงห์ทอง
  • สีประจำคณะ คือ สีแดง
  • ต้นไม้ประจำคณะ คือ ต้นสุพรรณณิการ์
  • คำขวัญ คือ "รัฐศาสตร์ สามัคคี เราพี่น้องกัน"

หน่วยงานวิจัยทางคณะรัฐศาสตร์

รายชื่อบุคคลสำคัญจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

  1. ปวีณา หงสกุล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
  2. ปริญญา นาคฉัตรีย์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี, อดีตกรรมการ กกต., ประธานคณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
  3. อภินันท์ จันทรังษี อธิบดีกรมประชาสัมพันธ์
  4. มงคล สุระสัจจะ อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
  5. วินัย บัวประดิษฐ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง
  6. สมชัยฐ์ หทยะตันย์ติ ผู้ว่าราชการจังหวัดตาก
  7. สามารถ ลอยฟ้า ผู้ว่าราชการจังหวัดจันทบุรี
  8. วิศว ศะศิสมิต อดีตผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
  9. นฤมล ปาลวัฒน์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน
  10. จิรายุทธ วัจนะรัตน์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์
  11. วิเชียร พุฒิวิญญู ผู้ว่าราชการจังหวัดสระบุรี
  12. คมสัน เอกชัย ผู้ว่าราชการจังหวัดชลบุรี
  13. พีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
  14. วันชัย โอสุคนธ์ทิพย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี
  15. ประทีป กีรติเรขา ผู้ว่าราชการจังหวัดศรีสะเกษ
  16. จิตรา พรหมชุติมา ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี
  17. กำธร ถาวรสถิตย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น
  18. พรศักดิ์ เจียรณัย อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ
  19. วันชาติ วงษ์ชัยชนะ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
  20. สุวิทย์ สุบงกฏ ผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
  21. จักริน เปลี่ยนวงษ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก
  22. ว่าที่ร้อยตรี เชิดศักดิ์ จำปาเทศ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดระนอง
  23. สุรพล แสวงศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรี
  24. วีระวัฒน์ ชื่นวาริน อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดอำนาจเจริญ
  25. ฉัตรป้อง ฉัตรภูติ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี
  26. นพวัชร สิงห์ศักดา ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี
  27. วิทยา พานิชพงศ์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี
  28. อดิศักดิ์ เทพอาสน์ ผู้ว่าราชการจังหวัดนครพนม
  29. สุวรรณ กล่าวสุนทร อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน
  30. บัณฑิตย์ เทวีทิวารักษ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์
  31. สมชาย เลิศพงศ์ภากรณ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดอุทัยธานี
  32. พงษ์ศักดิ์ ปรีชาวิทย์ ผู้ว่าราชการจังหวัดบึงกาฬ
  33. ธนน เวชกรกานนท์ อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดนนทบุรี
  34. สุรพล พนัสอําพล ผู้ว่าราชการจังหวัดแม่ฮ่องสอน
  35. ศักดิ์ สมบุญโต ผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่
  36. บรรยงค์ วงศ์กนิษฐ์ อดีตรองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิ
  37. พรรณี งามขำ รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท
  38. กาจพล เอิบสุขสิริ รองผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน
  39. อดิศร พิทยายน อดีตรองผู้ว่าราชการจังหวัดน่าน
  40. ฤทธิพงศ์ เตชะพันธุ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่
  41. ประเสริฐ ลือชาธนานนท์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดขอนแก่น
  42. พยัคฆพันธุ์ โพธิ์แก้ว รองผู้ว่าราชการจังหวัดตราด
  43. จำเริญ ทิพญพงศ์ธาดา รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม
  44. ขวัญชาติ วงศ์ศุภรานันต์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี
  45. สุวัฒน์ พรมสุวรรณ รองผู้ว่าราชการจังหวัดตาก
  46. วีระศักดิ์ วิจิตร์แสงศรี รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรี
  47. วัชระ ทิพย์พิลา อดีตรองผู้ว่าราชการจังหวัดพิจิตร
  48. กาศพล แก้วประพาฬ รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี
  49. เฉลิมเกียรติ วรวุฒิพุทธพงศ์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท
  50. ชวลิต เมฆจำเริญ อดีตรองผู้ว่าราชการจังหวัดแพร่
  51. สุรินทร์ เพชรสังข์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดพังงา
  52. ยิ่งยศ ธนะจันทร์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเลย
  53. คณีธิป บุณยเกตุ รองผู้ว่าราชการจังหวัดเพชรบูรณ์
  54. ธนาชัย ธีรพัฒนวงศ์ นายกสภามหาวิทยาลัยเนชั่น

การเรียนการสอน

หลักสูตรการศึกษา

ปัจจุบันคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง เปิดทำการเรียนการสอนใน 5 หลักสูตร ดังต่อไปนี้

ปริญญาตรี
ปริญญาตรี (ภาคพิเศษ)
ปริญญาโท
ปริญญาโท (โครงการพิเศษ)
ปริญญาเอก

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์)

หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สำหรับผู้นำภาครัฐและเอกชน
http://www.islocal.ru.ac.th/home.php หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสหวิทยาการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สำหรับนักบริหาร
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการงานสาธารณะ (MPM)
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต โครงการการจัดการทางการเมือง หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

อ้างอิง

  1. http://www.pol.ru.ac.th/newletter/prps1-11.pdf วารสารประชาสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ ปีที่ ๑ ฉบับที่ ๑๑ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๔
  2. http://www.pol.ru.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=61%3Aadmin&catid=16%3Aadministrator&Itemid=4&lang=th คณะผู้บริหาร คณะรัฐศาสตร์
  3. http://www.pol.ru.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=1%3Ahistory&catid=1%3Ahistory&Itemid=3&lang=th ประวัติคณะรัฐศาสตร์
  4. http://www.pol.ru.ac.th/images/stories/Politic/Monthly-releases/actual/prps3-11.pdf วารสารประชาสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 11 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2556
  5. http://www.pol.ru.ac.th/attachments/article/203/prps4-10.pdf วารสารประชาสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 10 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2557
  6. www.pol.ru.ac.th/newletter/prps2-06.pdf วารสารประชาสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 6 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2555
  7. http://www.pol.ru.ac.th/index.php?option=com_content&view=article&id=152%3A-2556-6&catid=35%3Apr-2013&Itemid=13&lang=th วารสารประชาสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2556
  8. http://www.pol.ru.ac.th/images/stories/Politic/Monthly-releases/actual/prps4-06.pdf วารสารประชาสัมพันธ์ คณะรัฐศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 6 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2557

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น