โทยามะ (เมือง)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โทยามะ

富山市
Toyama montage.jpg
ธงของโทยามะ
ธง
ตราอย่างเป็นทางการของโทยามะ
ตรา
ที่ตั้งขอโทยามะในจังหวัดโทยามะ
ที่ตั้งขอโทยามะในจังหวัดโทยามะ
โทยามะตั้งอยู่ในประเทศญี่ปุ่น
โทยามะ
โทยามะ
 
พิกัด: 36°41′45.3″N 137°12′49.3″E / 36.695917°N 137.213694°E / 36.695917; 137.213694พิกัดภูมิศาสตร์: 36°41′45.3″N 137°12′49.3″E / 36.695917°N 137.213694°E / 36.695917; 137.213694
ประเทศธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ภูมิภาคชูบุ
จังหวัด จังหวัดโทยามะ
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีมาซาชิ โมริ
พื้นที่
 • นครศูนย์กลาง1,241.77 ตร.กม. (479.45 ตร.ไมล์)
ประชากร
 (1 มิถุนายน ค.ศ. 2019)
 • นครศูนย์กลาง415,844 คน
 • ความหนาแน่น330 คน/ตร.กม. (870 คน/ตร.ไมล์)
 • รวมปริมณฑล[1] (2015)1,066,328 (16th) คน
เขตเวลาUTC+9 (JST)
รหัสไปรษณีย์930-8510
สัญลักษณ์ 
• ต้นไม้ต้นเคยากิ
• ดอกไม้ดอกทานตะวัน
•ไม้ดอกแต้ฮั้งฮวย
เลขโทรศัพท์076-431-6111
ที่อยู่7-38 Shinsakuramachi, Toyama-shi, Toyama-ken
เว็บไซต์เว็บไซต์ทางการ

โทยามะ (ญี่ปุ่น: 富山市โรมาจิToyama-shi) เป็นเมืองเอกของจังหวัดโทยามะ ประเทศญี่ปุ่น ตั้งอยู่ติดชายฝั่งทะเลญี่ปุ่นในชูบุ ภาคกลางของเกาะฮนชู อยู่ทางตอนเหนือของนาโงยะไปประมาณ 200 กิโลเมตร และทางตะวันตกเฉียงเหนือของโตเกียว 300 กิโลเมตร ข้อมูลเมื่อ 1 มิถุนายน ค.ศ. 2019 (2019 -06-01) ตัวเมืองมีประชากรประมาณ 415,844 คนต่อ 176,643 หลังคาเรือน[2] และความหนาแน่นประชากรอยู่ที่ 335 คนต่อตารางกิโลเมตร ตัวเมืองมีพื้นที่รวม 1,241.77 ตารางกิโลเมตร (479.45 ตารางไมล์)

ภูมิศาสตร์[แก้]

โทยามะเป็นเมืองริมชายฝั่งทะเลญี่ปุ่น เขตเทศบาลติดกับจังหวัดกิฟุ, อิมิซุ, นาเมริกาวะ, โทนามิ, นันโตะ, ฮิดะ และทากายามะ[3]

พื้นที่เทศบาล[แก้]

ประชากร[แก้]

จากสัมมะโนประชากรญี่ปุ่น[4] ประชากรในเมืองโทยามะเพิ่มขึ้นตลอด 40 ปีที่ผ่านมา

ปี ประชากร
1970 350,085
1980 391,554
1990 408,942
2000 420,804
2010 421,953

ภูมิอากาศ[แก้]

ข้อมูลภูมิอากาศของโทยามะ, จังหวัดโทยามะ (ค.ศ. 1981–2010)
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดที่เคยบันทึก °C (°F) 20.9
(69.6)
22.5
(72.5)
25.7
(78.3)
32.4
(90.3)
32.6
(90.7)
36.4
(97.5)
38.8
(101.8)
39.5
(103.1)
38.3
(100.9)
33.3
(91.9)
29.2
(84.6)
21.6
(70.9)
39.5
(103.1)
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 6.0
(42.8)
6.8
(44.2)
10.9
(51.6)
17.3
(63.1)
21.9
(71.4)
25.1
(77.2)
29.0
(84.2)
30.9
(87.6)
26.5
(79.7)
21.1
(70)
15.3
(59.5)
9.6
(49.3)
18.4
(65.1)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 2.7
(36.9)
3.0
(37.4)
6.3
(43.3)
12.1
(53.8)
17.0
(62.6)
20.9
(69.6)
24.9
(76.8)
26.6
(79.9)
22.3
(72.1)
16.4
(61.5)
10.8
(51.4)
5.7
(42.3)
14.1
(57.4)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) −0.1
(31.8)
−0.3
(31.5)
2.2
(36)
7.2
(45)
12.6
(54.7)
17.4
(63.3)
21.5
(70.7)
22.9
(73.2)
18.8
(65.8)
12.4
(54.3)
6.8
(44.2)
2.4
(36.3)
10.3
(50.5)
อุณหภูมิต่ำสุดที่เคยบันทึก °C (°F) −11.9
(10.6)
−11.1
(12)
−7.0
(19)
−2.2
(28)
2.3
(36.1)
7.7
(45.9)
13.0
(55.4)
14.1
(57.4)
8.9
(48)
1.9
(35.4)
−2.0
(28)
−8.5
(16.7)
−11.9
(10.6)
หยาดน้ำฟ้า มม (นิ้ว) 259.5
(10.217)
172.1
(6.776)
158.5
(6.24)
122.2
(4.811)
134.2
(5.283)
182.6
(7.189)
240.4
(9.465)
168.3
(6.626)
220.2
(8.669)
160.7
(6.327)
234.4
(9.228)
247.0
(9.724)
2,300.1
(90.555)
ปริมาณหิมะ ซม (นิ้ว) 159
(62.6)
125
(49.2)
36
(14.2)
1
(0.4)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
0
(0)
2
(0.8)
57
(22.4)
380
(149.6)
ความชื้นร้อยละ 82 79 73 69 72 79 81 77 79 77 77 80 77.1
วันที่มีหยาดน้ำฟ้าโดยเฉลี่ย (≥ 0.5 mm) 23.7 19.9 18.7 13.1 11.8 12.3 14.7 11.0 13.9 14.4 17.7 22.0 193.2
วันที่มีหิมะตกโดยเฉลี่ย 19.1 16.1 9.1 0.8 0 0 0 0 0 0 1.0 9.7 55.8
จำนวนชั่วโมงที่มีแดด 68.1 86.3 131.3 174.9 191.1 150.2 147.1 201.3 133.1 142.7 102.8 75.8 1,604.7
แหล่งที่มา 1: Japan Meteorological Agency[5]
แหล่งที่มา 2: Japan Meteorological Agency (records)[6]

เมืองพี่น้องและเมืองแฝด[แก้]

โทยามะเป็นเมืองพี่น้องกับ:[7]

เมืองมิตรภาพ[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. "UEA Code Tables". Center for Spatial Information Science, University of Tokyo. สืบค้นเมื่อ January 26, 2019.
  2. official city statistics เก็บถาวร 2020-12-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน(ในภาษาญี่ปุ่น)
  3. แม่แบบ:OSM
  4. Toyama population statistics
  5. 平年値(年・月ごとの値). Japan Meteorological Agency. สืบค้นเมื่อ 2011-11-18.
  6. 観測史上1~10位の値(年間を通じての値). Japan Meteorological Agency. สืบค้นเมื่อ 2011-11-18.
  7. "市の国際交流". city.toyama.toyama.jp (ภาษาญี่ปุ่น). Toyama. สืบค้นเมื่อ 2020-04-09.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]