ข้ามไปเนื้อหา

รายชื่อแหล่งมรดกโลกในประเทศโรมาเนีย

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ได้ขึ้นทะเบียนแหล่งมรดกโลกของประเทศโรมาเนียทั้งสิ้น 11 แหล่ง ประกอบด้วยแหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม 9 แหล่ง และแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ 2 แหล่ง[1]

ที่ตั้ง

[แก้]
ที่ตั้งแหล่งมรดกโลกในประเทศโรมาเนีย จุดสีเขียวคือที่ตั้งของป่าบีช จุดสีเหลืองคือที่ตั้งของป้อมของชาวดากิอา, จุดสีน้ำเงินคือที่ตั้งของหมู่บ้านพร้อมด้วยโบสถ์ที่มีป้อมปราการ, จุดสีเทาคือที่ตั้งของโบสถ์ไม้แห่งมารามูเรช และจุดสีส้มคือที่ตั้งของโบสถ์แห่งมอลเดเวีย

สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลก

[แก้]

แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรม

[แก้]
*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
คำบรรยาย อ้างอิง
หมู่บ้านพร้อมด้วยโบสถ์ที่มีป้อมปราการในทรานซิลเวเนีย เทศมณฑลซีบิว, เทศมณฑลบราชอฟ, เทศมณฑลมูเรช, เทศมณฑลอัลบา และเทศมณฑลฮาร์กีตา
46°08′06.6″N 24°31′16.7″E / 46.135167°N 24.521306°E / 46.135167; 24.521306 (Villages with Fortified Churches in Transylvania)
วัฒนธรรม:
(iv)
553;
พื้นที่กันชน 3,727.87
2536/1993;
เพิ่มเติม 2542/1999
596[2]
อารามฮอเรซู เทศมณฑลวึลชา
45°10′11.5″N 24°00′26.1″E / 45.169861°N 24.007250°E / 45.169861; 24.007250 (Monastery of Horezu)
วัฒนธรรม:
(ii)
22.48;
พื้นที่กันชน 57.29
2536/1993 597[3]
โบสถ์แห่งมอลเดเวีย เทศมณฑลซูชาวา
47°46′41.3″N 25°42′40.2″E / 47.778139°N 25.711167°E / 47.778139; 25.711167 (Churches of Moldavia)
วัฒนธรรม:
(i), (iv)
2536/1993;
เพิ่มเติม 2553/2010
598[4]
ศูนย์กลางประวัติศาสตร์
ซีกีชออารา
เทศมณฑลมูเรช
46°13′04.3″N 24°47′27.1″E / 46.217861°N 24.790861°E / 46.217861; 24.790861 (Historic Centre of Sighişoara)
วัฒนธรรม:
(iii), (v)
33;
พื้นที่กันชน 145
2542/1999 902[5]
โบสถ์ไม้แห่งมารามูเรช เทศมณฑลมารามูเรช
47°49′14.0″N 24°03′15.5″E / 47.820556°N 24.054306°E / 47.820556; 24.054306 (Wooden Churches of Maramureş)
วัฒนธรรม:
(iv)
2542/1999 904[6]
ป้อมของชาวดากิอา
แห่งภูเขาออเริชตีเย
เทศมณฑลอัลบาและเทศมณฑลฮูเนดออารา
45°37′22.3″N 23°18′38.7″E / 45.622861°N 23.310750°E / 45.622861; 23.310750 (Dacian Fortresses of the Orastie Mountains)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (iv)
2542/1999 906[7]
ภูมิทัศน์เหมืองรอชียามอนตาเนอ เทศมณฑลอัลบา
46°18′22.0″N 23°07′50.0″E / 46.306111°N 23.130556°E / 46.306111; 23.130556 (Roșia Montană Mining Landscape)
วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (iv)
341.42 2564/2021 เป็นแหล่งมรดกโลกที่กำลังตกอยู่ในภาวะอันตราย 1552[8]
กลุ่มโบราณสถานบรึงกุช
แห่งตือร์กูฌิว
เทศมณฑลกอร์ฌ
45°02′14.7″N 23°17′08.6″E / 45.037417°N 23.285722°E / 45.037417; 23.285722 (Brâncusi Monumental Ensemble of Târgu Jiu)
วัฒนธรรม:
(i), (ii)
26.58;
พื้นที่กันชน 78.05
2567/2024 1473[9]
แนวพรมแดนของจักรวรรดิโรมัน – ดากิอา 47°10′46.1″N 23°09′27.1″E / 47.179472°N 23.157528°E / 47.179472; 23.157528 (Frontiers of the Roman Empire – Dacia) วัฒนธรรม:
(ii), (iii), (iv)
1,491.6;
พื้นที่กันชน 14,197.61
2567/2024 1718[10]

แหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติ

[แก้]
*หมายเหตุ: ระบุชื่อสถานที่ตามที่ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
สถานที่ ภาพ ที่ตั้ง ประเภท พื้นที่
(เฮกตาร์)
ปีขึ้นทะเบียน
(พ.ศ./ค.ศ.)
คำบรรยาย อ้างอิง
ดินดอนสามเหลี่ยม
ปากแม่น้ำดานูบ
เทศมณฑลตุลชา
44°51′40.1″N 29°34′21.6″E / 44.861139°N 29.572667°E / 44.861139; 29.572667 (Danube Delta)
ธรรมชาติ:
(vii), (x)
312,440 2534/1991 588[11]
ป่าบีชโบราณและป่าบีชปฐมภูมิ
แห่งเทือกเขาคาร์เพเทียน
และภูมิภาคอื่นของยุโรป

(ร่วมกับโครเอเชีย, เช็กเกีย, บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา, บัลแกเรีย, เบลเยียม, โปแลนด์, ฝรั่งเศส, มาซิโดเนียเหนือ, ยูเครน, เยอรมนี, สเปน, สโลวาเกีย, สโลวีเนีย, สวิตเซอร์แลนด์, ออสเตรีย, อิตาลี และแอลเบเนีย)
เทศมณฑลกอร์ฌ, เทศมณฑลการัช-เซเวริน, เทศมณฑลซูชาวา, เทศมณฑลบราชอฟ, เทศมณฑลมารามูเรช, เทศมณฑลเมเฮดินตส์ และเทศมณฑลวึลชา
45°19′22.1″N 24°18′32.0″E / 45.322806°N 24.308889°E / 45.322806; 24.308889 (Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe)
ธรรมชาติ:
(ix)
99,947.81;
พื้นที่กันชน 296,275.8
2550/2007;
เพิ่มเติม 2554/2011,
2560/2017,
2564/2021
และ 2566/2023
ป่าต้นบีชในประเทศโรมาเนียได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อ พ.ศ. 2560 1133[12]

สถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น

[แก้]

ประเทศโรมาเนียมีสถานที่ที่ได้ขึ้นบัญชีรายชื่อเบื้องต้น (Tentative List) เพื่อพิจารณาเป็นแหล่งมรดกโลกในอนาคตทั้งสิ้น 17 แห่ง[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 "World Heritage Properties in Romania". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  2. "Villages with Fortified Churches in Transylvania". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  3. "Monastery of Horezu". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  4. "Churches of Moldavia". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  5. "Historic Centre of Sighişoara". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  6. "Wooden Churches of Maramureş". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  7. "Dacian Fortresses of the Orastie Mountains". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  8. "Roșia Montană Mining Landscape". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  9. "Brâncusi Monumental Ensemble of Târgu Jiu". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2024.
  10. "Frontiers of the Roman Empire – Dacia". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 27 กรกฎาคม 2024.
  11. "Danube Delta". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.
  12. "Ancient and Primeval Beech Forests of the Carpathians and Other Regions of Europe". UNESCO. สืบค้นเมื่อ 26 มกราคม 2023.